SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
หน่วยที่ 5
การใช้เหตุผลในทางกฏหมายอาญา
.......................................................................................................................................................................................
แบบประเมินผล
1. เหตุที่ กฏหมายจึงจาเป็นต้องมีเหตุผลที่ดี คือ
- เพื่อให้กฏหมายนั้นเป็นที่ยอมรับของสมาชิกในสังคม
- มีที่มาจากแนวคิดทางปรัชัญา โดยนักปรัชญาและนักนิติปรัชญา ได้พยายามพัฒนาแนวความคิดที่
เกี่ยวกับเหตุผลในการตรากฏหมายและการใช้กฏหมายมาโดยตลอด เพื่อให้ได้กฏหมายที่ดีและเป็น
ธรรมที่สุดแก่สังคม
2. กฏหมายที่มีการตรา โดยมีเหตุผลที่ดีมีประโยชน์ คือ
- ทาให้กฏหมายสามารถอานายความเป็นธรรมได้เหมาะแก่กรณี
3. เหตุผลที่ดี ในการใช้กฏหมาย มีที่มาจากหลักการใด
- ศีลธรรม
- ปรัชญา
- นิติปรัชญาตรรกวิทยา
4. การใช้เหตุผลในทางกฏหมายที่ดี มีคุณลักษณะสาคัญประการหนึ่ง คือ
- ความสมเหตุสมผล ในทาง “ตรรกวิทยา” ซึ่งช่วยให้สามารถตรากฏหมายและนากฏหมายมาใช้ใน
การแก้ปัญหาได้ตรงกับสภาพปัญหาที่แท้จริง ไม่เบี่ยงเบนไป
5. เหตุผลที่ดีควรมีลักษณะ
- เป็นธรรม
- รับฟังได้
- สมเหตุสมผล
- มีข้อเท็จจริงสนับสนุนที่หนักแน่น
- ก่อให้เกิดความเป็นธรรมและการยอมรับของบุคคลที่เกี่ยวข้องและสังคม และแก้ปัญหาได้ตรงกับ
สภาพปัญหาที่แท้จริง ซึ่งจะทาให้กฏหมายนั้นบรรลุวัตถุประสงค์และประสบผล
6. การใช้กฏหมาย เป็นคากว้าง หมายถึง
- การใช้กฏหมายลายลักษณ์อักษร(มีการตีความ)
- การใช้กฏหมายจารีตประเพณี(ไม่ต้องตีความ)
- การใช้หลักกฏหมายทั่วไป (ไม่ต้องตีความ)
มาปรับกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเพื่อหาผลทางกฏหมาย
7. การตีความกฏหมาย คือ
- การตี “ถ้อยคา” ของกฏหมายให้ได้เป็น “ข้อความ” ที่จะนาไปวินิจฉัยขี้ขาดคดีข้อพิพาท หรือ คือ
การขบคิดค้นหาจากบัญญัติของกฏหมายโดยวิธีใช้เหตุผลตามหลักตรรกวิทยาและสามัญสานึก
เพื่อให้ได้มาซึ่ง “ข้อความ” ของกฏหมาย ที่จะนาไปวินิจฉัยคดีพิพาทได้อย่างถูกต้อง คือ เหมาะสม
และเป็นธรรม
8. แนวความคิดทางด้านปรัชญา หมายถึง
- วิชาที่ว่าด้วยความรู้และความจริงที่มนุษย์ได้พัฒนาแนวความคิดนี้มาตั้งแต่ยุคโบราณ
9. แนวความคิดทางนิติปรัชญา ที่ยังคงใช้อยู่ในการให้เหตุผลทางกฏหมายในปัจจุบัน คือ
- แนวคิดเกี่ยวกับหลักนิติรัฐ (LEGAL STATE) ซึ่งปัจจุบันมีการใช้เหตุผลทางกฏหมายที่เกี่ยวกับการ
ใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ขอรัฐว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ จะใช้อานาจในทางที่ลิดรอนสิทธิและเสรีภาพ
ของเอกชนได้ก็ต่อเมื่อมีกฏหมายให้อานาจไว้อย่างชัดแจ้งเท่านั้น”
10. หลักปรัชญา ช่วยให้การใช้กฏหมายมีเหตุผลที่ดี คือ
- เป็นเหตุผลที่มีความเป็นธรรมตามยุคสมัย
11. หลัก “ตรรกวิทยา” ช่วยให้กฏหมายมีเหตุผลที่ดี คือ
- เป็นเหตุผลที่มีความสมเหตุสมผล
12. การใช้เหตุผลในกฏหมายโดยใช้หลัก “ตรรกวิทยา” มีความสาคัญ คือ
- ทาให้เหตุผลที่ยกขึ้นมากล่าวอ้างมีความสมเหตุสมผล และสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงตามสภาพ
ของปัญหาที่แท้จริง
13. สุภาษิตกฏหมายโรมัน กล่าวว่า
- “ในเรื่องของกฏหมายนั้น เหตุผลของกฏหมายเป็นวิญญาณของกฏหมายโดยแท้” และ
- “เหตุผลในกฏหมายต้องแจ่มแจ้งดังแสงตะวัน”
14. การวิเคราะห์เหตุผล ของกฏหมายสามารถศึกษาได้ จาก
- ผู้ร่างกฏหมาย
- การอภิปรายในสภา
- บันทึกหลักการและเหตุผล
- รายงานการประชุมพิจารณาร่างกฏหมาย
การวิเคราะห์หาเหตุของผู้ร่างกฏหมาย มีประโยชน์ในการใช้เหตุผลในกฏหมาย คือ
 เพราะจะทาให้วินิจฉัยคดีได้ตรงตามเจตนารมณ์ของกฏหมาย มิใช่เป็นเหตุผลที่ผู้ใช้
กฏหมายนึกคิดขึ้นเอง
การวิเคราะห์หาเหตุผลจากความเป็นธรรมของกฏหมาย สามารถพิจารณาได้จาก
 ตัวบทบัญญัติของกฏหมายนั้นเองตาม “ทฤษฎีอาเภอการณ์” อย่างไรก็ดีในการใช้กฏหมาย
นักกฏหมายส่วนใหญ่มักพิจารณาประกิบกับเหตุผลของผู้ร่างกฏหมายและหลักการตีความ
กฏหมายต่างๆด้วย ตัวอย่างเช่น “การประเมินราคาที่ดินที่ ตาหรุ”
เหตุผลในกฏหมายที่วิเคราะห์ได้สามารถนามาใช้ได้เฉพาะในการพิจารณาคดี หรือไม่
 ใช้ได้และไม่เพียงสามารถใช้ได้ในการพิจารณาคดีเท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ในการให้
ความเห็นทางกฏหมายของนักกฏหมายโดยทั่วไปได้ตัวอย่าง เช่น “การได้รับอนุญาตให้
ก่อสร้างแล้วมีการละเลยไม่ก่อสร้าง”
15. การค้นหาเจตนารมณ์ของกฏหมาย ที่นักกฏหมายส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นวิธีที่ดี คือ
- การค้นหาจากผู้ร่าง
- การค้นหาจากตัวกฏหมายนั้นเอง
- การค้นหาจากความเห็นของนักวิชาการ
- การค้นหาจากหลักการตีความกฏหมายทั่วไป
16. การค้นหาเหตุผลของกฏหมายตาม “ทฤษฎีอาเภอการณ์” คือการหาเหตุผล จาก
- ตัวบทบัญญัติของกฏหมายนั้นเอง
- เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วย “เจตนารมณ์ของกฏหมาย”
17. การหาเหตุผลโดย “ทฤษฎีอาเภอจิต” ได้แก่
- หาเหตุผลจากผู้ร่างกฏหมาย
18. การศึกษารายงานการประชุมสภาในการพิจารณาร่างกฏหมาย เป็นการค้นหาในลักษณะ
- เหตุผลของผู้ร่างกฏหมาย
19. การทาความเข้าใจกฏหมายจากเนื้อความของกฏหมาย เป็นการหาเหตุผลในลักษณะ
- เหตุผลในตัวกฏหมายนั้นเอง
20. การค้นหาเหตุผลเพื่อสร้างความเป็นธรรม ควรพิจารณาจากเหตุผล
- ผู้ร่างกฏหมาย กับ ตัวบทกฏหมาย
21. บุคคลที่สามารถใช้เหตุผลในทางกฏหมาย คือ
- ทุกคนที่ใช้กฏหมาย
22. การใช้เหตุผลในทางกฏหมายสามารถปรากฏได้ใน
- การต่อสู้คดี
- คาพิพากษาของศาล
- บทบัญญัติของกฏหมาย
- การให้ความเห็นทางกฏหมาย
23. การใช้เหตุผลในการต่อสู้คดี มีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับการใช้เหตุผลในทางกฏหมายอื่น หรือไม่
- มีหลักเกณฑ์เดียวกัน เพราะเป็นการใช้กฏหมายเพื่อรักษาสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณี
จึงต้องมีความสมเหตุสมผล เป็นธรรม และสามารถจูงใจให้ผู้อ่านคล้อยตาม
24. ในการพิจารณาของศาลไทย ศาลต้องผูกพันตามแนวคาพิพากษาในการใช้เหตุผลทางกฏหมาย หรือไม่
- ไม่ผูกพัน เพราะประเทศไทยเป็นประเทศในระบบกฏหมายซีวิลลอว์(ระบบประมวลกฏหมาย)จึง
ไม่จาเป็นต้องยึดแนวคาพิพากษามาเป็นบรรทัดฐานในการใช้เหตุผลทางกฏหมาย
- อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ คาพิพากษาที่มีการใช้เหตุผลที่ดี สมเหตุสมผล และเป็นธรรม สามารถ
นามาเป็นแนวทางในการใช้เหตุผลในกฏหมายได้ในกรณีที่มีข้อเท็จจริงที่คล้ายคลึงกัน
25. การใช้เหตุผลในการเขียนคาพิพากษา ควรคานึงถึงหลักในเรื่อง
- หลัก หรือ ทฤษฎีกฏหมาย
- หลักการร่างกฏหมาย
- หลักการตีความความกฏหมาย และ การอุดช่องว่างกฏหมาย
- หลักอื่นๆ เช่น หลักตรรกวิทยา สามัญสานึก และศีธรรม
26. การให้เหตุผลในการให้ความเห็นทางกฏหมาย ควรคานึงถึงหลัก
- หลักศีลธรรม
- หลักตรรกวิทยา
- หลักการร่างกฏหมาย
- หลักหรือทฤษฎีกฏหมาย
27. หลักกฏหมายใหม่ๆ ในกฏหมายอาญา / วิธีพิจารณาความอาญา / หลักพิจารณาโดยคนกลาง ตามลาดับ
- หลักไม่มีความผิดโดยไม่มีกฏหมาย ไม่มีโทษโดยไม่มีกฏหมาย
- บุคคลได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเขาเป็นผู้กระทาความผิด”
- ศาล ซึ่งต้องกระทาต่อหน้าจาเลย ต้องเปิดเผยและเป็นธรรม
หลักกฏหมายมหาชน บกหลักการของนิติรัฐ
 ฝ่ายปกครองจะมีอานาจเท่าที่กฏหมายให้อานาจเท่านั้น
หลักกฏหมายเอกชน
 เอกชนย่อมมีอิสระที่จะกระทาการใดๆก็ได้ตราบเท่าที่ไม่มีกฏหมายบัญญัติห้ามไว้
หลักกฏหมายทั่วไป
 มีลักษณะกว้างกว่าหลักกฏหมายธรรมดา กว้างกว่าตัวบทบัญญัติกฏหมาย
28. เครื่องมือที่ใช้เพื่อช่วยค้นหาหลักฏหมายทั่วไป มีนักนิติศาสตร์ให้ความเห็นไว้ดังนี้
- สุภาษิตกฏหมาย
 กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา
 ความยินยอมไม่ทาให้เป็นละเมิด
 ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน
 ในระหว่างผู้สุจริตด้วยกัน ผู้ประมาทเลินเล่อย่อมเป็นผู้เสียเปรียบ
- การพิเคราะห์โครงสร้างกฏหมาย
 มีข้อดีกว่าการค้นหาโดยสุภาษิตกฏหมาย เพราะสุภาษิตกฏหมายอาจใช้ไม่ได้กับระบบ
กฏหมายของไทยก็ได้
- การเปรียบเทียบหลักกฏหมายต่างประเทศ
 ทาให้ได้หลักลาภมิควรได้ที่ศาลถือว่าเป็นหลักกฏหมายทั่วไป ที่นามาใช้ในศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศ
- หลักการตีความกฏหมายและอุดช่องว่างในกฏหมาย
 ถ้อยคา ที่ใช้ในกฏหมายไม่ชัดเจนและแน่นอน กล่าวคือมีถ้อยคากากวม หรือมีความหมาย
ได้หลายทาง จึงต้องตีความในกฏหมายหรือแปลความในกฏหมาย
 การตีความกฏหมาย ของระบบกฏหมาย COMMON LAW จะต่างจากระบบ CEVIL LAW
 แนวความคิด หรือ นิติวิธี ในการใช้และตีความกฏหมายลากลักษณ์อักษร คือ กฏหมายที่
เกิดขึ้นจาก ACT OF PARLIAMENT หรือ STATUTE (ที่รัฐสภาของอังกฤษตราขึ้น) จึงมี
หลักการตีความที่ลักษณะพิเศษด้วยเช่นเดียวกัน โดยยึดหลักการตีความเคร่งครัดตามตุว
อักษร
 หลักการตีความกฏหมาย จึงเป็นเครื่องมือที่สาคัญประการแรกที่ช่วยในการใช้เหตุผล
ในทางกฏหมาย
29. STATUTE หมายถึง
- กฏหมายที่ผ่านรัฐสภาของอังกฤษ
- เป็นกฏหมายพิเศษเฉพาะเรื่องซึ่งเกิดขึ้นเพื่อยกเว้นหลักฏหมาย COMMON LAW (ซึ่งเป็นหลัก
กฏหมายทั่วไป)
- หลักการตีความดังกล่าวจึงมิใช่หลักการตีความที่จะสามารถนาไปใช้กับหลักการตีความกฏหมาย
ประเทศอื่นๆที่อยู่ในระบบ CEVIL LAW ซึ่งรวมทั้งกฏหมายของประเทศไทยด้วย
30. หลักการตีความกฏหมายของประเทศภาคพื้นยุโรปที่อยู่ในระบบ CEVIL LAW เช่นเดียวกับประเทศ
ไทย มีหลักการตีความสาคัญอยู่ 2 ประการ คือ
- หลักการตีความตามตัวอักษร GRAMMATICAL(LITERAL) INTERPRETATION หรือ
TEXTUAL APPROACH
- หลักการตีความตามเจตนารมณ์ของกฏหมาย LOGICAL INTERPRETATION หรือ PURPOSIVE
APPROACH
โดยหลักการดังกล่าวจะไม่ใช้วิธีพิจารณาเฉพาะแต่ถ้อยคาตามตัวอักษรก่อน หรือจะไม่ใช้วิธีหา
ความหมายของถ้อยคาตามตัวอักษรก่อน จนเมื่อไม่สามารถที่จะค้นหาความหมายที่แท้จริงได้จึงจะ
ไปใช้หลักการตีความที่เป็นเจตนารมณ์ของกฏหมายเหมือนอย่างในระบบอังกฤษ
- ในระบบ CEVIL LAW การใช้และตีความกฏหมายจะกระทาโดยการพิจารณาถ้อยคาตามตัวอักษร
ควบคู่ ไปกับการค้นหาเจตนารมณ์ของบทบัญญัติของกฏหมายไปพร้อมๆกัน
31. การตีความกฏหมายอาญา
- ต้องตีความอย่างแคบ อย่างเคร่งครัด และไม่ขยายความ
- กล่าวคือ ต้องอ่านและใช้กฏหมายเท่าที่กฏหมายบัญญัติไว้ยิ่งไปกว่านั้น ในการลงโทษอาญายังมี
สุภาษิตกฏหมายอีกบทหนึ่งสนับสนุนว่า “การลงโทษทางอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัด”
การตีความกฏหมายอาญาอย่างเคร่งครัด มีข้อจากัดอยู่ 3 ประการ คือ
 ไม่ได้หมายความว่าจะต้องตีความกฏหมายตามตัวอักษรทุกกรณีไป เพราะในกฏหมาย
อาญาก็เช่นเดียวกับกฏหมายอื่น คือ ในขั้นต้นต้องคานึงถึงเจตนารมณ์ของผู้บัญญัติ
กฏหมาย
 มิได้หมายความว่าขอบเขตของกฏหมายอาญาจะจากัดเฉพาะกรณีที่ผู้บัญญัติกฏหมาย
กาหนดไว้เท่านั้น กล่าว คือ หากต่อมามีเหตุการณ์ที่อาจไม่คาดเห็นในขณะที่มีการบัญญัติ
กฏหมายที่เกิดขึ้น ก็สามารถนาบทบัญญัติที่มีอยู่แล้วมาใช้บังคับกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดเห็น
ได้ซึ่งเป็นหลักการ “ตีความแบบขยายความ” (EXTENSIVE INTERPRETATION)
 ได้กาหนดเป็นหลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของบุคคล ฉะนั้นจึงให้ใช้กับกรณีความผิดและโทษ
เท่านั้น มิได้รวมไปถึงบทบัญญัติที่เป็นคุณค่าต่อผู้ต้องหา
32. การแต่งบุคคลใดเป็นผู้ทรงคุณวุฒินั้น จะต้องพิจารณาถึง
- บุคคลนั้นเป็นการเฉพาะตัว มิใช่ตาแหน่งที่ดารงอยู่ในขณะนั้น ฉะนั้น การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิโดย
ใช้ชื่อตาแหน่ง จึงไม่ตรงกับความหมาย(เจตนารมณ์) ของกฏหมาย
33. สัญญาทางปกครอง หมายถึง
- ความตกลงในการซื้อขายที่ดินระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชนเพื่อสร้างถนนตามโครงการ อัน
เป็นการจัดทาสาธารณูปโภคที่ประชาชนเป็นผู้ใช้และได้รับประโยชน์โดยตรง
34. การทาความเห็นแย้ง มีประโยชน์ คือ
- เป็นการทบทวนคาพิพากษา หรือ ความเห็นทางกฏหมาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้กฏหมายมีการ
พิจารณาเรื่องนั้นๆ อย่างรอบด้าน และเลือกใช้เหตุผลทางกฏหมายที่เห็นว่าเหมาะสมและเป็นธรรม
มากที่สุด
.......................................................................................................................................................................................
คนล่าฝัน/50
วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555
หน่วยนี้เอาเรื่องเลยทีเดียว
ประเมินผลก่อนเรียน 6/10 ...... หลังเรียนได้ 3/10 ซะงั้น

More Related Content

Viewers also liked

แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
Kruthai Kidsdee
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
Kero On Sweet
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
peter dontoom
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
nawaporn khamseanwong
 

Viewers also liked (11)

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ นิติกร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

การใช้เหตุผลในทางกฏหมายอาญา lawza.xyz

  • 1. หน่วยที่ 5 การใช้เหตุผลในทางกฏหมายอาญา ....................................................................................................................................................................................... แบบประเมินผล 1. เหตุที่ กฏหมายจึงจาเป็นต้องมีเหตุผลที่ดี คือ - เพื่อให้กฏหมายนั้นเป็นที่ยอมรับของสมาชิกในสังคม - มีที่มาจากแนวคิดทางปรัชัญา โดยนักปรัชญาและนักนิติปรัชญา ได้พยายามพัฒนาแนวความคิดที่ เกี่ยวกับเหตุผลในการตรากฏหมายและการใช้กฏหมายมาโดยตลอด เพื่อให้ได้กฏหมายที่ดีและเป็น ธรรมที่สุดแก่สังคม 2. กฏหมายที่มีการตรา โดยมีเหตุผลที่ดีมีประโยชน์ คือ - ทาให้กฏหมายสามารถอานายความเป็นธรรมได้เหมาะแก่กรณี 3. เหตุผลที่ดี ในการใช้กฏหมาย มีที่มาจากหลักการใด - ศีลธรรม - ปรัชญา - นิติปรัชญาตรรกวิทยา 4. การใช้เหตุผลในทางกฏหมายที่ดี มีคุณลักษณะสาคัญประการหนึ่ง คือ - ความสมเหตุสมผล ในทาง “ตรรกวิทยา” ซึ่งช่วยให้สามารถตรากฏหมายและนากฏหมายมาใช้ใน การแก้ปัญหาได้ตรงกับสภาพปัญหาที่แท้จริง ไม่เบี่ยงเบนไป 5. เหตุผลที่ดีควรมีลักษณะ - เป็นธรรม - รับฟังได้ - สมเหตุสมผล - มีข้อเท็จจริงสนับสนุนที่หนักแน่น
  • 2. - ก่อให้เกิดความเป็นธรรมและการยอมรับของบุคคลที่เกี่ยวข้องและสังคม และแก้ปัญหาได้ตรงกับ สภาพปัญหาที่แท้จริง ซึ่งจะทาให้กฏหมายนั้นบรรลุวัตถุประสงค์และประสบผล 6. การใช้กฏหมาย เป็นคากว้าง หมายถึง - การใช้กฏหมายลายลักษณ์อักษร(มีการตีความ) - การใช้กฏหมายจารีตประเพณี(ไม่ต้องตีความ) - การใช้หลักกฏหมายทั่วไป (ไม่ต้องตีความ) มาปรับกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเพื่อหาผลทางกฏหมาย 7. การตีความกฏหมาย คือ - การตี “ถ้อยคา” ของกฏหมายให้ได้เป็น “ข้อความ” ที่จะนาไปวินิจฉัยขี้ขาดคดีข้อพิพาท หรือ คือ การขบคิดค้นหาจากบัญญัติของกฏหมายโดยวิธีใช้เหตุผลตามหลักตรรกวิทยาและสามัญสานึก เพื่อให้ได้มาซึ่ง “ข้อความ” ของกฏหมาย ที่จะนาไปวินิจฉัยคดีพิพาทได้อย่างถูกต้อง คือ เหมาะสม และเป็นธรรม 8. แนวความคิดทางด้านปรัชญา หมายถึง - วิชาที่ว่าด้วยความรู้และความจริงที่มนุษย์ได้พัฒนาแนวความคิดนี้มาตั้งแต่ยุคโบราณ 9. แนวความคิดทางนิติปรัชญา ที่ยังคงใช้อยู่ในการให้เหตุผลทางกฏหมายในปัจจุบัน คือ - แนวคิดเกี่ยวกับหลักนิติรัฐ (LEGAL STATE) ซึ่งปัจจุบันมีการใช้เหตุผลทางกฏหมายที่เกี่ยวกับการ ใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ขอรัฐว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ จะใช้อานาจในทางที่ลิดรอนสิทธิและเสรีภาพ ของเอกชนได้ก็ต่อเมื่อมีกฏหมายให้อานาจไว้อย่างชัดแจ้งเท่านั้น” 10. หลักปรัชญา ช่วยให้การใช้กฏหมายมีเหตุผลที่ดี คือ - เป็นเหตุผลที่มีความเป็นธรรมตามยุคสมัย 11. หลัก “ตรรกวิทยา” ช่วยให้กฏหมายมีเหตุผลที่ดี คือ - เป็นเหตุผลที่มีความสมเหตุสมผล 12. การใช้เหตุผลในกฏหมายโดยใช้หลัก “ตรรกวิทยา” มีความสาคัญ คือ - ทาให้เหตุผลที่ยกขึ้นมากล่าวอ้างมีความสมเหตุสมผล และสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงตามสภาพ ของปัญหาที่แท้จริง 13. สุภาษิตกฏหมายโรมัน กล่าวว่า
  • 3. - “ในเรื่องของกฏหมายนั้น เหตุผลของกฏหมายเป็นวิญญาณของกฏหมายโดยแท้” และ - “เหตุผลในกฏหมายต้องแจ่มแจ้งดังแสงตะวัน” 14. การวิเคราะห์เหตุผล ของกฏหมายสามารถศึกษาได้ จาก - ผู้ร่างกฏหมาย - การอภิปรายในสภา - บันทึกหลักการและเหตุผล - รายงานการประชุมพิจารณาร่างกฏหมาย การวิเคราะห์หาเหตุของผู้ร่างกฏหมาย มีประโยชน์ในการใช้เหตุผลในกฏหมาย คือ  เพราะจะทาให้วินิจฉัยคดีได้ตรงตามเจตนารมณ์ของกฏหมาย มิใช่เป็นเหตุผลที่ผู้ใช้ กฏหมายนึกคิดขึ้นเอง การวิเคราะห์หาเหตุผลจากความเป็นธรรมของกฏหมาย สามารถพิจารณาได้จาก  ตัวบทบัญญัติของกฏหมายนั้นเองตาม “ทฤษฎีอาเภอการณ์” อย่างไรก็ดีในการใช้กฏหมาย นักกฏหมายส่วนใหญ่มักพิจารณาประกิบกับเหตุผลของผู้ร่างกฏหมายและหลักการตีความ กฏหมายต่างๆด้วย ตัวอย่างเช่น “การประเมินราคาที่ดินที่ ตาหรุ” เหตุผลในกฏหมายที่วิเคราะห์ได้สามารถนามาใช้ได้เฉพาะในการพิจารณาคดี หรือไม่  ใช้ได้และไม่เพียงสามารถใช้ได้ในการพิจารณาคดีเท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ในการให้ ความเห็นทางกฏหมายของนักกฏหมายโดยทั่วไปได้ตัวอย่าง เช่น “การได้รับอนุญาตให้ ก่อสร้างแล้วมีการละเลยไม่ก่อสร้าง” 15. การค้นหาเจตนารมณ์ของกฏหมาย ที่นักกฏหมายส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นวิธีที่ดี คือ - การค้นหาจากผู้ร่าง - การค้นหาจากตัวกฏหมายนั้นเอง - การค้นหาจากความเห็นของนักวิชาการ - การค้นหาจากหลักการตีความกฏหมายทั่วไป 16. การค้นหาเหตุผลของกฏหมายตาม “ทฤษฎีอาเภอการณ์” คือการหาเหตุผล จาก
  • 4. - ตัวบทบัญญัติของกฏหมายนั้นเอง - เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วย “เจตนารมณ์ของกฏหมาย” 17. การหาเหตุผลโดย “ทฤษฎีอาเภอจิต” ได้แก่ - หาเหตุผลจากผู้ร่างกฏหมาย 18. การศึกษารายงานการประชุมสภาในการพิจารณาร่างกฏหมาย เป็นการค้นหาในลักษณะ - เหตุผลของผู้ร่างกฏหมาย 19. การทาความเข้าใจกฏหมายจากเนื้อความของกฏหมาย เป็นการหาเหตุผลในลักษณะ - เหตุผลในตัวกฏหมายนั้นเอง 20. การค้นหาเหตุผลเพื่อสร้างความเป็นธรรม ควรพิจารณาจากเหตุผล - ผู้ร่างกฏหมาย กับ ตัวบทกฏหมาย 21. บุคคลที่สามารถใช้เหตุผลในทางกฏหมาย คือ - ทุกคนที่ใช้กฏหมาย 22. การใช้เหตุผลในทางกฏหมายสามารถปรากฏได้ใน - การต่อสู้คดี - คาพิพากษาของศาล - บทบัญญัติของกฏหมาย - การให้ความเห็นทางกฏหมาย 23. การใช้เหตุผลในการต่อสู้คดี มีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับการใช้เหตุผลในทางกฏหมายอื่น หรือไม่ - มีหลักเกณฑ์เดียวกัน เพราะเป็นการใช้กฏหมายเพื่อรักษาสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณี จึงต้องมีความสมเหตุสมผล เป็นธรรม และสามารถจูงใจให้ผู้อ่านคล้อยตาม 24. ในการพิจารณาของศาลไทย ศาลต้องผูกพันตามแนวคาพิพากษาในการใช้เหตุผลทางกฏหมาย หรือไม่ - ไม่ผูกพัน เพราะประเทศไทยเป็นประเทศในระบบกฏหมายซีวิลลอว์(ระบบประมวลกฏหมาย)จึง ไม่จาเป็นต้องยึดแนวคาพิพากษามาเป็นบรรทัดฐานในการใช้เหตุผลทางกฏหมาย - อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ คาพิพากษาที่มีการใช้เหตุผลที่ดี สมเหตุสมผล และเป็นธรรม สามารถ นามาเป็นแนวทางในการใช้เหตุผลในกฏหมายได้ในกรณีที่มีข้อเท็จจริงที่คล้ายคลึงกัน 25. การใช้เหตุผลในการเขียนคาพิพากษา ควรคานึงถึงหลักในเรื่อง
  • 5. - หลัก หรือ ทฤษฎีกฏหมาย - หลักการร่างกฏหมาย - หลักการตีความความกฏหมาย และ การอุดช่องว่างกฏหมาย - หลักอื่นๆ เช่น หลักตรรกวิทยา สามัญสานึก และศีธรรม 26. การให้เหตุผลในการให้ความเห็นทางกฏหมาย ควรคานึงถึงหลัก - หลักศีลธรรม - หลักตรรกวิทยา - หลักการร่างกฏหมาย - หลักหรือทฤษฎีกฏหมาย 27. หลักกฏหมายใหม่ๆ ในกฏหมายอาญา / วิธีพิจารณาความอาญา / หลักพิจารณาโดยคนกลาง ตามลาดับ - หลักไม่มีความผิดโดยไม่มีกฏหมาย ไม่มีโทษโดยไม่มีกฏหมาย - บุคคลได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเขาเป็นผู้กระทาความผิด” - ศาล ซึ่งต้องกระทาต่อหน้าจาเลย ต้องเปิดเผยและเป็นธรรม หลักกฏหมายมหาชน บกหลักการของนิติรัฐ  ฝ่ายปกครองจะมีอานาจเท่าที่กฏหมายให้อานาจเท่านั้น หลักกฏหมายเอกชน  เอกชนย่อมมีอิสระที่จะกระทาการใดๆก็ได้ตราบเท่าที่ไม่มีกฏหมายบัญญัติห้ามไว้ หลักกฏหมายทั่วไป  มีลักษณะกว้างกว่าหลักกฏหมายธรรมดา กว้างกว่าตัวบทบัญญัติกฏหมาย 28. เครื่องมือที่ใช้เพื่อช่วยค้นหาหลักฏหมายทั่วไป มีนักนิติศาสตร์ให้ความเห็นไว้ดังนี้ - สุภาษิตกฏหมาย  กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา  ความยินยอมไม่ทาให้เป็นละเมิด  ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน
  • 6.  ในระหว่างผู้สุจริตด้วยกัน ผู้ประมาทเลินเล่อย่อมเป็นผู้เสียเปรียบ - การพิเคราะห์โครงสร้างกฏหมาย  มีข้อดีกว่าการค้นหาโดยสุภาษิตกฏหมาย เพราะสุภาษิตกฏหมายอาจใช้ไม่ได้กับระบบ กฏหมายของไทยก็ได้ - การเปรียบเทียบหลักกฏหมายต่างประเทศ  ทาให้ได้หลักลาภมิควรได้ที่ศาลถือว่าเป็นหลักกฏหมายทั่วไป ที่นามาใช้ในศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ - หลักการตีความกฏหมายและอุดช่องว่างในกฏหมาย  ถ้อยคา ที่ใช้ในกฏหมายไม่ชัดเจนและแน่นอน กล่าวคือมีถ้อยคากากวม หรือมีความหมาย ได้หลายทาง จึงต้องตีความในกฏหมายหรือแปลความในกฏหมาย  การตีความกฏหมาย ของระบบกฏหมาย COMMON LAW จะต่างจากระบบ CEVIL LAW  แนวความคิด หรือ นิติวิธี ในการใช้และตีความกฏหมายลากลักษณ์อักษร คือ กฏหมายที่ เกิดขึ้นจาก ACT OF PARLIAMENT หรือ STATUTE (ที่รัฐสภาของอังกฤษตราขึ้น) จึงมี หลักการตีความที่ลักษณะพิเศษด้วยเช่นเดียวกัน โดยยึดหลักการตีความเคร่งครัดตามตุว อักษร  หลักการตีความกฏหมาย จึงเป็นเครื่องมือที่สาคัญประการแรกที่ช่วยในการใช้เหตุผล ในทางกฏหมาย 29. STATUTE หมายถึง - กฏหมายที่ผ่านรัฐสภาของอังกฤษ - เป็นกฏหมายพิเศษเฉพาะเรื่องซึ่งเกิดขึ้นเพื่อยกเว้นหลักฏหมาย COMMON LAW (ซึ่งเป็นหลัก กฏหมายทั่วไป) - หลักการตีความดังกล่าวจึงมิใช่หลักการตีความที่จะสามารถนาไปใช้กับหลักการตีความกฏหมาย ประเทศอื่นๆที่อยู่ในระบบ CEVIL LAW ซึ่งรวมทั้งกฏหมายของประเทศไทยด้วย 30. หลักการตีความกฏหมายของประเทศภาคพื้นยุโรปที่อยู่ในระบบ CEVIL LAW เช่นเดียวกับประเทศ ไทย มีหลักการตีความสาคัญอยู่ 2 ประการ คือ
  • 7. - หลักการตีความตามตัวอักษร GRAMMATICAL(LITERAL) INTERPRETATION หรือ TEXTUAL APPROACH - หลักการตีความตามเจตนารมณ์ของกฏหมาย LOGICAL INTERPRETATION หรือ PURPOSIVE APPROACH โดยหลักการดังกล่าวจะไม่ใช้วิธีพิจารณาเฉพาะแต่ถ้อยคาตามตัวอักษรก่อน หรือจะไม่ใช้วิธีหา ความหมายของถ้อยคาตามตัวอักษรก่อน จนเมื่อไม่สามารถที่จะค้นหาความหมายที่แท้จริงได้จึงจะ ไปใช้หลักการตีความที่เป็นเจตนารมณ์ของกฏหมายเหมือนอย่างในระบบอังกฤษ - ในระบบ CEVIL LAW การใช้และตีความกฏหมายจะกระทาโดยการพิจารณาถ้อยคาตามตัวอักษร ควบคู่ ไปกับการค้นหาเจตนารมณ์ของบทบัญญัติของกฏหมายไปพร้อมๆกัน 31. การตีความกฏหมายอาญา - ต้องตีความอย่างแคบ อย่างเคร่งครัด และไม่ขยายความ - กล่าวคือ ต้องอ่านและใช้กฏหมายเท่าที่กฏหมายบัญญัติไว้ยิ่งไปกว่านั้น ในการลงโทษอาญายังมี สุภาษิตกฏหมายอีกบทหนึ่งสนับสนุนว่า “การลงโทษทางอาญาจะต้องตีความโดยเคร่งครัด” การตีความกฏหมายอาญาอย่างเคร่งครัด มีข้อจากัดอยู่ 3 ประการ คือ  ไม่ได้หมายความว่าจะต้องตีความกฏหมายตามตัวอักษรทุกกรณีไป เพราะในกฏหมาย อาญาก็เช่นเดียวกับกฏหมายอื่น คือ ในขั้นต้นต้องคานึงถึงเจตนารมณ์ของผู้บัญญัติ กฏหมาย  มิได้หมายความว่าขอบเขตของกฏหมายอาญาจะจากัดเฉพาะกรณีที่ผู้บัญญัติกฏหมาย กาหนดไว้เท่านั้น กล่าว คือ หากต่อมามีเหตุการณ์ที่อาจไม่คาดเห็นในขณะที่มีการบัญญัติ กฏหมายที่เกิดขึ้น ก็สามารถนาบทบัญญัติที่มีอยู่แล้วมาใช้บังคับกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดเห็น ได้ซึ่งเป็นหลักการ “ตีความแบบขยายความ” (EXTENSIVE INTERPRETATION)  ได้กาหนดเป็นหลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของบุคคล ฉะนั้นจึงให้ใช้กับกรณีความผิดและโทษ เท่านั้น มิได้รวมไปถึงบทบัญญัติที่เป็นคุณค่าต่อผู้ต้องหา 32. การแต่งบุคคลใดเป็นผู้ทรงคุณวุฒินั้น จะต้องพิจารณาถึง - บุคคลนั้นเป็นการเฉพาะตัว มิใช่ตาแหน่งที่ดารงอยู่ในขณะนั้น ฉะนั้น การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิโดย ใช้ชื่อตาแหน่ง จึงไม่ตรงกับความหมาย(เจตนารมณ์) ของกฏหมาย
  • 8. 33. สัญญาทางปกครอง หมายถึง - ความตกลงในการซื้อขายที่ดินระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชนเพื่อสร้างถนนตามโครงการ อัน เป็นการจัดทาสาธารณูปโภคที่ประชาชนเป็นผู้ใช้และได้รับประโยชน์โดยตรง 34. การทาความเห็นแย้ง มีประโยชน์ คือ - เป็นการทบทวนคาพิพากษา หรือ ความเห็นทางกฏหมาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้กฏหมายมีการ พิจารณาเรื่องนั้นๆ อย่างรอบด้าน และเลือกใช้เหตุผลทางกฏหมายที่เห็นว่าเหมาะสมและเป็นธรรม มากที่สุด ....................................................................................................................................................................................... คนล่าฝัน/50 วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555 หน่วยนี้เอาเรื่องเลยทีเดียว ประเมินผลก่อนเรียน 6/10 ...... หลังเรียนได้ 3/10 ซะงั้น