SlideShare a Scribd company logo
1 of 112
Download to read offline
How to provide home care
and
community participation in Palliative care
นพ.คณาวุฒิ นิธิกุล
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลควนเนียง
ณ ห้องประชุมกิตติ ลิ่มอภิชาต อาคารเรียนรวมคณะแพทย์ศาสตร์ 28 กรกฎาคม 2559
พระปิยโสภณ วัดพระราม ๙
ความสาคัญของบ้าน
ไม่ขอกลับบ้านครับ
ขอเสียชีวิตที่ โรงพยาบาลค่ะ Genogram…..นาย.....หวานแก้ว
ไม่ขอกลับบ้านครับ
ไม่ขอกลับบ้านครับ
ขอเสียชีวิตที่ โรงพยาบาล
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
องค์รวม form
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
Family Meeting
เป้าหมายของการทา Family Meeting
• เพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างทีมกับผู้ป่วยและครอบครับเกี่ยวกับตัวโรค ระยะ
ของโรค รวมไปถึงการดาเนินโรคและการพยากรณ์โรค
• เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายหลักของการดูแลและแนวทางของการดูแล
ผู้ป่วยในอนาคต
• เพื่อให้ทีมได้ประเมินความต้องการด้านอื่นๆของผู้ป่วยและครอบครัวและวิธีการที่
ครอบครัวใช้จัดการกับปัญหาด้านต่างๆที่เกิดขึ้น
1.ขั้นตอนก่อนการทา Family Meeting
• ทบทวนวัตถุประสงค์
• ใครบ้างที่ควรเข้าร่วมประชุม
• ทบทวนเวชระเบียนและข้อมูลเกี่ยวกับตัวโรคของผู้ป่วย
1.ขั้นตอนของการทา Family Meeting
• ศึกษา Genogram
• Facilitator
• บทบาทของสมาชิกในทีม
• ชี้แจงแก่สมาชิกของครอบครัวผู้ป่วยถึงความจาเป็นและเป้าหมายของการประชุม
พร้อมทั้งนัดเวลาและสถานที่ที่ทุกฝ่ายสะดวก
Family Meeting
2.ขณะเริ่มประชุม
• แนะนาตัว
• Facilitatorกล่าวถึงเหตุผลหลักของการทา Family Meeting
• Facilitatorกล่าวถึงกติกาของการประชุม
ถามผู้ป่ วยและครอบครัวเกี่ยวกับความเข้าใจระยะของตัวโรค
และการพยากรณ์โรค
• ใช้คาถามเปิดให้ผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัวได้แสดงความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
ของผู้ป่วย
• เปิดโอกาสให้แต่ละคนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับตัวโรค
ของผู้ป่วย
• ทีมอธิบายและตอบคาถามของสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย ระยะ
ของโรค และการพยากรณ์โรคเท่าที่ผู้ป่วยและครอบครัวอยากจะทราบ
ทาความเข้าใจกับสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับเป้าหมาย
และแนวทางการดูแล
• ถามความเห็นของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนเกี่ยวกับเป้าหมายของการดูแล
• ทีมอธิบายเป้าหมายของการดูแล และชี้แจงข้อสงสัยของสมาชิกในครอบครัว
• ทีมอธิบายเรื่องแผนการดูแลรักษาและชี้แจงแนวทางการจัดการกับอาการต่างๆของ
ผู้ป่วยที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
• ทีมถามความต้องการของครอบครัวด้านต่างๆ ที่อยากให้ทีมช่วยเหลือ
ทาความเข้าใจกับสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับเป้าหมาย
และแนวทางการดูแล
• ถามประเด็นเกี่ยวกับ DNR
• ผู้ที่ผู้ป่วยมอบหมายให้เป็นผู้ตัดสินใจแทนหากอยู่ในสภาวะที่ไม่สามารถตัดสินใจด้วย
ตัวเองได้
• ตัวแทนของครอบครัวที่ทีมสามารถติดต่อได้หากมีปัญหาบางอย่างที่ต้องการให้ครอบครัว
ร่วมตัดสินใจ
• ความต้องการเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนาของครอบครัว
• สถานที่ที่ผู้ป่วยต้องการเสียชีวิต
ประเมินวิธีการที่ครอบครัวใช้จัดการกับปัญหาด้านต่างๆที่เกิดขน
• ถามเกี่ยวกับวิธีการที่ครอบครัวใช้จัดการกับปัญหาด้านต่างๆ ที่ผ่านมา
• ประเมินจุดแข็งของครอบครัวในการรับมือกับปัญหาและชี้ให้ครอบครัวเห็นจุดแข็งของ
ตนเอง
• ประเมินว่ามีสมาชิกในครอบครัวคนใดที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษหรือไม่
• ภาวะซึมเศร้า มีปัญหาทางด้านการเงิน อาชีพการงาน เป็นต้น
Family Meeting
3. สรุปและปิดการประชุม
• เปิดโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวได้ซักถามในประเด็นที่ทีมยังไม่ได้ตอบ
• สรุปสั้นๆเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ที่ได้พูดคุยกันในวันนี้รวมทั้งแผนการดูแล
ผู้ป่วยในอนาคต
Family Meeting
FAMILY MEETING FORM
Family meeting form
Fam meeting ลุงนิวัฒิ
Family Meeting
At home
เรียบง่าย เพราะทุกอย่างที่บ้านองค์รวมอยู่แล้ว
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
ผู้ป่วยและญาติควรปรึกษาแพทย์
• ขอคาแนะนาในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน รวมทั้ง
ฝึกทักษะในการดูแลในเรื่องต่างๆ เช่น การให้
อาหาร การให้ยา การบรรเทาอาการปวดหรือการ
ดูแลอาการต่างๆ ฯลฯ
• ควรขอใบรับรองแพทย์บ่งชี้ถึงโรคเรื้อรัง
ที่เป็นจากโรงพยาบาล
• ควรขอชื่อ เบอร์โทรศัพท์ผู้ที่จะให้คาปรึกษา
ในการรักษาตัวที่บ้าน และการติดต่อกรณีฉุกเฉิน
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
เยี่ยมบ้าน
เพื่อเตรียมสถานที่
ก่อนส่งผู้ป่ วยกลับ
ขึ้นอยู่กับสภาพผู้ป่วย นอนติดเตียง PPS 30 20 10
นั่งบนเตียงได้ พอนั่งรถเข็นได้
ห้องนอน
-ต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะวางเตียงนอน
มองออกไปเห็นสวน ทิวทัศน์
-จัดวางเตียงให้เข้าได้ทั้ง สองด้าน
ราวกั้นเตีง เครื่องมือและอุปกรณ์สาหรับใช้ในการพยาบาล
-หากผู้ป่วยต้องใช้รถเข็นก็ควรจัดให้สามารถนารถเข็นมารับจากเตียง
นอนได้ และควรมีปลั๊กไฟสาหรับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์
ที่จาเป็นบางชนิด
-ที่นั่งสาหรับผู้มาเยี่ยม
ห้องน้า
-พื้นที่พอสาหรับคนเข้าได้ 2 คน พร้อมรถเข็น
-โถนั่งแบบชักโครก
-ระวังเรื่องน้าขัง พื้นลื่น
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
นาส่งผู้ป่ วยถงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
โรงพยาบาล เชื่อมโยง ครอบครัว
องค์รวม
FAMILY MEETING
ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
เยี่ยมบ้าน เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่งผู้ป่วยกลับ
นาส่งผู้ป่วยถึงบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
โรงพยาบาล เชื่อมโยง รพสต และชุมชน
GRAND ROUND วางแผนร่วมกัน และ ส่งต่อข้อมูลองค์
รวม , FAMILY MEETING , ความพร้อมเรื่องวางแผน
จาหน่าย
สอนทักษะส่วนที่ขาด เช่น การใช้ SYRING DRIVER
ประสานองค์กรอื่นๆ และจิตอาสา
ระบบยา MORPHINE
Grand Round วางแผนร่วมกัน และ ส่งต่อข้อมูลองค์รวม , family
meeting , ความพร้อมเรื่องวางแผนจาหน่าย
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
โรงพยาบาล เชื่อมโยง รพสต และชุมชน
GRAND ROUND วางแผนร่วมกัน และ ส่งต่อข้อมูลองค์
รวม , FAMILY MEETING , ความพร้อมเรื่องวางแผน
จาหน่าย
สอนทักษะส่วนที่ขาด เช่น การใช้ SYRING DRIVER
ประสานองค์กรอื่นๆ และจิตอาสา
ระบบยา MORPHINE
สอนทักษะส่วนที่ขาด เช่น การใช้ syring driver
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
โรงพยาบาล เชื่อมโยง รพสต และชุมชน
GRAND ROUND วางแผนร่วมกัน และ ส่งต่อข้อมูลองค์
รวม , FAMILY MEETING , ความพร้อมเรื่องวางแผน
จาหน่าย
สอนทักษะส่วนที่ขาด เช่น การใช้ SYRING DRIVER
ประสานองค์กรอื่นๆ และจิตอาสา
ระบบยา MORPHINE
ประสานองค์กรอื่นๆ และจิตอาสา
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
โรงพยาบาล เชื่อมโยง รพสต และชุมชน
GRAND ROUND วางแผนร่วมกัน และ ส่งต่อข้อมูลองค์
รวม , FAMILY MEETING , ความพร้อมเรื่องวางแผน
จาหน่าย
สอนทักษะส่วนที่ขาด เช่น การใช้ SYRING DRIVER
ประสานองค์กรอื่นๆ และจิตอาสา
ระบบยา MORPHINE
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
รพสต เชื่อมโยง ครอบครัว
GRAND ROUND เยี่ยมคนไข้ที่ รพ. เพื่อเชื่อม
ความสัมพันธ์
เยี่ยมบ้านร่วมกับทีม รพ. เพื่อเตรียมสถานที่ ก่อนส่ง
ผู้ป่วยกลับ
รอรับผู้ป่วยที่บ้านตอน รพ.นาส่ง
การดูแลที่บ้านจะประสบผลสาเร็จได้อย่างดีต้องประกอบด้วย
• การเตรียมแผนจาหน่ายที่ดี
การเชื่อมโยง กับ ชุมชน และอื่นๆ
ธนาคาร กายอุปกรณ์
วัด มัสยิด โบสถ์
ศาสนา
อปท
จิตอาสา
องค์กร ชมรมต่างๆ
ดูแลที่บ้าน / เยี่ยมบ้าน
การเตรียมก่อนลงเยี่ยมบ้าน
• การเตรียมตัว
• ตัวเราและทีม
• ผู้ป่วยและญาติ
• การเตรียมข้อมูล
• สรุปประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาปัจจุบัน
• แผนที่เบอร์โทรศัพท์
• การเตรียมอุปกรณ์
• กระเป๋ าเยี่ยมบ้าน
• เอกสาร เช่น แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน
กระเป๋ าเยี่ยมบ้าน
อุปกรณ์ที่จาเป็น ยาที่จาเป็นที่ใช้จัดการอาการที่บ้าน
•เครื่องวัดความดัน
•หูฟัง
•ไฟฉาย
•ถุงมือ วาสลีน
•อุปกรณ์ทาแผลAlcohol
•ถุงพลาสติก
•NG/Foley catheter
•เข็ม
•Syringe
•KY-jelly
•NSS/SWI
•Butterfly needle mo.25+
•Syringe driver
-Mo: ปวด/หอบเหนื่อย
- Midazolam: หอบเหนื่อยกระวนกระวานใน
ระยะท้าย (terminal delirium)
-Lorazepam : หอบเหนื่อยกระวนกระวาน
-Metoclopramide : คลื่นไส้ อาเจียน
-Atropine : เสมหะแห้งในระยะใกล้เสียชีวิต
-Haloperidol : คลื่นไส้ อาเจียน
-Dexamethazone : SCC/Brain metas
-Unison enema
ดูแลที่บ้าน / เยี่ยมบ้าน
การดูแลที่บ้าน
เครื่องมือ
การดูแลที่บ้าน
เครื่องมือ
•I Immobility
•N Nutrition
•H Home environment
•O Other people
•M Medications
•E Examination
•S Safety
•S Spiritual health
•S Home health care services
I N H O M E S S S
Immobility
ความสามารถในการช่วยเหลือ
ตนเองและการเคลื่อนไหว
• อาบน้า
• แต่งตัว
• เข้าห้องน้า
• การเคลื่อนย้าย
• การกลั้นการขับถ่าย
• การรับประทานอาหาร
• ออกนอกบ้าน
• จ่ายตลาด
• ทาอาหาร
• ทาความสะอาดบ้าน
• ซักเสื้อผ้า
• การรับประทานยา
กิจวัตรประจาวัน
พื้นฐาน
การดารงชีวิต
การทากิจกรรมต่างๆ
• Barthel ADL
INHOMESSS
Immobilization
• Barthel ADL
INHOMESSS ADL Points
การรับประทานอาหาร 0
การล้างหน้า/ แปรงฟัน 0
การลุกนั่ง/เคลื่อนย้าย 0
การใช้ห้องน้า/ห้องส้วม 0
การเดิน 0
การแต่งตัว/สวมเสื้อผ้า 0
การขึ้น-ลงบันได 0
การอาบน้า 0
การขับถ่ายอุจจาระ 0
การขับถ่ายปัสสาวะ 0
Immobilization
0-4 คะแนน
- ผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเอง
ไม่ได้ ช่วยเหลือตนเอง
ไม่ได้ พิการ หรือทุพพล
ภาพ (กลุ่มติดเตียง)
ประเมินActivity Daily Living(ADL)
จากการประเมิน
พบว่า คะแนน
PPS = 20%
เข้าได้กับระยะ
สุดท้าย
Nutrition
• อาหารอะไรที่ผู้ป่ วยชอบแนะนาญาติให้จัดอาหารอ่อนย่อยง่าย ลดปริมาณอาหารของผู้ป่ วยในแต่ละมือลงแต่เพิ่ม
จานวนมือเพื่อลดอาการท้องอืดแน่นอดอัด
• ชีแจงให้ครอบครัวทราบถงความจาเป็นที่ต้องให้ยาระงับอาการคลื่นไส้ อาเจียน ยาลดแก๊สในลาไส้ ยาทาแผลในปาก
หรืยาอมรักษาเชือราในช่องปาก
• ปรับตามความเหมาะสม เน้นความสุขสบายของผู้ป่ วยมากที่สุด
• กรณีผู้ป่ วยมีโรคเบาหวานด้วย ต้องคุมเข้มไหม
• -ถ้าเป็นระยะสุดท้าย EOL PPS<30 ให้ทานเท่าที่รับได้ เท่าที่ต้องการ
• -กรณี NG ดูว่ารับได้ไหม
• -BMI ดูไม่ได้ เอาที่สบายที่สุด ทานให้ได้มากที่สุดเท่าที่ร่างกายสบายตัว
• -คนที่ไม่ได้ระยะท้ายมาก น่าจะกินได้มากกว่านีแต่กลับทายได้น้อยลงด้วยสาเหตุต่างๆ อาจลองยากระตุ้นอาหาร
cyproheptadine
INHOMESSS
• กินข้าวไม่ได้ จิบได้แต่น้าข้าวต้ม และน้าเปล่า เพียงเล็กน้อย
• ซึ่งในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ไม่ได้ต้องการอาหารและสารน้าเหมือนคนปกติ
• ให้ผู้ป่วยกินเท่าที่กินได้ ไม่ต้องฝืน
Nutrition
Home Environment
• จัดที่ให้เป็นสัดส่วน
• มีของใช้จาเป็นวางข้างเตียง
• เตียงมีราวจับเพื่อให้ใช้เหนี่ยวตัว
• มีเครื่องผ่อนแรง รถเข็น ไม้เท้า
• ห้องน้าอยู่ใกล้ หรือใช้เก้าอี้นั่งถ่าย
• มีกิจกรรมทางสังคมร่วมกับครอบครัว เพื่อนบ้าน
• เข้าถึงบริการในชุมชนได้
INHOMESSS
Housing
INHOMESSS
Housing
INHOMESSS
Housing
Other People
• สมาชิกในครอบครัว
• การช่วยเหลือทางสังคม
• องค์การ/หน่วยงานที่มาช่วยเหลือ
• การเข้าถึงความช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน
Caregiver burden
การประเมินผู้ดูแล (Care of caregivers)
-Care: เรื่องการดูแลผู้ป่วย ขีดความสามารถของผู้ดูแล
-Affection: อารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ
-Rest: ได้พักผ่อน ทาในสิ่งที่ตนชอบ
-Empathy: แสดงความเห็นอกเห็นใจเมื่อมีโอกาส
-Goal of care: เป้าหมายการดูแล ตั้งเป้าหมายการรักษาที่เป็น
จริง
-Information: ให้ความรู้เรื่องโรค การพยากรณ์ แนว
ทางการรักษา
: รับฟังผู้ดูแล ระบายความรู้สึก
: ชื่นชมให้กาลังใจ
-Resources: หาผู้ช่วยเหลือด้านต่างๆ
การประเมินผู้ดูแล (Care of caregivers)
Predictor for Caregiver Burden
Community
•Daycare
•Support group
•Rehab program
•Family therapy
Family
•Deny Dx
•Fear of death
•Highly dependent on
caregiver
•Don’t understand Patient’s
condition
•Financial prob
•Family conflict
•Lack of social activity
•No future plan
Predictor for Caregiver Burden
Disease:
Demented, totally
dependent
Illness:
Behaviour
Caregiver
•Ill
•Depressed
•Isolated/lonely
•No vacation time
•Unsatisfied with job
•Work overload
•Conflict with other family
member / HC provider
•Deny caregiver burden
Predictor for Caregiver Burden
รู้ได้อย่างไรว่าผู้ดูแลกาลังจะหมดไฟ
อยากจะหนีไปให้พ้นความรับผิดชอบที่ดูเหมือนทับถมกันมากขึ้นทกกที
รู้สึกเหมือนกาลังรับผิดชอบทกกสิ่งทกกอย่างอยู่เพียงคนเดียว
กิจวัตรประจาวันดูช่างยก่งเหยิง และวก่นวายสับสนไปหมด
ไม่มีเวลาได้ออกไปข้างนอก เข้าสังคม หรือทาธกระส่วนตัว
การกิน อยู่ หลับนอน ของผู้ดูแลเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
น้าหนักลด เบื่ออาหาร เบื่อหน่ายไปหมด
หงกดหงิด โกรธง่ายแม้กับสาเหตกเพียงเล็กน้อย
ไม่มีสมาธิจดจาสิ่งต่างๆ หลงลืมแม้แต่สิ่งสาคัญ
ใช้ยาหรือสารเสพติดมากกว่าเดิม เช่น ยานอนหลับ เหล้า บกหรี่
ภาระการดูแล 0 1 2 3 4
1.ท่านรู้สึกว่าผู้ป่ วยร้องขอความช่วยเหลือมากกว่าความต้องการจริง /
2.ท่านรู้สึกว่าท่านไม่มีเวลาเพียงพอสาหรับตัวเอง เนื่องจากว่าใช้เวลาใน
การดูแล ไม่มีเวลาเป็ นของตนเอง
/
3.ท่านรู้สึกมีความเครียดทั้งงานทีต้องดูแลผู้ป่ วยและงานอื่นที่ต้อง
รับผิดชอบ
/
4.ท่านรู้สึกอึดอัดใจต่อพฤติกรรมของผู้ป่ วย /
5.ท่านรู้สึกหงุดหงิดใจ หรือโกรธ ขณะที่อยู่ใกล้ผู้ป่ วย /
6.ท่านรู้สึกว่าผู้ป่ วยทาให้ความสัมพันธ์ของท่านกับสมาชิกในครอบครัว
หรือเพื่อนแย่ลง
/
7.ท่านรู้สึกกลัวเกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตกับผู้ป่ วยซึ่งเป็ นญาติของ
ท่าน
/
8.ท่านรู้สึกว่าผู้ป่ วยต้องพึ่งพาท่าน /
9.ท่านรู้สึกตึงเครียดขณะที่อยู่ใกล้ผู้ป่ วย /
10.ท่านรู้สึกว่าสุขภาพของท่านไม่ค่อยดี เนื่องมาจากการดูแลผู้ป่ วย /
11.ท่านรู้สึกว่าท่านไม่มีความเป็ นส่วนตัวเท่าที่ท่านต้องการ เนื่องจากการ
ดูแลผู้ป่ วย
/
12.ท่านรู้สึกว่าท่านไม่สามารถมีสังคมได้ตามปกติ เนื่องจากการดูแล
ผู้ป่ วย
/
13.ท่านรู้สึกไม่สะดวกในการติดต่อ/คบหากับเพื่อน เนื่องมาจากการ
ดูแลผู้ป่ วย
/
14.ท่านรู้สึกว่าผู้ป่ วยคาดหวังในตัวท่านมาก เสมือนมีท่านคนเดียว
เท่านั้นที่พึ่งได้
/
15.ท่านรู้สึกว่าท่านไม่มีเพียงพอที่จะดูแลผู้ป่ วย /
16.ท่านรู้สึกว่าท่านจะไม่สามารถอดทนดูแลผู้ป่ วยได้อีกไม่นาน /
17.ท่านรู้สึกว่าท่านไม่สามารถควบคุมจัดการชีวิตตนเองได้ ตั้งแต่ดูแล
ผู้ป่ วย
/
18.ท่านอยากที่จะเลิกดูผู้ป่ วยซึ่งเป็ นญาติของท่าน และให้คนอื่นมาดูแล
แทน
/
19.ท่านรู้สึกว่าไม่มีอะไรที่มั่นคงแน่นอนเกี่ยวกับสิ่งที่ทาให้ผู้ป่ วย /
20.ท่านรู้สึกว่าท่านควรจะได้รับการดูแลจากญาติคนอื่น /
21.ท่านรู้สึกว่าท่านน่าจะดูแลญาติของท่านได้ดีกว่านี้ /
22.โดยภาพรวมท่านรู้สึกว่า การดูแลผู้ป่ วยเป็ นภาระสาหรับท่าน /
คะแนนรวม 48
moderate to severe burden
แนวทางสาหรับผู้ดูแลที่กาลังจะเหนื่อยล้า
แผนการดูแล อย่าให้เป็นภาระตกหนักที่ใครเพียงคนเดียว
อาจจ้างผู้อื่นให้มาทาหน้าที่ดูแลชั่วคราวเป็นครั้งๆ
แบ่งหน้าที่ด้านอื่นๆ ให้ญาติพี่น้องคนอื่นรับผิดชอบ
พักผ่อนไปทากิจกรรมที่ตนเองชอบ
แนวทางสาหรับผู้ดูแลที่กาลังจะเหนื่อยล้า
พูดคุยพบปะสังสรรค์ เข้าสังคมบ้าง
ดูแลรักษาสุขภาพกายของตนเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ
รู้จักปล่อยวาง อย่าคาดหวังกับสิ่งรอบตัวสูงจนเกินไป
แบ่งเวลาให้กับบุคคลอันเป็นที่รักและบุคคลในครอบครัว
อาจจาเป็นต้องไปฝากผู้ป่วยไว้ในสถานพยาบาลบ้าง
• ยาที่ผู้ป่วยใช้ จานวนชนิด ขนาดยา
• วิธีการใช้ยา
• ความสม่าเสมอของการรับประทานยา
• เอายาที่ไม่จาเป็นออก
• การรักษาทางเลือกที่ผู้ป่วยใช้อยู่
INHOMESSS
Medication
INHOMESSS
Medication
Examination
• Vital Signs & Pain Score
• การตรวจร่างกาย
• ภาวะโภชนาการ
• Oral Hygiene
• การรับประทาน การกลืน
• Pressure ulcers
• การตรวจตามระบบอื่นๆ
Safety
• ความสะดวกสบาย
• ความปลอดภัยในบ้าน
• การป้องกันการล้ม
• ห้องน้า
• เบอร์โทรติดต่อทีมสุขภาพ
• เบอร์โทรฉุกเฉิน
• ความปลอดภัยของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ เช่น
ออกซิเจน
Spiritual Health
สุขภาพทางจิตวิญญาณ
• ความรักความอบอุ่นในครอบครัว
• ที่พึ่งพิงทางใจ
• การเตรียมตัวเผชิญความตาย
• ความเชื่อทางศาสนา
• การประกอบพิธีกรรม
INHOMESSS
Spiritual health
F (Faith and Belief)
ศาสนาพุทธ เข้าวัด ทาบุญตามวัน
สาคัญ
I(Importance)
สิ่งที่มีความสาคัญต่อชีวิต คือ
ครอบครัว
C(Community)
เป็นสมาชิกของชุมชน มี
ความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้าน
A (Address in care)
อยากหายจากความเจ็บปวด
Spiritual
Spiritual Health
สุขภาพทางจิตวิญญาณ
Services
การบริการในชุมชน
• ทีม PC
• รพช
• รพสต/PCU
• อสม.
• อบต.
• องค์การการกุศลต่างๆ
• อาสาสมัคร
ดูแลที่บ้าน / เยี่ยมบ้าน
หลังการลงเยี่ยมบ้าน
• สรุปผล/ ข้อมูลที่ได้จากการเยี่ยมบ้าน
• ประชุมทีมโดยนาข้อมูลที่ได้นามาวางแผนร่วมกัน
• ประชุมครอบครัวเพื่อสื่อสารแผนการดูแล
• ดาเนินการในส่วนที่ต้องทาในโรงพยาบาล
• บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มการเยี่ยมบ้าน/ แผนการรักษาที่เปลี่ยนแปลง
• กาหนดวันนัดหมาย
• ติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ สม่าเสมอ
Doyle & Jeffrey.Palliative care in the home.(2007)
Symtomp management ที่บ้าน
pain :
- ทัศนคติต่อการใช้ morphine
- การบันทึกแบบ form และการปรับยา ตามแบบฟอร์ม
- S/R จากยา
อื่นๆ:
การให้ยาตามเวลา และการให้ยาเมื่อปวด
The last hour of life ที่บ้าน
The last hour of life ที่บ้าน
Grief and Bereavement
need of a listening ear
ความเศร้าโศกปกติ ความเศร้าโศกที่
ผิดปกติ
ยังสามารถทากิจกรรมที่ชอบ
ได้
แยกตัว ไม่อยากทาอะไร แม้
จะเป็ นกิจกรรมที่เคยชอบ
อาจมีอารมณ์เศร ้าเกิดขึ้นได้ มีอารมณ์เศร ้าตลอดทั้งวัน
อาจเกิดความรู้สึกท้อแท้ มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย
ยังพอมีความหวังอยู่บ้าง รู้สึกหมดความหวังในชีวิต
Robin Fiorelli,2002
Bereavement Support
Individual interviews
Group sessions
Telephone contact
Derek Doyle, David Jeffrey
How to provide home care and community participation

More Related Content

Viewers also liked

Aged care in australia services
Aged care in australia services Aged care in australia services
Aged care in australia services jgoodburn
 
Presenting the work and learning of community health worker students
Presenting the work and learning of community health worker studentsPresenting the work and learning of community health worker students
Presenting the work and learning of community health worker studentselizabeth kelly
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 
Home care & assessment of community dwelling elderly
Home care & assessment of community dwelling elderlyHome care & assessment of community dwelling elderly
Home care & assessment of community dwelling elderlyNursing Hi Nursing
 
Community Health Workers (CHWs)
Community Health Workers (CHWs)Community Health Workers (CHWs)
Community Health Workers (CHWs)GEORGE PATTERSON
 
How a Carer Can Recognise Signs of Elder Abuse
How a Carer Can Recognise Signs of Elder AbuseHow a Carer Can Recognise Signs of Elder Abuse
How a Carer Can Recognise Signs of Elder AbuseIHNA Australia
 
Aged care in the australian community
Aged care in the australian communityAged care in the australian community
Aged care in the australian communityslidehava
 
Aged care in_australia_introduction_feb_08
Aged care in_australia_introduction_feb_08Aged care in_australia_introduction_feb_08
Aged care in_australia_introduction_feb_08jgoodburn
 
Aged Care Services in Australia
Aged Care Services in AustraliaAged Care Services in Australia
Aged Care Services in AustraliaIHNA Australia
 
Community health worker program power point presentation- 1-20-2012
Community health worker program  power point presentation- 1-20-2012Community health worker program  power point presentation- 1-20-2012
Community health worker program power point presentation- 1-20-2012Maria Balladares
 

Viewers also liked (14)

Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Aged care in australia services
Aged care in australia services Aged care in australia services
Aged care in australia services
 
Presenting the work and learning of community health worker students
Presenting the work and learning of community health worker studentsPresenting the work and learning of community health worker students
Presenting the work and learning of community health worker students
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
A Team Approach to Manual Handling in a Community Aged Care Setting
A Team Approach to  Manual Handling in a Community Aged Care SettingA Team Approach to  Manual Handling in a Community Aged Care Setting
A Team Approach to Manual Handling in a Community Aged Care Setting
 
Home care & assessment of community dwelling elderly
Home care & assessment of community dwelling elderlyHome care & assessment of community dwelling elderly
Home care & assessment of community dwelling elderly
 
Community Health Workers (CHWs)
Community Health Workers (CHWs)Community Health Workers (CHWs)
Community Health Workers (CHWs)
 
How a Carer Can Recognise Signs of Elder Abuse
How a Carer Can Recognise Signs of Elder AbuseHow a Carer Can Recognise Signs of Elder Abuse
How a Carer Can Recognise Signs of Elder Abuse
 
Aged care in the australian community
Aged care in the australian communityAged care in the australian community
Aged care in the australian community
 
Aged care in_australia_introduction_feb_08
Aged care in_australia_introduction_feb_08Aged care in_australia_introduction_feb_08
Aged care in_australia_introduction_feb_08
 
Aged Care Services in Australia
Aged Care Services in AustraliaAged Care Services in Australia
Aged Care Services in Australia
 
Community Health Worker Presentation
Community Health Worker Presentation Community Health Worker Presentation
Community Health Worker Presentation
 
Community health worker program power point presentation- 1-20-2012
Community health worker program  power point presentation- 1-20-2012Community health worker program  power point presentation- 1-20-2012
Community health worker program power point presentation- 1-20-2012
 

How to provide home care and community participation