SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
ทวีปแอฟริกา
1. ที่ตั้งและอาณาเขต
ทวีปแอฟริกาตั้งอยู่ระหว่างประมาณละติจูด 37 องศาเหนือ ถึง 34 องศาใต้
ลองจิจูด 51 องศาตะวันออกถึง 17 องศาตะวันตก โดยมีเส้นศูนย์สูตรผ่านกลาง
ทวีป ทาให้ครึ่งหนึ่งของทวีปแอฟริกาอยู่ทางซีกโลกเหนือและอีกครึ่งหนึ่งอยู่ทาง
ซีกโลกใต้
อาณาเขต ทิศเหนือ : ติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีช่องแคบยิบรอลตาร์
เป็นทางออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติก คลองสุเอชและทะเลแดงเป็นทางออกสู่
สมุทรอินเดีย พื้นที่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคเหนือของทวีปแอฟริกา
เรียกว่า บาร์บารี (Barbary)
ทิศตะวันออก : ติดต่อกับทะเลแดง อ่าวเอเดน และมหาสมุทรอินเดีย เกาะใน
มหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ เกาะมาดากัสการ์ ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ลาดับ 4 ของโลกรอง
จากเกาะกรีนแลนด์ เกาะนิวกินี และเกาะบอร์เนียว โดยมีช่องแคบโมซัมบิก คั่น
กับตัวทวีป เกาะอื่นๆ ได้แก่ หมู่เกาะมอริเชียส เกาะเซเชลส์ และเกาะคอโมโรส
ทิศใต้ : ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศตะวันตก : ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีอ่าวกินีเป็นอ่าวที่ใหญ่ตอนกลางทวีป เกาะสาคัญ ได้แก่ หมู่เกาะเคปเวิร์ด
หมู่เกาะคานารี และหมู่เกาะมาเดียรา
2. เนื้อที่และภูมิภาค
ทวีปแอฟริกามีเนื้ อที่ประมาณ 30,015,147 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย
และใหญ่กว่าทวีปยุโรปถึง 3 เท่า ความยาววัดจากเหนือสุดไปใต้สุดได้ประมาณ 8,000 กิโลเมตร ส่วนความกว้างวัดจาก
ตะวันออกไปตะวันตกได้ประมาณ 7,500 กิโลเมตร
ภูมิภาคของทวีปแอฟริกาประกอบด้วย ประเทศเอกราชและดินแดนต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แบ่ง
ได้เป็น 5 ภูมิภาค คือ
ทวีปแอฟริกาสามารถแบ่งได ้ 5 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ดังนี้
3. ภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่ไม่ค่อยมีคาบสมุทร อ่าวและทะเล เนื้ อที่ประมาณ 2 ใน 3 ของทวีปเป็นที่ราบสูง ส่วนลักษณะพื้นที่เป็น
ที่ราบมีอยู่น้อยมาก ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ดินแดนบริเวณชายขอบของทวีปเท่านั้น ลักษณะภูมิประเทศแบ่งออกเป็น 4 เขต
1. เขตที่ราบสูงและเทือกเขาทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ เขตที่ราบสูงและเทือกเขานี้ อยู่ในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรียและ
ตูนิเซีย คือ เทือกเขาแอตลาส มียอดเขาสูงสุด ชื่อว่า ยอดเขาทูบคาล (4,167 เมตร) อยู่ในเขตประเทศโมร็อกโก ในเขตเทือกเขา
แอตลาสประกอบด้วยเทือกเขาต่างๆ คือ
- เทือกเขาแกรนด์แอตลาสในประเทศโมร็อกโกเป็นแกน
- เทือกเขาแอนดิแอตลาสเป็นแนวขนานทางตอนใต้
- เทือกเขาสะฮาราแอตลาสอยู่ทางใต้สุด
- เทือกเขาเทลล์แอตลาสเป็นแนวขนานด้านนอกบริเวณชายฝั่งในเขตประเทศโมร็อกโก
ประเทศแอลจีเรียและประเทศตูนิเซีย
(แนวเทือกเขาแอตลาสในโมรอกโค)
2.เขตที่ราบลุ่มแม่น้า แอฟริกามีที่ราบลุ่มแม่น้าขนาดใหญ่ 4 เขต คือ
1) ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าที่มีบริเวณแคบๆอยู่ในเขตประเทศซูดานและอียิปต์ แม่น้าไนล์เป็นแม่น้าในเขต
ที่ราบสูง มีความยาวที่สุดในแอฟริกา และยาวที่สุดในโลก คือ 6,695 กิโลเมตร เกิดจากที่สูงและภูเขาทางตะวันออกของ
ทวีป ไหลผ่านที่ราบสูงและทะเลทรายสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางเหนือ
2) ที่ราบลุ่มแม่น้าไนเจอร์ อยู่ในเขตประเทศมาลี ไนเจอร์ และไนจีเรีย แม่น้าไนเจอร์เกิดจากภูเขาและที่สูงทางตะวันตก
เป็นแม่น้าที่ไหลผ่านที่ราบ ลุ่มอันกว้างขวาง บางตอนมีลักษณะเป็นที่ราบต่า มีน้าแช่ขังเป็นที่ชื้นแฉะ ใช้เพาะปลูกไม่ได้
(แม่น้าไนเจอร์)
3) ที่ราบลุ่มแม่น้าคองโก อยู่ทางตอนกลางทวีปในเขตประเทศคองโก และซาอีร์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ากว้างขวางมากรอง
จากที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอนใน ทวีปอเมริกาใต้ แม่น้าคองโกมีต้นกาเนิดจากเทือกเขาด้านตะวันออกและที่ราบสูง
ภาคเหนือ ไหลผ่านทะเลสาบ ที่ลุ่ม ที่ราบสูงหลายแห่ง จึงมีเกาะแก่งและน้าตกมากมาย
4) ที่ราบลุ่มแม่น้าแซมเบซี อยู่ในเขตประเทศแองโกลาและแซมเบีย บอตาสวานา ซิมบับเว เป็นแม่น้าทางภาคใต้มีความ
ยาวเป็นลาดับที่ 4 ของทวีป ไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่ประเทศโมซัมบิก เป็นแม่น้าที่ไหลผ่านที่ราบสูงและไหลเชี่ยวมาก
ที่ราบลุ่มแม่น้านี้ จึงมีเป็นบริเวณแคบๆ
3. เขตที่ราบสูงและภูเขาสูง เป็นเขตที่สูงมีอยู่ 2 บริเวณ คือ
1) เขตที่ราบสูงและภูเขาทางภาคตะวันออก เป็นเขตที่มีความสูงมาก ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบสูงเอธิโอเปีย
และที่ราบสูงแอฟริกาตะวันออก นอกจากนี้ ยังอุดมด้วยภูเขาไฟทั้งที่ยังคุกรุ่นอยู่และดับแล้ว ในเขตนี้ มีภูเขาที่มียอดสูงเกินกว่า
3,000 เมตรหลายยอด เช่น ยอดเขาคิลิมานจาโร เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในแอฟริกา อยู่ในเขตประเทศแทนซาเนีย (5,870 เมตร)
เขตที่สูงทางภาคตะวันออกนี้ มีทะเลสาบกระจัดกระจายอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ทะเลสาบวิกตอเรีย (เป็นทะเลสาบน้าจืดที่ใหญ่
เป็นลาดับที่ 2 ของโลก รองจากทะเลสาบสุพีเรีย ทะเลสาบแทนแกนยิกา เป็นทะเลสาบที่มีน้าลึกมากเป็นอันดับ 2 ของโลก
(1,470 ม.) ฯลฯ
2) เขตภูเขาและที่ราบสูงภาคใต้ ประกอบด้วยที่ราบสูงกว้างเกือบ 1,300 กิโลเมตร จากทางตะวันตกถึงตะวันออก เป็นที่ราบสูง
หินแกรนิตอยู่ระหว่างแม่น้าวาลและแม่น้าลิมโปโป เรียกว่า เดอะแรนด์ (The Rand) หรือ วิตวอเตอร์สแรนด์ (Witwatersrand)
เป็นแหล่งผลิตแร่ทองคาที่สาคัญของโลก ส่วนบริเวณที่สูงที่สุดอยู่ทางตะวันออก เป็นเทือกเขาดราเกนสเบิร์ก ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของ
แม่น้าหลายสาย ทางตอนในของเขตนี้ มีลักษณะเป็นแอ่งรูปจานและทางตะวันตกเป็นเขตแห้งแล้งเป็น ทะเลทราย ได้แก่ ทะเลทราย
คาลาฮารีและทะเลทรายนามิบ
(ทะเลทรายนามิบที่ติดกับทะเลในนามิเบีย และทะเลทรายคาลาฮารีในบอตสวานา)
4. เขตที่ราบสูงภาคตะวันตก เป็นที่ราบกว้างใหญ่มีอาณาเขตตั้งแต่ทะเลทรายสะฮาราถึงอ่าวกินี เขตนี้ เป็นที่ราบสูงหินเก่า
โดยมีพื้นที่ผิวปกคลุมด้วยหิน กรวด ปูน ทราย และดินตะกอน ภูเขาที่สาคัญในเขตนี้ ได้แก่ ภูเขาอะฮักการ์ทางตอนใต้ของ
ประเทศแอลจีเรีย ภูเขาทีเบสต์ในประเทศชาด ซึ่งเป็นสภาพภูมิประเทศที่มีส่วนช่วยให้เกิดฝนตกในเขตทะเลทราย ทางใต้
ของเขตนี้ มีที่ราบสูงหลายแห่ง เช่น ที่ราบสูงกินี ที่ราบสูงจอส ที่ราบสูงแคเมอรูน เป็นต้น
(ทะเลทรายสะฮารา)
4. เขตภูมิอากาศ
เขตภูมิอากาศของแอฟริกาแบ่งออกเป็น 6 เขต
1. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น (Tropical Rainforest Climate) ได้แก่ บริเวณชายฝั่งรอบอ่าวกินี ลุ่มแม่น้าคองโก เขตที่สูงในแอฟริกา
ตะวันออก และฝั่งตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์
2. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Savanna Climate) ได้แก่ บริเวณตอนเหนือและตอนใต้ของแนวศูนย์สูตร ซึ่งอยู่รอบๆเขตป่า
ดิบชื้น
3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย (Desert Climate) ได้แก่ บริเวณตอนเหนือของทวีป มีทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบีย ซึ่งมี
อาณาเขตต่อเนื่องกัน มีเนื้ อที่ประมาณ 9 ล้านตารางกิโลเมตร หรือประมาณร้อยละ 30 ของเนื้ อที่ทั้งทวีป และเป็นเขต
ทะเลทรายที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก ส่วนทางตอนใต้มีทะเลทรายคาลาฮารี และทะเลทรายนามิบ
4. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย (Steppe Climate) ได้แก่ บริเวณตอนกลางของทวีปและตอนใต้ของเส้นศูนย์สูตรระหว่าง
ละติจูด 10-30 องศาใต้ ด้านชายฝั่งตะวันตกของทวีป
5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Climate) ได้แก่ คาบสมุทรภาคใต้ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
6. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (Humid Subttropical Climate) พบในบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
และภาคใต้ของประเทศโมซัมบิก
5. ลักษณะทางวัฒนธรรม
ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาซึ่งคือบริเวณประเทศอียิปต์ในปัจจุบัน เป็นแหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของ
โลก เริ่มต้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีมาแล้ว ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ สิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมของชาวอียิปต์โบราณ
ได้แก่ การชลประทาน ที่สามารถนาน้าจากแม่น้าไนล์มาใช้ในการเกษตร ทาให้สามารถเพระปลูกได้ปีละ2-3 ครั้ง การสร้าง
พีระมิด เป็นที่เก็บศพของนักปกครองและนักรบ การทามัมมี่ ซึ่งสามารถเก็บรักษาศพมนุษย์ได้เป็นพันๆ ปี โดยไม่เน่าเปื่อย
การสร้างสฟิงซ์ โดยแกะสลักหินเป็นรูปสิงโตหมอบมีหน้าเป็นคน แพะ และเหยี่ยวไว้เป็นสิ่งเคารพ การทาปฏิทิน โดยกาหนดให้
มีปีละ 365 วัน และเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน การเขียน ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นเรื่องราวต่างๆ ไว้ที่ฝาผนัง
ที่ฝั่งศพ การเขียนสัญลักษณ์และรูปภาพแทนคาพูด ที่เรียกว่า อักษรไฮโรกลีฟิก การทากระดาษ จากต้นพาไพรัส ซึ่งเป็นต้นกก
ชนิดหนึ่งในเขตลุ่มน้าไนล์
ต่อมาประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 12 พวกอาหรับซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้ขยายอานาจจากเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และนา
อารยธรรมมุสลิมเข้าสู่ทวีปแอฟริกาหลายอย่าง เช่น ศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับ สภาพความเป็นอยู่และการดาเนินชีวิต เป็น
ต้น ประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 22 วาสโก ดากามา (Vasco da Gama) ชาวโปรตุเกส ได้เกิดเรืออ้อมแหลมกู๊ดโฮปเข้าสู่
แอฟริกาตะวันออก และนับตั้งแต่นั้นมาการสารวจทวีปแอฟริกาของชาวยุโรปก็ได้เริ่มขึ้นและชาว ยุโรปได้ขยายอิทธิพลของตน
เข้ายึดครองดินแดนต่างๆ ไว้เป็นอาณานิคม กระทั่งถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกาจึงได้รับเอก
ราชให้ปกครองตนเอง
6. ประชากร
ประชากร ประกอบด้วยเชื้อชาติ จาแนกออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ
พวกผิวดา เป็นเผ่าพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมของทวีปแอฟริกา เรียกว่า นิกรอยด์ และเป็นประชากรส่วนใหญ่ของทวีปนี้ มีลักษณะเด่น
ที่ผิวสีดา ผมสีดาและหยิกหยอย นิโกรในแอฟริกามีอยู่หลายกลุ่มและแต่ละกลุ่มมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น กลุ่มบันตู อาศัยอยู่
แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาใต้ เช่น เผ่าวาตูซี มีรูปร่างสูงใหญ่ กลุ่มปิกมี่ มีรูปร่างเตี้ยที่สุด
พวกผิวขาว ที่เป็นเผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของแอฟริกา ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของทวีป ได้แก่ พวกอาหรับและเบอร์เบอร์ ส่วนพวกผิว
ขาวกลุ่มใหม่ที่อพยพไปจากทวีปยุโรปนิยมตั้งถิ่นฐานในเขตอบอุ่นทางตอนใต้ของทวีป โดยเฉพาะในประเทศสาธารณรัฐ
แอฟริกาใต้ มีประมาณ 7 ล้านคน นอกจากนี้ ยังมีพวกผิวขาวจากปากีสถานและอินเดีย ซึ่งอพยพเข้าไปอาศัยอยู่ทางภาค
ตะวันออกของทวีป
7. ภาษา
ภาษา ในทวีปแอฟริกามีภาษาพูดอยู่ไม่น้อยกว่า 1,000 ภาษา เนื่องจากเป็นทวีปที่มีประชากรอยู่หลายเผ่าพันธุ์ แต่อาจแบ่ง
ออกได้เป็น 4 กลุ่ม
1) กลุ่มภาษาเซมิติก ได้แก่ ภาษาอาหรับ เป็นภาษาของคนส่วนใหญ่ในแอฟริกาเหนือ และบางส่วนในแอฟริกาตะวันออก
ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกของชาวยุโรปเป็นภาษาของเจ้าอาณานิคมที่เข้ามาปกครอง เป็นภาษที่ใช้กันแพร่หลายเมื่อไม่นานมานี้
ได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ และภาษาดัตช์
2) กลุ่มภาษาซูดาน เป็นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตทุ่งหญ้าสะวันนาทางตอนใต้ของทะเลทรายสะ
ฮารา
3) กลุ่มภาษาบันตู เป็นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคกลางและภาคตะวันออกของทวีป รวมทั้งบาง
ประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ด้วย
4) กลุ่มภาษาเฮาซา เป็นกลุ่มภาษาทางการค้าของประชากรทางภาคตะวันตกของทวีป
8. ศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกายังมีความเชื่อและปฏิบัติตามความเชื่อนั้นสืบ ต่อกันตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษมาหลายชั่วอายุ
คน เช่น เรื่องจิตวิญญาณ อานาจของดวงดาว ภูเขา ต้นไม้ สิ่งมหัศจรรย์ เป็นต้น ส่วนศาสนาที่นับถือกันมาก ได้แก่ ศาสนา
คริสต์ มีผู้นับถือมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศาสนาอิสลาม นอกจานี้ ยังมีชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาใหม่นับถือศาสนาฮินดูและ
ศาสนายิงก็มี ผู้นับถืออยู่บ้าง
9. การศึกษา
แอฟริกาเป็นทวีปที่ยากจนและต้องพัฒนาทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ แม้ความก้าวหน้าในโลกปัจจุบัน จะเป็นเครื่องกระตุ้นให้
ประชากรและรัฐบาลของประเทศต่างๆ ต้องยกระดับและขยายการศึกษาให้ทั่วถึง แต่การขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์และขัด
สนทางด้านเศรษฐกิจในเกือบทุกประเทศ ย่อมเป็นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาการศึกษา นั่นคือประเทศที่ยากจน อัตราส่วน
การรู้หนังสือของประชากรจะต่า เช่น เอธิโอเปีย มาลี ไนเจอร์ มีผู้อ่านออกเขียนได้เพียงร้อยละ 24,25,28 ตามลาดับ ขณะที่
ประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้และแทนซาเนีย มีสภาพเศรษฐกิจดีกว่าประเทศทั้งสามนี้ มีอัตราส่วนของผู้รู้หนังสือสูงร้อยละ
60 และ 85 เป็นต้น
10. อาชีพ
(1.) การเพาะปลูก การเพาะปลูกของทวีปแอฟริกามีผลผลิตแต่ละปีได้ไม่เพียงพอแก่การบริโภคภายใน ทวีป จึงต้องสั่งเข้าจากส่วนอื่น
ของโลก ลักษณะการเพาะปลูกมีความแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ คือ
- เขตร้อนชื้น ได้แก่ แอฟริกาตะวันตก ลุ่มแม่น้าคองโกและชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกมีอากาศร้อนชื้น เป็นแหล่งเพาะปลูกพืชเมืองร้อน
เช่น โกโก้ ปลูกมากที่สุด ประเทศกานาเป็นประเทศที่ส่งเมล็ดโกโก้ออกจาหน่ายมากที่สุดในโลก พืชสาคัญอื่นๆ ได้แก่ เผือก มัน ปาล์ม
น้ามัน กาแฟ ถั่วลิสง อ้อย ยางพารา
- เขตลุ่มน้าไนล์ มีอากาศร้อนและแห้งแล้งแต่ได้รับน้าจากการชลประทาน พืชสาคัญได้แก่ ฝ้าย ชา อินทผลัมและข้าวฟ่าง
- เขตเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ตอนเหนือสุดและใต้สุดของทวีปมีการปลูกพืชผลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น ส้ม องุ่น มะกอก ข้าวสาลี เป็นต้น
- เขตอบอุ่นชื้น ได้แก่ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป มีการปลูกข้าวสาลี ข้าวโพด และไม้ผล
(2.) การเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพที่พบมากที่สุด เพราะแอฟริกาเป็นทวีปที่มีเขตทุ่งหญ้ากว้างขวาง แต่การเลี้ยงสัตว์ก็ประสบปัญหา
สาคัญ คือ ทุ่งหญ้าอันกว้างใหญ่ทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารามีการเลี้ยงสัตว์มากเกินไป เป็นการทาลายทุ่งหญ้าอย่าง
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ส่วนในเขตร้อนทางภาคกลางของทวีปมีแมลงเซตซี (Tsetse fly) ที่เป็นพาหะแพร่เชื้อโรคเหงาหลับ (Sleeping
sickness) เข้าสู่สัตว์เลี้ยงจนบางแห่งไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ได้ สัตว์เลี้ยงสาคัญของทวีปแอฟริกา ได้แก่ โคพันธุ์พื้นเมือง โคพันธุ์
ต่างประเทศ อูฐ ลา แพะและแกะ เป็นต้น
(3.) การล่าสัตว์ แอฟริกาเป็นทวีปที่สัตว์ป่าชุกชุมและมีมากมายหลายชนิด ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของแอฟริกา เช่น พวกปิกมี่ แถบ
ลุ่มแม่น้าคองโก และพวกบุชแมน ในเขตทะเลทรายคาลาฮารี ยังดาเนินชีวิตโดยการล่าสัตว์ป่าเอาไปขาย สินค้าจากป่าแอฟริกาที่
ต่างชาติสนใจ ได้แก่ งาช้าง และนอแรด ต่อมาต่างชาติโดยเฉพาะชาวยุโรปนิยมเดินทางไปล่าสัตว์ในแอฟริกามากขึ้น จึงทาให้
จานวนสัตว์ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันประเทศต่างๆ ในแอฟริกาจึงได้จัดทาเขตรักษาพันธุ์สัตว์แห่งชาติ เช่น ประเทศเคนยา
เอธิโอเปีย เป็นต้น และเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติเข้าชมโดยจ่ายเงินค่าธรรมเนียมแก่รัฐบาล ที่รู้จักกันในชื่อ ซาฟารี (Safari)
(4.) การประมง การประมงไม่ได้เป็นอาชีพสาคัญของชาวแอฟริกาจะมีบ้าง ได้แก่ การจับปลาเล็กๆ น้อยๆในแม่น้าต่างๆ ส่วน
การประมงน้าเค็มมีน้อยมาก แหล่งจับปลาน้าเค็ม ได้แก่ น่านน้าชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้เป็น
ประเทศที่จับปลาได้มากที่สุดในแอฟริกา
(5.) การทาป่ าไม้ เขตที่มีความสาคัญในการทาป่าไม้ในแอฟริกา คือ บริเวณทางชายฝั่งอ่าวกินี และบริเวณลุ่มแม่น้าคองโก เป็น
แหล่งที่มีป่าไม้อยู่มากและอยู่ใกล้ทะเล ซึ่งสามารถขนส่งได้ง่าย กับเขตที่ราบสูงของแอฟริกาตะวันออก
(6.) การทาเหมืองแร่ แร่ที่สาคัญของแอฟริกา ได้แก่ เพชร ทองคา ยูเรเนียม ถ่านหิน ใยหิน เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ดีบุก
บอกไซต์ และฟอสเฟต
(7.) การอุตสาหกรรม แอฟริกาเป็นทวีปที่มีความล้าหลังทางด้านอุตสาหกรรม ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม คือ
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ประเทศที่มีผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมทารายได้เข้าประเทศบ้าง ได้แก่ ซิมบับเว สวาซิแลนด์ โมร็อกโก
เซเนกัล ส่วนประเทศที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ได้แก่ ตูนิเซีย โมร็อกโก อียิปต์ เคนยา แอลจีเรีย
11. การค้ากับต่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศต่างๆ ในแอฟริกากับภูมิภาคอื่นของโลก ส่วนใหญ่เป็นฝ่ายเสียเปรียบดุลการค้า จะมีประเทศที่ได้เปรียบดุลการค้า
บ้างก็เฉพาะประเทศผู้ผลติน้ามันและแก๊ส ธรรมชาติ กับประเทศโกตดิวัวร์และรวันดาเท่านั้น ที่ได้ดุลการค้าในการค้าขายกับต่างประเทศ
ลักษณะการค้ากับต่างประเทศ ดังนี้
1) สินค้าส่งออก ที่สาคัญได้แก่ น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ อาหาร ยาสูบ และวัตถุดิบต่างๆ ตลาดรับซื้อสินค้าจากแอฟริกา ได้แก่ กลุ่ม
สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และประเทศต่างๆในยุโรปตะวันออก
2) สินค้านาเข้า ที่สาคัญได้แก่ เครื่องจักรกล ยานยนต์ อุปกรณ์การขนส่งสินค้าจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ
แหล่งที่ส่งสินค้าเข้าสู่แอฟริกา ได้แก่ กลุ่มสหภาพยุโรป กลุ่มโอเปค สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
12. การคมนาคม
ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่มีความล้าหลังทางการคมนาคมขนส่งมากกว่าทุกทวีป ทั้งเพราะประเทศ ส่วนใหญ่ยากจน ไม่มีเงินทุนเพียง
พอที่จะนามาพัฒนาในด้านนี้ และนอกจากนี้ ทวีปแอฟริกายังมีลักษณะภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการ
คมนาคมขนส่งด้วย
1) ทางบก แอฟริกามีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างถนนและทางรถไฟ เพราะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง และมีเขตทะเลทราย
อันกว้างขวางทางตอนเหนือและตอนใต้ เป็นบริเวณที่ไม่มีค่าทางเศรษฐกิจและแทบไม่มีประชากรอาศัยอยู่ การสร้างเส้นทางคมนาคม
ในเขตนี้ จึงไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ส่วนเขตแม่น้าคองโกทางภาคกลางเป็นเขตที่ราบลุ่มที่ปกคลุมด้วยป่าดิบอันกว้าง ขวาง ก็เป็นอุปสรรค
ต่อการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่ง ทั้งยังประชากรอาศัยอยู่เบาบางมาก พื้นที่ดังกล่าวจึงแทบไม่มีถนนอยู่เลย
2) ทางน้า เส้นทางคมนาคมทางทะเลมีความสาคัญต่อแอฟริกามาก ทั้งนี้ เพราะแอฟริกาตั้งอยู่ในเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับ
ทวีป เอเชีย และทวีปยุโรปกับทวีปออสเตรเลีย หลายประเทศในทวีปนี้ ได้มีการปรับปรุงเมืองท่าน้าลึกให้เรือสินค้าและเรือเดินสมุทร
เข้าเทียบท่า ได้ และกลายเป็นเมืองท่าขนาดใหญ่หลายเมือง เช่น อะเล็กซานเดรีย ในอียิปต์ เคปทาวน์ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ คา
ซาบลังกาในโมร็อกโก มันโรเวียในไลบีเรีย เป็นต้น
3) ทางอากาศ แอฟริกาเป็นทวีปมีสายการบินที่ใช้ติดต่อกันทั้งภายในทวีปและระหว่างทวีป ศูนย์กลางคมนาคมทางอากาศ ได้แก่ ไคโร
ในอียิปต์ คาร์ทูมในซูดาน แอลเจียร์ในแอลจีเรีย ไนโรบีในเคนยา ลากอสในไนจีเรีย โจฮันเนสเบิร์กและเคปทาวน์ในสาธารณรัฐ
แอฟริกาใต้
ตารางแสดงประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจหรือจีดีพีมาก
ที่สุดในทวีปแอฟริกา 10 อันดับแรก
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
(Republic of South Africa)
1. ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ใต้สุดของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับโมซัมบิกและ
สวาซิแลนด์ ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก
พื้นที่ : 1,219,090 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพริทอเรีย (Pretoria)
ประชากร : 53.7 ล้านคน
ภูมิอากาศ : สภาพอากาศอบอุ่น มีแสงแดดตลอดปี
ภาษา : อังกฤษ และ Afrikaans (ภาษาถิ่นที่มีผู้ใช้มาก เช่น IsiNdebele, IsiZulu)
ศาสนา : Zion Christian ร้อยละ 11.1 Pentacostal/Charismatic ร้อยละ 8.2 Catholic ร้อยละ 7.1 Methodist
ร้อยละ 6.8 อิสลามร้อยละ 1.5 คริสต์นิกายอื่นๆ ร้อยละ 46.5 ไม่มีศาสนา ร้อยละ 15.1 อื่น ๆ ร้อยละ 3.7
(กรุงพริทอเรีย)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ เป็นระบบสองสภา โดยมีประธานาธิบดี ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง เป็นประมุข
แห่งรัฐและผู้นารัฐบาล ดารงตาแหน่งวาระละ 5 ปี แต่ไม่เกิน 2 วาระ
สกุลเงิน : แรนด์แอฟริกาใต้(ZAR)
อุตสาหกรรมหลัก : เหมืองแร่ (ทองคาขาว ทอง และโครเมียม) ชิ้นส่วนรถยนต์ งานโลหะ เครื่องจักร สิ่งทอ เหล็กและเหล็กกล้า
เคมีภัณฑ์ ปุ๋ ย อาหาร การซ่อมเรือพาณิชย์
สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักรกลและชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ อาหาร
สินค้าส่งออกที่สาคัญ : ทองคา เพชร ทองคาขาว เหล็กและแร่อื่น ๆ เครื่องจักรและอุปกรณ์
ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : จีน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ซาอุดีอาระเบีย ญี่ปุ่น อินเดีย ส่งออกไปยัง จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมนี
สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์
2. การเมืองและการปกครอง
แอฟริกาใต้ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและผู้นารัฐบาล ประธานาธิบดีมา
จากการเลือกตั้งในสภาผู้แทนราษฎร ดารงตาแหน่งวาระละ ๕ ปี ติดต่อกันได้ไม่เกิน ๒ วาระ คณะรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้ง
ของประธานาธิบดี ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นระบบสองสภา ประกอบด้วยสมาชิกคณะมนตรีเขตการปกครองแห่งชาติ (National
Council of Provinces)[1] จานวน ๙๐ ที่นั่ง (คัดเลือกจากฝ่ายนิติบัญญัติของแต่ละเขตการปกครอง ทั้ง ๙ เขต เขตละ ๑๐ ที่นั่ง)
มีวาระ ๕ ปี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จานวน ๔๐๐ ที่นั่ง ซึ่งทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรงในแบบ
สัดส่วน มีวาระ ๕ ปี (เลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗) ฝ่ายตุลาการประกอบด้วยศาลรัฐธรรมนูญ ศาลอุทธรณ์
สูงสุด ศาลสูง และศาลปกครอง
3. เศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจ : แอฟริกาใต้มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา มีภาคการเงินการธนาคารและอุตสาหกรรมการ
ผลิตที่แข็งแกร่ง เป็นประเทศผู้ส่งออก โดยเฉพาะ เหล็ก ถ่านหิน และอัญมณีรายใหญ่ของโลก มีอุตสาหกรรมแร่ธาตุและการ
ท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศ ภาวะวิกฤติการเงินโลกในขณะนี้ ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบธนาคารและสถาบัน
การเงินในแอฟริกาใต้อย่างรุนแรงนัก เนื่องจากแอฟริกาใต้มีกฎระเบียบทางการเงินที่เข้มงวด และธนาคารหลักในแอฟริกาใต้
มักพึ่งพาเงินทุนสารองระหว่างกันและกันมากกว่าที่จะหาแหล่งเงินกู้จากต่างประเทศ
สังคม : แม้ว่าแอฟริกาใต้เป็นประเทศที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง แต่ก็ประสบกับปัญหาการกระจายรายได้ที่ไม่เท่า
เทียมกัน โดยเงินทุนส่วนใหญ่ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของคนผิวขาวและคนผิวดาที่อยู่ในแวดวงการเมืองเพียงจานวนหนึ่ง
เท่านั้น คนจนและผู้ใช้แรงงานผิวดาส่วนใหญ่ของแอฟริกาใต้ยังคงมีคุณภาพชีวิตที่ย่าแย่ ส่งผลให้เกิดปัญหาสังคม การ
แพร่กระจายของ HIV/ AIDS และอาชญากรรมซึ่งมีความรุนแรง อาทิ การข่มขืน การค้าและเสพยาเสพติด และการทุจริต
รัฐบาลของประธานาธิบดีซูมา ประกาศนโยบายจะปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา สาธารณสุข ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
คุณภาพที่อยู่อาศัย การเพิ่มปริมาณการจ้างงาน การพยายามลดอัตราการก่ออาชญากรรม
ปัจจุบัน สถิติผู้ติดเชื้อเอดส์มีประมาณ ๖ ล้านคน แต่มีเพียงจานวนร้อยละ ๓๐ เท่านั้นที่ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ รัฐบาล
แอฟริกาใต้ต้องใช้งบประมาณกว่า ๒ พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อต่อสู้กับปัญหาดังกล่าว และพยายามใช้วิธีตรวจหาผู้ติดเชื้อ
อย่างทั่วถึง (Universal testing) ควบคู่ไปกับการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV Treatment)
4. วัฒนธรรม
ในด้านวัฒนธรรม เนื่องจากทวีปแอฟริกามีประชากรอยู่หลายกลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มก็มีลักษณะและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
กลายเป็นวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างแบบดั้งเดิมกับตะวันตก เช่น
เผ่าซูลู เชื่อว่าเทพเจ้าสร้างโลก ความอุดมสมบูรณ์ เป็นผลจากการเซ่นสังเวยบูชาบรรพบุรุษ หัวหน้าเผ่า คลุมตัวด้วยหนัง
เสือดาวไม่มีแขน ชาวเผ่า ใช้ลูกปัดเป็นเครื่องประดับ มีการเต้นรา ร้องเพลง ที่รู้สึกได้ถึงอานาจลึกลับ หมู่บ้านของซูลูเรียง
รายเป็นวงกลม ล้อมด้วยกาแพงที่ทาจากกิ่งและเปลือกไม้ ตัวกระท่อมสร้างจากหญ้าที่ถักแน่นหนา พื้นทาด้วยมูลสัตว์ที่ตาก
แห้ง ชาวซูลู ทานเนื้ อที่ย่างด้วยถ่านหิน จะให้ไหม้เกรียมข้างนอกแต่ข้างในดิบๆ และดื่มนมเปรี้ยว เพิ่มความแข็งแรง จะใช้วัว
ควายเป็นสินสอด มีวัวควายมากถึงจะมีภรรยามาก พอมีลูกมาก ก็มาเป็นกาลังทางาน หากลูกสาวโตขึ้นก็จะได้สินสอดคือวัว
ควายเพิ่มขึ้นอีก
เผ่าโฮซ่า นับถือบูชาผีสางเทวดา และเชื่อว่า หมอผี เป็นผู้ติดต่อกับวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ ที่บันดาล สุขทุกข์ให้ทุกคนได้ นม
จะถูกปล่อยไว้ในขวดน้าเต้าให้เป็นนมเปรี้ยว ไว้สาหรับผู้ใหญ่เท่านั้น เด็กๆจะได้ทานนมสด เนยใส และเนยเหลวแทน
นอกจากผู้ชาย หญิงที่แต่งงานแล้วเท่านั้นจึงจะได้รับอนุญาตให้สูบยาเส้นได้ ใช้วัวควาย เพื่อบรรทุกสัมภาระ แข่งขัน เป็น
สินสอด ส่วนการทาไร่นาจะใช้จอบหรือเสียมแทนแรงงานสัตว์ ผู้หญิงจะไม่อนุญาตให้จับต้องฝูงวัวควาย มูลสัตว์ไม่ได้ทาปุ๋ ย
แต่นามาเป็นเชื้อเพลิง และปูพื้นกระท่อม เป็นต้น
การลงทุน
เศรษฐกิจส่วนใหญ่เน้นไปที่การลงทุน เป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่และ
มั่นคงที่สุดในทวีปแอฟริกาและเป็นประเทศผู้ส่งออก โดยเฉพาะเหล็ก ถ่านหิน และอัญมณี
รายใหญ่ของโลก
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เหมาะกับการค้าการลงทุนโดยมีพรมแดนติดกับหลาย
ประเทศ ล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดียทางทิศตะวันออก และมหาสมุทรแอตแลนติกทาง
ทิศตะวันตก และมีภาคการเรียน ธนาคาร อุตสาหกรรมผลิตที่แข็งแกร่ง มีอุตสาหกรรมแร่
ธาตุ การท่องเที่ยว และการเกษรเป็นรายได้หลักของประเทศนอกจากนี้ ยังเป็นผู้ค้าอันดับ 1
ของประเทศไทยอีกด้วย สินค้าที่สาหรับการลงทัน คือ รถยนต์ อะไหล่รถยนต์ ข้าว จาน
ดาวเทียม และอาหารแปรรูป
สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์
(Arab Republic of Egypt)
1. ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือ ติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับ รัฐอิสราเอล ทิศตะวันออก ติดทะเลแดง ทิศใต้ติดกับสาธารณรัฐ ซูดาน และทิศตะวันตก ติดกับลิเบีย
พื้นที่ : 1,001,450 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงไคโร (Cairo)
ประชากร : 84 ล้านคน
ภูมิอากาศ : อากาศร้อนและแห้งแล้ง มีฝนตกน้อยมาก ฤดูร้อนมีอุณหภูมิ โดยเฉลี่ย 27 – 32 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมี
อุณหภูมิเฉลี่ย 21 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ และภาษาต่างประเทศที่ใช้ทั่วไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส
ศาสนา : อิสลาม (สุหนี่) ร้อยละ 90 คริสเตียนคอปติก และอื่น ๆ ร้อยละ 10
ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขมีวาระคราวละ 4 ปี และมี นายกรัฐมนตรีซึ่งแต่งตั้งโดย
ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้ารัฐบาล
สกุลเงิน : ปอนด์อียิปต์ (Egyptian Pound-EGP)
อุตสาหกรรมหลัก : สิ่งทอ การแปรรูปอาหาร การท่องเที่ยว เคมีภัณฑ์ น้ามัน ก๊าซธรรมชาติและปิโตรเคมี การก่อสร้าง ซีเมนต์
โลหะ
สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ อาหารแปรรูป เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากไม้ เชื่อเพลิง
สินค้าส่งออกที่สาคัญ : น้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ฝ้าย สิ่งทอ เหล็กและเคมีภัณฑ์
ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : สหรัฐอเมริกา จีน อิตาลี เยอรมนี ซาอุดีฯ
2. การเมืองและการปกครอง
ปัจจุบัน อียิปต์ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรีเป็น
หัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
ดารงตาแหน่งในวาระละ 4 ปี ติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ ประธานาธิบดีแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเพื่อทาหน้าที่บริหารประเทศ
รัฐสภาประกอบด้วย สภาประชาชน (People’s Assembly) ซึ่งเทียบเท่าสภาผู้แทนราษฎร
เมื่อปี ๒๕๕๔ อียิปต์ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสาคัญ โดยเกิดการชุมนุมประท้วงของประชาชนเพื่อเรียกร้องให้
นายฮอสนี มูบารัค (Hosni Mubarak) อดีตประธานาธิบดีซึ่งอยู่ในอานาจ มากว่า ๓๐ ปี ลงจากตาแหน่ง การชุมนุมเริ่มต้นตั้งแต่
วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๔ และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ โดยนายมูบารัค ได้ลาออกจากตาแหน่งประธานาธิบดี
และโอนอานาจการบริหารราชการแผ่นดินชั่วคราวให้สภาสูงสุดแห่งกองทัพอียิปต์ (Supreme Council of the Armed Force)
จากนั้น อียิปต์ได้วางแผนปฏิรูปการเมืองเพื่อนาไปสู่การจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่
3. เศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจ : การเกษตรกรรม การเพาะปลูกของอิยิปต์ต้องพึ่งน้าจากแม่น้าไนล์ เพราะว่าไม่มีฝนช่วงฤดูร้อนน้าจะท่วม 3
เดือน จนเมื่อน้าลดประมาณเดือนพฤศจิกายนหรือต้นเดือนธัวาคมชาวนาก็จะเริ่มไถและหว่านพืช แล้วใช้สัตว์ พวกแกะ หรือ
หมูเหยียบย่าเมล็ดพืชให้จมส่วนการเก็บเกี่ยวก็จะทากันประมาณเดือนมีนาคมหรือเมษายน พืชที่ปลูกก็มีข้าวสาลี ลูกเดือย
หรือผัก ผลไม้ ต้นป่านและฝ้าย ในฤดูแล้งชาวนาจะซ่อมเขื่อน ขุดลอกคลอง ระหว่างฤดูน้าหลาก ชาวนาอาจจะถูกเกณฑ์ไป
ช่วยงานในโครงการต่างๆของฟาโรห์ ชีวิตของชาวนาอียิปต์เมื่อเทียบกับชาวนาของอาณาจักรอื่นในสมัยเดียวกันมีสภาพดีกว่า
การค้าขาย นอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่ากันแล้ว ยังเป็นวิธีการสาคัญในการแลกเปลี่ยนอารยธรรมระหว่าง
ประเทศและเป็นสิ่งที่จะให้การศึกษาของคนยุคโบราณได้
การอุตสาหกรรม ก็มีความสาคัญเท่ากับการค้าขาย ประมาณปี 3,000 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวอียิปต์จานวนมากเป็นช่างฝีมือ
ดีและเป็นศิลปินผู้มีความสามารถ เช่น ช่างทอง ช่างเพชรพลอย คนทอผ้า ช่างทาเครื่องเรือน ช่างต่อเรือ ต่อมามีการสร้าง
โรงงานขึ้น มีการจ้างคนงานมากกว่า 20 คนในโรงงานหนึ่งและอาจมีการแบ่งงานกันทา อุตสาหกรรมชั้นนา คือ อู่ต่อเรือและ
โรงงานทาเครื่องปั้นดินเผา เครื่องแก้วและสิ่งทอ
จากการค้าขายของชาวอียิปต์ที่มีมานานแล้ว จึงทาให้อียิปต์ได้พัฒนาเครื่องมือในธุรกิจต่างๆขึ้น คือชาวอียิปต์รู้จักการทาบัญชี
นอกจากนี้ ยังมีการทาสัญญาสาหรับทาทรัพย์สมบัติ เช่น หนังสือสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรและพินัยกรรม แม้จะยังไม่มี
เหรียญกษาปณ์ใช้ในการแลกเปลี่ยน แต่ชาวอียิปต์ได้ใช้ห่วงทองแดงหรือทองคาตามน้าหนักในการแลกเปลี่ยน ซึ่งนับว่าเป็น
เงินตราที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์อารยธรรมโลก ส่วนชาวนาและชาวบ้านยังคงใช้ระบบสินค้าแลกเปลี่ยนกัน
สังคม : ในอียิปต์แม้จะมีการแบ่งชนชั้น แต่ก็ไม่มีระบบชนชั้นที่ถาวร สังคมอียิปต์แบ่งประชาชนออกเป็น 5 ชนชั้นคือ
1.ราชวงศ์
2.พระ
3.ขุนนาง
4.เสมียน พ่อค้า ช่างฝีมือต่างๆและชาวไร่ชาวนาที่ร่ารวย
5.ชาวนา ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ของสังคม
แต่ในสมัยจักรวรรดิมีทหารอาชีพขึ้นมา เมื่อฟาโรห์มีนโยบายจะขยายอานาจและอาณาเขต และได้เชลยศึกมาเป็นทาสจานวน
มากจากการรบชนะ ทาให้อียิปต์มีชนชั้นเพิ่มอีก 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นที่ 6 ทหารอาชีพ และชนชั้นที่ 7 ทาส
ทหารจะถูกเกณฑ์ไปทางานในเหมืองหินและที่ดินของวัด ต่อมาก็ถูกเกณฑ์เป็นทหารและบ้างก็ไปรับใช้ฟาโรห์ ในอาณาจักรสมัย
เก่า พระและขุนนางมีอานาจมากอยู่ใต้ฟาโรห์ สมัยอาณาจักรกลาง สามัญชนเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเอง พ่อค้าและชาวไร่
ชาวนา ได้รับสิทธิพิเศษจากรัฐบาล การสร้างอาณาจักรมีผลทาให้เกิดขุนนางชนชั้นใหม่ขึ้นคือข้าราชการ
ขุนนางที่ร่ารวยจะอาศัยอยู่ในบ้านตากอากาศที่หรูหราติดกับสวนที่มีกลิ่นดอกไม้ อาหารมีจานวนหลากหลาย เช่น อาหาร
ประเภทเนื้ อ ไก่ ขนมต่างๆ ผลไม้ เหล้าองุ่นแฃะของหวานชนิดต่างๆ ภาชนะที่ใช้ทาด้วยอลาบาสาคอร์ ทองคาและเงินแต่งกาย
ราคาแพงและประดับเพชรพลอยราคาสูง ตรงกันข้ามกัขชีวิตของคนยากจนที่น่าสงสาร บ้านของคนจนในเมืองนั้นจะแออัด
สร้างด้วยโคลน ส่วนชาวนาที่อาศัยในทุ่งนาผืนใหญ่ จะอยู่ในบ้านที่ไม่แออัดเท่าในเมืองแต่มีชีวิตไม่สะดวกสบาย
สถานภาพสตรีของชาวอียิปต์ ห้ามมีสามีภารยาหลายคน แม้แต่ฟาโรห์ซึ่งสามารถมีฮาเร็มที่มีสนมและนางบาเรอจานวนมาก
อาศัยอยู่ แต่ฟาโรห์ก็มีมเหสีองค์เดียว สตรอียิปต์ยังไม่ตกอยู่ใต้อานาจของชายทั้งหมดทีเดียว ภรรยาจะไม่ถูกแบ่งแยกแต่สตรี
สามารถมีกรรมสิทธิ์รับมรดกและประกอบธุรกิจได้
4. วัฒนธรรม
ในอดีตชาวอียิปต์นับถือเทพเจ้าและมีกษัตริย์ที่เรียกว่าฟาโรห์ และในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย พระเจ้าอโศกได้
ทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับอียิปต์และได้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในเขตเมืองอเล็กซานเดรีย (ดูเพิ่มได้ใน พุทธศาสนาใน
ประเทศอียิปต์) แต่ในปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ 94% นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ อีก 6% นับถือศาสนาคริสต์นิกาย
คอปติก ดินแดนของอียิปต์ที่เป็นศาสนาซึ่งนับถือหลายพระผู้เป็นเจ้า, ความเชื่อในพระเจ้าหลาย เทพแต่ละคนมีของตัวเอง
การลงทุน
ประเทศอาหรับอียิปต์มีอุตสาหกรรม การเกษตร เป็นหลัก ผลผลิตทางการเกสร
จัดได้ว่าสมบูรณ์แบบ ไม่ว่าจะเป็น ฝ้าย ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ถั่ว ผลไม้ ผัก ปศุสัตว์ ควาย
แกะ แพะ และมีสินค้าส่งออกได้แก่ น้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ผักและผลไม้ ฝ้าย
สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ อาหารแปรรูป เป็นต้น
สรุปการลงทุนสินค้า
สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เหมาะสาหรับการลงทุน เพราะว่ามีลากฐานเศรษฐกิจ
ที่มั่นคงและแข็งแรง พร้อมที่จะเติมโตอยู่ตลอดเวลา ผู้คน และวัฒนธรรมก็ดี และประเทศ
ไทยกับอียิปต์ก็เป็นคู่ค้าสาคัญมากเช่นกัน คนไทยส่วนมากก็อาศัยและค้าขายอยู่ที่อียิปต์
ด้วยเช่นกัน สินค้าที่เหมาะสาหรับการลงทุน ได้แก่อาหารทะเลกระป๋ องและแปรรูป รถยนต์
อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนต์ ผลิตภัณฑ์ยาง ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ เม็ด
พลาสติก เครื่องซักผ้าและ เครื่องซักแห้ง ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ ยางพารา
สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย
(Federal Republic of Nigeria)
1. ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง : ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตกของ ทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับไนเจอร์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับชาด ทิศตะวันออกติดกับ
แคเมอรูน ทิศตะวันตกติดกับเบนิน ทิศใต้ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกบริเวณอ่าวกินี มีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 853 กิโลเมตร
พื้นที่ : 923,773 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงอาบูจา (Abuja)
ประชากร : 181.5 ล้านคน (ประมาณการปี 2558)
ภูมิอากาศ : อากาศร้อนชื้น มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนและฤดูฝน ภาคใต้ฝนตกชุกเป็นระยะเวลานาน ภาคเหนืออากาศค่อนข้าง
ร้อนและแห้งเกือบตลอดปี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - มีนาคม จะมีฝุ่นละอองพัดมาจากทะเลทรายซาฮาราปกคลุมทั่วท้องฟ้า
เรียกว่า ฮามาตัน
ภาษา : ภาษาอังกฤษ
ศาสนา : อิสลาม ร้อยละ 50 (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือ) คริสต์ ร้อยละ 40 (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้) ความเชื่อดั้งเดิม
ร้อยละ 10
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ระบบ 2 สภา โดยมีประธานาธิบดี ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง เป็นประมุข
แห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ดารงตาแหน่งวาระละ 4 ปี จากัดไม่เกิน 2 วาระ
สกุลเงิน : ไนรา (Naira) หน่วยย่อยคือ โกโบ (1 ไนรา = 100 โกโบ) 1 บาท = 4.94 ไนรา (ข้อมูลวันที่ 13 ธันวาคม 2556)
อุตสาหกรรมหลัก : น้ามันดิบ ถ่านหิน ดีบุก แร่โคลัมไบต์ ผลิตภัณฑ์ยางพารา ไม้ เขาสัตว์และหนังสัตว์ ซีเมนต์และอุปกรณ์
ก่อสร้างอื่น ๆ อาหาร รองเท้า เคมีภัณฑ์ ปุ๋ ย สิ่งพิมพ์เซรามิก เหล็ก
สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ อุปกรณ์ขนส่ง สินค้าอุตสาหกรรม อาหาร และปศุสัตว์
สินค้าส่งออกที่สาคัญ : ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โกโก้ ยางพารา
ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : จีน สหรัฐฯ อินเดีย เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ส่งออกไปยัง อินเดีย เนเธอร์แลนด์ บราซิล สเปน ฝรั่งเศส
2. การเมืองและการปกครอง
ไนจีเรียมีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธ์สาธารณรัฐ โดยแบ่งโครงสร้างการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่
1) ฝ่ายบริหาร แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับสหพันธ์ ระดับรัฐและระดับท้องถิ่น ประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ดารง
ตาแหน่งประมุขแห่งรัฐและผู้นารัฐบาล คราวละ 4 ปี จากัดไม่เกิน 2 สมัย โดยมีคณะรัฐมนตรี (Federal Executive Council) เป็น
ผู้บริหาร
2) ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบ 2 สภา คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง และอยู่ในตาแหน่ง
คราวละ 4 ปี วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิก 109 คน จากรัฐต่าง ๆ 36 รัฐ รัฐละ 3 คน และอีก 1 คน จากเขตเมืองหลวงกรุงอาบูจา
(Abuja Federal Capital Territory) สภาผู้แทนราษฎรมีสมาชิกจานวน 360 คน การเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดมีขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน
2554 และ
3) ฝ่ายตุลาการ ได้แก่ ศาลสูง ศาลอุทธรณ์กลาง และมีศาลกฎหมายอิสลามในรัฐทางตอนเหนือของประเทศ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่
นับถือศาสนาอิสลาม
- นโยบายของรัฐบาลไนจีเรียชุดปัจจุบันให้ความสาคัญในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่
(1) ความต่อเนื่องของการดาเนินนโยบายของรัฐบาล โดยรัฐบาลยังคงให้ความสาคัญกับธรรมาภิบาล
ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม การเสริมสร้างสถาบันประชาธิปไตยและการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น
ตลอดจนบทบาทในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมถึงการต่อต้านการก่อ
การร้ายและการรับมือกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
(2) การยึดมั่นในอุดมการณ์ประชาธิปไตยและการจัดตั้งรัฐบาลตามครรลองรัฐธรรมนูญ
(3) การส่งเสริมบทบาทไนจีเรียในเวทีระหว่างประเทศเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงโลก
(4) การปฏิรูปและพัฒนาประเทศเพื่อส่งเสริมและตอบสนองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการปฏิรูป
ระบบการเลือกตั้ง ระบบธนาคาร การพัฒนาระบบบริหารจัดการอุตสาหกรรมน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และพลังงาน
ไฟฟ้า
(5) การสร้างโอกาสสาหรับการค้าและการลงทุนทั้งจากภายในประเทศและนอกประเทศ และ
(6) การปรับปรุงนโยบายและวาระแห่งชาติให้สอดคล้องกับการส่งเสริมผลประโยชน์แห่งชาติมากยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึง
การสร้างหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา และการรักษาสันติภาพและเสถียรภาพความมั่นคงทั้งใน
ระดับประเทศ อนุภูมิภาคและภูมิภาคแอฟริกาโดยรวม
3. เศรษฐกิจและสังคม
ไนจีเรียเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ในด้านทรัพยากรน้ามันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเริ่มการสารวจและขุดเจาะน้ามันมา
ตั้งแต่ทศวรรษที่ 70 ปัจจุบัน ไนจีเรียเป็นประเทศผู้ผลิตน้ามันดิบรายใหญ่ที่สุดในภูมิภาคแอฟริกา และติดอันดับ 11 ประเทศ
ผู้ผลิตน้ามันดิบของโลก อย่างไรก็ตาม ภาวะความขัดแย้งและเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ รวมทั้งการฉ้อราษฎร์บัง
หลวง ยังคงเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไนจีเรียให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนของบริษัทต่างประเทศ ที่
ผ่านมา ไนจีเรียเคยประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและจาเป็นต้องขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
(IMF) และกลุ่ม Paris Club ในปี 2543
ตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา อดีตประธานาธิบดี Obasanjo ได้ดาเนินแผนปฏิรูปเศรษฐกิจตามยุทธศาสตร์ National Economic
Empowerment and Development Strategy (NEEDS) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแก้ปัญหาความยากจน และพัฒนาประเทศ
อย่างอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้น (1) การปฏิรูปองค์กรภาครัฐทั้งในด้านโครงสร้าง นโยบายและยุทธศาสตร์ (2) การแปรรูป
รัฐวิสาหกิจเพื่อส่งเสริมระบบการค้าเสรีที่มีความโปร่งใส โดยคานึงถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้วย (3) การสร้างแหล่งรายได้อื่นนอกจากน้ามัน (4) การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ (5) การรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจกับประชาคมเศรษฐกิจแห่งรัฐแอฟริกาตะวันตก (Economic Community of West African States - ECOWAS) อนึ่ง
แม้ว่านาย Obasanjo จะพ้นวาระไปแล้ว นายโจนาธาน ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ก็ได้รับยุทธศาสตร์ NEEDS มาดาเนินการ
ต่อ
ไนจีเรียนาเข้าสินค้าอุตสาหกรรม เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ และอาหาร โดยส่วนใหญ่นาเข้าจากจีน สหรัฐอเมริกา
บราซิล และยุโรป ไนจีเรียส่งออกน้ามันและปิโตรเคมีภัณฑ์เป็นหลัก โดยมีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 79 ของการส่งออก
ทั้งหมด สินค้าส่งออกอื่น ๆ ได้แก่ โกโก้ และยางดิบ โดยส่วนใหญ่ส่งออกไปอเมริกา บราซิล และสเปน
เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ Niger Delta ที่ทวีความรุนแรงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา เป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจในไนจีเรีย โดยเฉพาะต่อภาคพลังงาน ซึ่งเป็นภาคเศรษฐกิจที่สาคัญที่สุดของประเทศ โดยองค์กรภาครัฐที่
รับผิดชอบด้านการปิโตรเลียม หรือ Nigerian National Petroleum Corporation (NNPC) ได้เปิดเผยว่า โรงกลั่น
น้ามันกาลังประสบปัญหาขาดแคลนน้ามันดิบ เนื่องจากฐานขุดเจาะน้ามันและท่อลาเลียงขนส่งน้ามันดิบจานวนมาก
ในพื้นที่ Niger Delta ได้ถูกโจมตีโดยกลุ่มกองกาลังติดอาวุธและจาเป็นต้องปิดตัวลง ทั้งนี้ ปริมาณการผลิตน้ามันของ
ไนจีเรียลดลงเหลือ 1.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากที่เคยผลิตได้ 2.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน และทาให้รายได้จากการ
ส่งออกน้ามันของไนจีเรียลดลงอย่างมาก ปัจจุบัน ทางการไนจีเรียกาลังเร่งพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพื่อดึง
รายได้มาทดแทนรายได้จากการค้าน้ามันกับต่างประเทศที่สูญเสียไป
สังคม : ไนจีเรียเป็นประเทศที่ประกอบด้วยประชากรหลายเผ่าพันธุ์ กล่าวกันว่ามีประมาณ 250 เผ่าพันธุ์ แต่ในจานวนนี้ ชน
เผ่าเฮาซาและโยรุบามีมากที่สุดประมาณร้อยละ 21 เผ่าอิกโบ/อิโบร้อยละ 18 เผ่าฟุรานี ร้อยละ 11 และเผ่าอิบิบิโอร้อยละ 5
ที่เหลือเป็นเผ่าเล็กเผ่าน้อยอีกประมาณร้อยละ 23 การที่บ้านเมืองประกอบด้วยหลายเผ่าหลากวัฒนธรรมจึงยากที่จะชี้ชัดลง
ไปว่าอาหารอะไรเพียงอย่างเดียวเป็นอาหารประจาชาติ เพราะต่างถิ่นต่างก็มีอาหารจานโปรดของตนเองขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม
ประเพณีและศาสนา นอกจากนั้นสาหรับชาวบ้านร้านถิ่นธรรมดาๆแล้ว ความแตกต่างยังขึ้นอยู่กับฤดูกาลอีกด้วย ขึ้นอยู่กับว่า
เป็นฤดูที่อดอยากคือช่วงก่อนฝนจะมาในเดือนมีนาคม หรือช่วงฤดูอิ่มท้องคือหลังการเก็บเกี่ยวพืชผลเดือนตุลาคมและ
พฤศจิกายนแล้ว แต่ไนจีเรียเป็นประเทศที่มีผลไม้ทานตลอดปีเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อนซึ่งสามารถปลูกผลไม้ได้
หลากหลายชนิด ผลไม้ที่เป็นที่นิยมทั่วไปได้แก่ส้ม แตงเมลอน เกรพฟรุท มะนาว มะม่วง กล้วยและสับปะรด
ชาวในจีเรียทางภาคเหนือ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมุสลิมและไม่ทานเนื้ อหมูจะทานอาหารประเภทถั่วข้าวฟ่าง และข้าวกล้อง ชนเผ่าเฮา
ซ่าในภาคเหนือชอบทานเนื้ อ และชาวมุสลิมที่นี่ทั่วไปนิยมดื่มชาจึงทหให้ร้านกาแฟเป็นสถานที่พบปะของคนแถบนี้ ส่วนชาว
ไนจีเรียทางภาคตะวันออกนั้นส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าอิกโบ/อิโบนิยมทานการีหรือเกี๊ยวทาจากแป้งมันสาปะหลัง ฟักทอง และแยม
ชาวไนจีเรียที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่วรอบอ่าวกินีนิยมทานสตูอาหารทะเล (ปลา กุ้ง ปูและล็อบสเตอร์) แยม ข้าว
และผักชนิดต่างๆ ปลานับเป็นอาหารสาคัญของชาวไนจีเรียเนื่องจากเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูกที่หาง่าย อาหารปลา
จานเด็ดของชาวไนจีเรียคือปลาหมักทอด โดยหมักเนื้ อปลาด้วยขิง มะเขือเทศ และพริกไทยก่อนแล้วนาไปทอดใน
น้ามันถั่วลิสง
ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเมืองนิยมทานอาหารจากซ้อบบาร์(บาร์ขายอาหาร) แผงข้างถนน รถเข็น(ซึ่งคนขายจะเข็นรถ
ไปตะโกนไปด้วยว่าขายอะไร)
แต่ที่ต้องบอกคือชาวไนจีเรียนิยมทานอาหารเผ็ดทาอาหารอะไรเป็นใส่พริกไทยกับพริกยืนพื้นไว้
การลงทุน
เศรษฐกิจของไนจีเรียซึ่งเป็นประเทศที่ร่ารวยด้วยน้ามัน ได้รับผลกระทบเป็น
เวลายาวนานจากความไร้เสถียรภาพทางด้านการเมือง แต่การจัดการระบบ
เศรษฐกิจโดยส่วนรวมที่ไม่มีประสิทธิภาพภาคการ ส่วนการเกษตรก็เติบโตไม่ทันกับ
จานวนประชากรซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้ไนจีเรียซึ่งเคยเป็นประเทศผู้ส่งออก
อาหารรายใหญ่จะต้องนาเข้าอาหารเอง
สรุปการลงทุนสินค้า
ประเทศไนจีเรียไม่เหมาะสาหรับการทุนเพราะว่า ประเทศกาลังปฏิรูป
ระบบเศรษฐกิจใหม่ภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลพลเรือนชุดใหม่ ผู้นารัฐบาล
ทหารชุดก่อน ๆ ประสบความล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจจากการที่ต้อง
พึ่งพาแต่ภาคน้ามัน
สาธารณรัฐกานาสาธารณรัฐกานา
(Republic of Ghana)
1. ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง : ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศเหนือติดกับบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับโตโก ทิศตะวันตกติดกับโกตดิวัวร์ ทิศใต้ติด
กับมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณอ่าวกินี ชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 539 กิโลเมตร
พื้นที่ : 238,537 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงอักกรา (Accra)
ประชากร : 26.3 ล้านคน
ภูมิอากาศ : ภูมิอากาศร้อนชื้น บริเวณชายฝั่งทะเลมีอากาศอบอุ่นและแห้ง ภาคเหนือมีอากาศร้อนและแห้ง ภาคตะวันตกเฉียง
ใต้มีอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิปกติประมาณ 21-30 องศาเซลเซียส มีฤดูฝนปีละ 2 ช่วง คือ ช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม และ
กันยายน-ตุลาคม อากาศร้อนที่สุดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง 35 องศาเซลเซียส
ภาษา : ภาษาอังกฤษ
ศาสนา : คริสต์ 68.8% อิสลาม 15.9% ความเชื่อดั้งเดิม 8.5% อื่นๆ 0.7% ไม่นับถือศาสนาใดๆ 6.1%
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้

More Related Content

What's hot

การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตพัน พัน
 
เฉลยPat3ตค53.pdf
เฉลยPat3ตค53.pdfเฉลยPat3ตค53.pdf
เฉลยPat3ตค53.pdfThanuphong Ngoapm
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อSAM RANGSAM
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์Kam Nimpunyagampong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 

What's hot (20)

การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
เฉลยPat3ตค53.pdf
เฉลยPat3ตค53.pdfเฉลยPat3ตค53.pdf
เฉลยPat3ตค53.pdf
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 

Viewers also liked

ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddNunoiy Siriporn Sena
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกาWararit Wongrat
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาpasinee lungprasert
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียDe'Icejoong Ice
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 

Viewers also liked (9)

ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDddd
 
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกา
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
 
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
ลักษณะทางเศรษฐกิจลักษณะทางเศรษฐกิจ
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกา
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 

Similar to กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้

งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2sudchaleom
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้Krittamat
 

Similar to กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้ (20)

ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
 
South america
South americaSouth america
South america
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
North america
North americaNorth america
North america
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 

กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้

  • 2. 1. ที่ตั้งและอาณาเขต ทวีปแอฟริกาตั้งอยู่ระหว่างประมาณละติจูด 37 องศาเหนือ ถึง 34 องศาใต้ ลองจิจูด 51 องศาตะวันออกถึง 17 องศาตะวันตก โดยมีเส้นศูนย์สูตรผ่านกลาง ทวีป ทาให้ครึ่งหนึ่งของทวีปแอฟริกาอยู่ทางซีกโลกเหนือและอีกครึ่งหนึ่งอยู่ทาง ซีกโลกใต้ อาณาเขต ทิศเหนือ : ติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีช่องแคบยิบรอลตาร์ เป็นทางออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติก คลองสุเอชและทะเลแดงเป็นทางออกสู่ สมุทรอินเดีย พื้นที่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคเหนือของทวีปแอฟริกา เรียกว่า บาร์บารี (Barbary) ทิศตะวันออก : ติดต่อกับทะเลแดง อ่าวเอเดน และมหาสมุทรอินเดีย เกาะใน มหาสมุทรอินเดีย ได้แก่ เกาะมาดากัสการ์ ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ลาดับ 4 ของโลกรอง จากเกาะกรีนแลนด์ เกาะนิวกินี และเกาะบอร์เนียว โดยมีช่องแคบโมซัมบิก คั่น กับตัวทวีป เกาะอื่นๆ ได้แก่ หมู่เกาะมอริเชียส เกาะเซเชลส์ และเกาะคอโมโรส ทิศใต้ : ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันตก : ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีอ่าวกินีเป็นอ่าวที่ใหญ่ตอนกลางทวีป เกาะสาคัญ ได้แก่ หมู่เกาะเคปเวิร์ด หมู่เกาะคานารี และหมู่เกาะมาเดียรา
  • 3. 2. เนื้อที่และภูมิภาค ทวีปแอฟริกามีเนื้ อที่ประมาณ 30,015,147 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย และใหญ่กว่าทวีปยุโรปถึง 3 เท่า ความยาววัดจากเหนือสุดไปใต้สุดได้ประมาณ 8,000 กิโลเมตร ส่วนความกว้างวัดจาก ตะวันออกไปตะวันตกได้ประมาณ 7,500 กิโลเมตร ภูมิภาคของทวีปแอฟริกาประกอบด้วย ประเทศเอกราชและดินแดนต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แบ่ง ได้เป็น 5 ภูมิภาค คือ
  • 4. ทวีปแอฟริกาสามารถแบ่งได ้ 5 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ดังนี้
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. 3. ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่ไม่ค่อยมีคาบสมุทร อ่าวและทะเล เนื้ อที่ประมาณ 2 ใน 3 ของทวีปเป็นที่ราบสูง ส่วนลักษณะพื้นที่เป็น ที่ราบมีอยู่น้อยมาก ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ดินแดนบริเวณชายขอบของทวีปเท่านั้น ลักษณะภูมิประเทศแบ่งออกเป็น 4 เขต 1. เขตที่ราบสูงและเทือกเขาทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ เขตที่ราบสูงและเทือกเขานี้ อยู่ในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรียและ ตูนิเซีย คือ เทือกเขาแอตลาส มียอดเขาสูงสุด ชื่อว่า ยอดเขาทูบคาล (4,167 เมตร) อยู่ในเขตประเทศโมร็อกโก ในเขตเทือกเขา แอตลาสประกอบด้วยเทือกเขาต่างๆ คือ - เทือกเขาแกรนด์แอตลาสในประเทศโมร็อกโกเป็นแกน - เทือกเขาแอนดิแอตลาสเป็นแนวขนานทางตอนใต้ - เทือกเขาสะฮาราแอตลาสอยู่ทางใต้สุด - เทือกเขาเทลล์แอตลาสเป็นแนวขนานด้านนอกบริเวณชายฝั่งในเขตประเทศโมร็อกโก ประเทศแอลจีเรียและประเทศตูนิเซีย (แนวเทือกเขาแอตลาสในโมรอกโค)
  • 9. 2.เขตที่ราบลุ่มแม่น้า แอฟริกามีที่ราบลุ่มแม่น้าขนาดใหญ่ 4 เขต คือ 1) ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าที่มีบริเวณแคบๆอยู่ในเขตประเทศซูดานและอียิปต์ แม่น้าไนล์เป็นแม่น้าในเขต ที่ราบสูง มีความยาวที่สุดในแอฟริกา และยาวที่สุดในโลก คือ 6,695 กิโลเมตร เกิดจากที่สูงและภูเขาทางตะวันออกของ ทวีป ไหลผ่านที่ราบสูงและทะเลทรายสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางเหนือ 2) ที่ราบลุ่มแม่น้าไนเจอร์ อยู่ในเขตประเทศมาลี ไนเจอร์ และไนจีเรีย แม่น้าไนเจอร์เกิดจากภูเขาและที่สูงทางตะวันตก เป็นแม่น้าที่ไหลผ่านที่ราบ ลุ่มอันกว้างขวาง บางตอนมีลักษณะเป็นที่ราบต่า มีน้าแช่ขังเป็นที่ชื้นแฉะ ใช้เพาะปลูกไม่ได้ (แม่น้าไนเจอร์) 3) ที่ราบลุ่มแม่น้าคองโก อยู่ทางตอนกลางทวีปในเขตประเทศคองโก และซาอีร์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ากว้างขวางมากรอง จากที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอนใน ทวีปอเมริกาใต้ แม่น้าคองโกมีต้นกาเนิดจากเทือกเขาด้านตะวันออกและที่ราบสูง ภาคเหนือ ไหลผ่านทะเลสาบ ที่ลุ่ม ที่ราบสูงหลายแห่ง จึงมีเกาะแก่งและน้าตกมากมาย 4) ที่ราบลุ่มแม่น้าแซมเบซี อยู่ในเขตประเทศแองโกลาและแซมเบีย บอตาสวานา ซิมบับเว เป็นแม่น้าทางภาคใต้มีความ ยาวเป็นลาดับที่ 4 ของทวีป ไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่ประเทศโมซัมบิก เป็นแม่น้าที่ไหลผ่านที่ราบสูงและไหลเชี่ยวมาก ที่ราบลุ่มแม่น้านี้ จึงมีเป็นบริเวณแคบๆ
  • 10. 3. เขตที่ราบสูงและภูเขาสูง เป็นเขตที่สูงมีอยู่ 2 บริเวณ คือ 1) เขตที่ราบสูงและภูเขาทางภาคตะวันออก เป็นเขตที่มีความสูงมาก ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบสูงเอธิโอเปีย และที่ราบสูงแอฟริกาตะวันออก นอกจากนี้ ยังอุดมด้วยภูเขาไฟทั้งที่ยังคุกรุ่นอยู่และดับแล้ว ในเขตนี้ มีภูเขาที่มียอดสูงเกินกว่า 3,000 เมตรหลายยอด เช่น ยอดเขาคิลิมานจาโร เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในแอฟริกา อยู่ในเขตประเทศแทนซาเนีย (5,870 เมตร) เขตที่สูงทางภาคตะวันออกนี้ มีทะเลสาบกระจัดกระจายอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ทะเลสาบวิกตอเรีย (เป็นทะเลสาบน้าจืดที่ใหญ่ เป็นลาดับที่ 2 ของโลก รองจากทะเลสาบสุพีเรีย ทะเลสาบแทนแกนยิกา เป็นทะเลสาบที่มีน้าลึกมากเป็นอันดับ 2 ของโลก (1,470 ม.) ฯลฯ 2) เขตภูเขาและที่ราบสูงภาคใต้ ประกอบด้วยที่ราบสูงกว้างเกือบ 1,300 กิโลเมตร จากทางตะวันตกถึงตะวันออก เป็นที่ราบสูง หินแกรนิตอยู่ระหว่างแม่น้าวาลและแม่น้าลิมโปโป เรียกว่า เดอะแรนด์ (The Rand) หรือ วิตวอเตอร์สแรนด์ (Witwatersrand) เป็นแหล่งผลิตแร่ทองคาที่สาคัญของโลก ส่วนบริเวณที่สูงที่สุดอยู่ทางตะวันออก เป็นเทือกเขาดราเกนสเบิร์ก ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของ แม่น้าหลายสาย ทางตอนในของเขตนี้ มีลักษณะเป็นแอ่งรูปจานและทางตะวันตกเป็นเขตแห้งแล้งเป็น ทะเลทราย ได้แก่ ทะเลทราย คาลาฮารีและทะเลทรายนามิบ (ทะเลทรายนามิบที่ติดกับทะเลในนามิเบีย และทะเลทรายคาลาฮารีในบอตสวานา)
  • 11. 4. เขตที่ราบสูงภาคตะวันตก เป็นที่ราบกว้างใหญ่มีอาณาเขตตั้งแต่ทะเลทรายสะฮาราถึงอ่าวกินี เขตนี้ เป็นที่ราบสูงหินเก่า โดยมีพื้นที่ผิวปกคลุมด้วยหิน กรวด ปูน ทราย และดินตะกอน ภูเขาที่สาคัญในเขตนี้ ได้แก่ ภูเขาอะฮักการ์ทางตอนใต้ของ ประเทศแอลจีเรีย ภูเขาทีเบสต์ในประเทศชาด ซึ่งเป็นสภาพภูมิประเทศที่มีส่วนช่วยให้เกิดฝนตกในเขตทะเลทราย ทางใต้ ของเขตนี้ มีที่ราบสูงหลายแห่ง เช่น ที่ราบสูงกินี ที่ราบสูงจอส ที่ราบสูงแคเมอรูน เป็นต้น (ทะเลทรายสะฮารา)
  • 12. 4. เขตภูมิอากาศ เขตภูมิอากาศของแอฟริกาแบ่งออกเป็น 6 เขต 1. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น (Tropical Rainforest Climate) ได้แก่ บริเวณชายฝั่งรอบอ่าวกินี ลุ่มแม่น้าคองโก เขตที่สูงในแอฟริกา ตะวันออก และฝั่งตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์ 2. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Savanna Climate) ได้แก่ บริเวณตอนเหนือและตอนใต้ของแนวศูนย์สูตร ซึ่งอยู่รอบๆเขตป่า ดิบชื้น 3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย (Desert Climate) ได้แก่ บริเวณตอนเหนือของทวีป มีทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลิเบีย ซึ่งมี อาณาเขตต่อเนื่องกัน มีเนื้ อที่ประมาณ 9 ล้านตารางกิโลเมตร หรือประมาณร้อยละ 30 ของเนื้ อที่ทั้งทวีป และเป็นเขต ทะเลทรายที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก ส่วนทางตอนใต้มีทะเลทรายคาลาฮารี และทะเลทรายนามิบ 4. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย (Steppe Climate) ได้แก่ บริเวณตอนกลางของทวีปและตอนใต้ของเส้นศูนย์สูตรระหว่าง ละติจูด 10-30 องศาใต้ ด้านชายฝั่งตะวันตกของทวีป 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Climate) ได้แก่ คาบสมุทรภาคใต้ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ 6. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (Humid Subttropical Climate) พบในบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และภาคใต้ของประเทศโมซัมบิก
  • 13. 5. ลักษณะทางวัฒนธรรม ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาซึ่งคือบริเวณประเทศอียิปต์ในปัจจุบัน เป็นแหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของ โลก เริ่มต้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีมาแล้ว ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ สิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมของชาวอียิปต์โบราณ ได้แก่ การชลประทาน ที่สามารถนาน้าจากแม่น้าไนล์มาใช้ในการเกษตร ทาให้สามารถเพระปลูกได้ปีละ2-3 ครั้ง การสร้าง พีระมิด เป็นที่เก็บศพของนักปกครองและนักรบ การทามัมมี่ ซึ่งสามารถเก็บรักษาศพมนุษย์ได้เป็นพันๆ ปี โดยไม่เน่าเปื่อย การสร้างสฟิงซ์ โดยแกะสลักหินเป็นรูปสิงโตหมอบมีหน้าเป็นคน แพะ และเหยี่ยวไว้เป็นสิ่งเคารพ การทาปฏิทิน โดยกาหนดให้ มีปีละ 365 วัน และเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน การเขียน ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นเรื่องราวต่างๆ ไว้ที่ฝาผนัง ที่ฝั่งศพ การเขียนสัญลักษณ์และรูปภาพแทนคาพูด ที่เรียกว่า อักษรไฮโรกลีฟิก การทากระดาษ จากต้นพาไพรัส ซึ่งเป็นต้นกก ชนิดหนึ่งในเขตลุ่มน้าไนล์ ต่อมาประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 12 พวกอาหรับซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้ขยายอานาจจากเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และนา อารยธรรมมุสลิมเข้าสู่ทวีปแอฟริกาหลายอย่าง เช่น ศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับ สภาพความเป็นอยู่และการดาเนินชีวิต เป็น ต้น ประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 22 วาสโก ดากามา (Vasco da Gama) ชาวโปรตุเกส ได้เกิดเรืออ้อมแหลมกู๊ดโฮปเข้าสู่ แอฟริกาตะวันออก และนับตั้งแต่นั้นมาการสารวจทวีปแอฟริกาของชาวยุโรปก็ได้เริ่มขึ้นและชาว ยุโรปได้ขยายอิทธิพลของตน เข้ายึดครองดินแดนต่างๆ ไว้เป็นอาณานิคม กระทั่งถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกาจึงได้รับเอก ราชให้ปกครองตนเอง
  • 14. 6. ประชากร ประชากร ประกอบด้วยเชื้อชาติ จาแนกออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ พวกผิวดา เป็นเผ่าพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมของทวีปแอฟริกา เรียกว่า นิกรอยด์ และเป็นประชากรส่วนใหญ่ของทวีปนี้ มีลักษณะเด่น ที่ผิวสีดา ผมสีดาและหยิกหยอย นิโกรในแอฟริกามีอยู่หลายกลุ่มและแต่ละกลุ่มมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น กลุ่มบันตู อาศัยอยู่ แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาใต้ เช่น เผ่าวาตูซี มีรูปร่างสูงใหญ่ กลุ่มปิกมี่ มีรูปร่างเตี้ยที่สุด พวกผิวขาว ที่เป็นเผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของแอฟริกา ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของทวีป ได้แก่ พวกอาหรับและเบอร์เบอร์ ส่วนพวกผิว ขาวกลุ่มใหม่ที่อพยพไปจากทวีปยุโรปนิยมตั้งถิ่นฐานในเขตอบอุ่นทางตอนใต้ของทวีป โดยเฉพาะในประเทศสาธารณรัฐ แอฟริกาใต้ มีประมาณ 7 ล้านคน นอกจากนี้ ยังมีพวกผิวขาวจากปากีสถานและอินเดีย ซึ่งอพยพเข้าไปอาศัยอยู่ทางภาค ตะวันออกของทวีป
  • 15. 7. ภาษา ภาษา ในทวีปแอฟริกามีภาษาพูดอยู่ไม่น้อยกว่า 1,000 ภาษา เนื่องจากเป็นทวีปที่มีประชากรอยู่หลายเผ่าพันธุ์ แต่อาจแบ่ง ออกได้เป็น 4 กลุ่ม 1) กลุ่มภาษาเซมิติก ได้แก่ ภาษาอาหรับ เป็นภาษาของคนส่วนใหญ่ในแอฟริกาเหนือ และบางส่วนในแอฟริกาตะวันออก ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกของชาวยุโรปเป็นภาษาของเจ้าอาณานิคมที่เข้ามาปกครอง เป็นภาษที่ใช้กันแพร่หลายเมื่อไม่นานมานี้ ได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ และภาษาดัตช์ 2) กลุ่มภาษาซูดาน เป็นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตทุ่งหญ้าสะวันนาทางตอนใต้ของทะเลทรายสะ ฮารา 3) กลุ่มภาษาบันตู เป็นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคกลางและภาคตะวันออกของทวีป รวมทั้งบาง ประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ด้วย 4) กลุ่มภาษาเฮาซา เป็นกลุ่มภาษาทางการค้าของประชากรทางภาคตะวันตกของทวีป
  • 16. 8. ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกายังมีความเชื่อและปฏิบัติตามความเชื่อนั้นสืบ ต่อกันตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษมาหลายชั่วอายุ คน เช่น เรื่องจิตวิญญาณ อานาจของดวงดาว ภูเขา ต้นไม้ สิ่งมหัศจรรย์ เป็นต้น ส่วนศาสนาที่นับถือกันมาก ได้แก่ ศาสนา คริสต์ มีผู้นับถือมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศาสนาอิสลาม นอกจานี้ ยังมีชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาใหม่นับถือศาสนาฮินดูและ ศาสนายิงก็มี ผู้นับถืออยู่บ้าง 9. การศึกษา แอฟริกาเป็นทวีปที่ยากจนและต้องพัฒนาทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ แม้ความก้าวหน้าในโลกปัจจุบัน จะเป็นเครื่องกระตุ้นให้ ประชากรและรัฐบาลของประเทศต่างๆ ต้องยกระดับและขยายการศึกษาให้ทั่วถึง แต่การขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์และขัด สนทางด้านเศรษฐกิจในเกือบทุกประเทศ ย่อมเป็นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาการศึกษา นั่นคือประเทศที่ยากจน อัตราส่วน การรู้หนังสือของประชากรจะต่า เช่น เอธิโอเปีย มาลี ไนเจอร์ มีผู้อ่านออกเขียนได้เพียงร้อยละ 24,25,28 ตามลาดับ ขณะที่ ประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้และแทนซาเนีย มีสภาพเศรษฐกิจดีกว่าประเทศทั้งสามนี้ มีอัตราส่วนของผู้รู้หนังสือสูงร้อยละ 60 และ 85 เป็นต้น
  • 17. 10. อาชีพ (1.) การเพาะปลูก การเพาะปลูกของทวีปแอฟริกามีผลผลิตแต่ละปีได้ไม่เพียงพอแก่การบริโภคภายใน ทวีป จึงต้องสั่งเข้าจากส่วนอื่น ของโลก ลักษณะการเพาะปลูกมีความแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ คือ - เขตร้อนชื้น ได้แก่ แอฟริกาตะวันตก ลุ่มแม่น้าคองโกและชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกมีอากาศร้อนชื้น เป็นแหล่งเพาะปลูกพืชเมืองร้อน เช่น โกโก้ ปลูกมากที่สุด ประเทศกานาเป็นประเทศที่ส่งเมล็ดโกโก้ออกจาหน่ายมากที่สุดในโลก พืชสาคัญอื่นๆ ได้แก่ เผือก มัน ปาล์ม น้ามัน กาแฟ ถั่วลิสง อ้อย ยางพารา - เขตลุ่มน้าไนล์ มีอากาศร้อนและแห้งแล้งแต่ได้รับน้าจากการชลประทาน พืชสาคัญได้แก่ ฝ้าย ชา อินทผลัมและข้าวฟ่าง - เขตเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ตอนเหนือสุดและใต้สุดของทวีปมีการปลูกพืชผลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น ส้ม องุ่น มะกอก ข้าวสาลี เป็นต้น - เขตอบอุ่นชื้น ได้แก่ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป มีการปลูกข้าวสาลี ข้าวโพด และไม้ผล
  • 18. (2.) การเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพที่พบมากที่สุด เพราะแอฟริกาเป็นทวีปที่มีเขตทุ่งหญ้ากว้างขวาง แต่การเลี้ยงสัตว์ก็ประสบปัญหา สาคัญ คือ ทุ่งหญ้าอันกว้างใหญ่ทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารามีการเลี้ยงสัตว์มากเกินไป เป็นการทาลายทุ่งหญ้าอย่าง รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ส่วนในเขตร้อนทางภาคกลางของทวีปมีแมลงเซตซี (Tsetse fly) ที่เป็นพาหะแพร่เชื้อโรคเหงาหลับ (Sleeping sickness) เข้าสู่สัตว์เลี้ยงจนบางแห่งไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ได้ สัตว์เลี้ยงสาคัญของทวีปแอฟริกา ได้แก่ โคพันธุ์พื้นเมือง โคพันธุ์ ต่างประเทศ อูฐ ลา แพะและแกะ เป็นต้น (3.) การล่าสัตว์ แอฟริกาเป็นทวีปที่สัตว์ป่าชุกชุมและมีมากมายหลายชนิด ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของแอฟริกา เช่น พวกปิกมี่ แถบ ลุ่มแม่น้าคองโก และพวกบุชแมน ในเขตทะเลทรายคาลาฮารี ยังดาเนินชีวิตโดยการล่าสัตว์ป่าเอาไปขาย สินค้าจากป่าแอฟริกาที่ ต่างชาติสนใจ ได้แก่ งาช้าง และนอแรด ต่อมาต่างชาติโดยเฉพาะชาวยุโรปนิยมเดินทางไปล่าสัตว์ในแอฟริกามากขึ้น จึงทาให้ จานวนสัตว์ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันประเทศต่างๆ ในแอฟริกาจึงได้จัดทาเขตรักษาพันธุ์สัตว์แห่งชาติ เช่น ประเทศเคนยา เอธิโอเปีย เป็นต้น และเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติเข้าชมโดยจ่ายเงินค่าธรรมเนียมแก่รัฐบาล ที่รู้จักกันในชื่อ ซาฟารี (Safari) (4.) การประมง การประมงไม่ได้เป็นอาชีพสาคัญของชาวแอฟริกาจะมีบ้าง ได้แก่ การจับปลาเล็กๆ น้อยๆในแม่น้าต่างๆ ส่วน การประมงน้าเค็มมีน้อยมาก แหล่งจับปลาน้าเค็ม ได้แก่ น่านน้าชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้เป็น ประเทศที่จับปลาได้มากที่สุดในแอฟริกา
  • 19. (5.) การทาป่ าไม้ เขตที่มีความสาคัญในการทาป่าไม้ในแอฟริกา คือ บริเวณทางชายฝั่งอ่าวกินี และบริเวณลุ่มแม่น้าคองโก เป็น แหล่งที่มีป่าไม้อยู่มากและอยู่ใกล้ทะเล ซึ่งสามารถขนส่งได้ง่าย กับเขตที่ราบสูงของแอฟริกาตะวันออก (6.) การทาเหมืองแร่ แร่ที่สาคัญของแอฟริกา ได้แก่ เพชร ทองคา ยูเรเนียม ถ่านหิน ใยหิน เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ดีบุก บอกไซต์ และฟอสเฟต (7.) การอุตสาหกรรม แอฟริกาเป็นทวีปที่มีความล้าหลังทางด้านอุตสาหกรรม ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม คือ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ประเทศที่มีผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมทารายได้เข้าประเทศบ้าง ได้แก่ ซิมบับเว สวาซิแลนด์ โมร็อกโก เซเนกัล ส่วนประเทศที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ได้แก่ ตูนิเซีย โมร็อกโก อียิปต์ เคนยา แอลจีเรีย
  • 20. 11. การค้ากับต่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศต่างๆ ในแอฟริกากับภูมิภาคอื่นของโลก ส่วนใหญ่เป็นฝ่ายเสียเปรียบดุลการค้า จะมีประเทศที่ได้เปรียบดุลการค้า บ้างก็เฉพาะประเทศผู้ผลติน้ามันและแก๊ส ธรรมชาติ กับประเทศโกตดิวัวร์และรวันดาเท่านั้น ที่ได้ดุลการค้าในการค้าขายกับต่างประเทศ ลักษณะการค้ากับต่างประเทศ ดังนี้ 1) สินค้าส่งออก ที่สาคัญได้แก่ น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ อาหาร ยาสูบ และวัตถุดิบต่างๆ ตลาดรับซื้อสินค้าจากแอฟริกา ได้แก่ กลุ่ม สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และประเทศต่างๆในยุโรปตะวันออก 2) สินค้านาเข้า ที่สาคัญได้แก่ เครื่องจักรกล ยานยนต์ อุปกรณ์การขนส่งสินค้าจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ แหล่งที่ส่งสินค้าเข้าสู่แอฟริกา ได้แก่ กลุ่มสหภาพยุโรป กลุ่มโอเปค สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
  • 21. 12. การคมนาคม ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่มีความล้าหลังทางการคมนาคมขนส่งมากกว่าทุกทวีป ทั้งเพราะประเทศ ส่วนใหญ่ยากจน ไม่มีเงินทุนเพียง พอที่จะนามาพัฒนาในด้านนี้ และนอกจากนี้ ทวีปแอฟริกายังมีลักษณะภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการ คมนาคมขนส่งด้วย 1) ทางบก แอฟริกามีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างถนนและทางรถไฟ เพราะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง และมีเขตทะเลทราย อันกว้างขวางทางตอนเหนือและตอนใต้ เป็นบริเวณที่ไม่มีค่าทางเศรษฐกิจและแทบไม่มีประชากรอาศัยอยู่ การสร้างเส้นทางคมนาคม ในเขตนี้ จึงไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ส่วนเขตแม่น้าคองโกทางภาคกลางเป็นเขตที่ราบลุ่มที่ปกคลุมด้วยป่าดิบอันกว้าง ขวาง ก็เป็นอุปสรรค ต่อการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่ง ทั้งยังประชากรอาศัยอยู่เบาบางมาก พื้นที่ดังกล่าวจึงแทบไม่มีถนนอยู่เลย 2) ทางน้า เส้นทางคมนาคมทางทะเลมีความสาคัญต่อแอฟริกามาก ทั้งนี้ เพราะแอฟริกาตั้งอยู่ในเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับ ทวีป เอเชีย และทวีปยุโรปกับทวีปออสเตรเลีย หลายประเทศในทวีปนี้ ได้มีการปรับปรุงเมืองท่าน้าลึกให้เรือสินค้าและเรือเดินสมุทร เข้าเทียบท่า ได้ และกลายเป็นเมืองท่าขนาดใหญ่หลายเมือง เช่น อะเล็กซานเดรีย ในอียิปต์ เคปทาวน์ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ คา ซาบลังกาในโมร็อกโก มันโรเวียในไลบีเรีย เป็นต้น 3) ทางอากาศ แอฟริกาเป็นทวีปมีสายการบินที่ใช้ติดต่อกันทั้งภายในทวีปและระหว่างทวีป ศูนย์กลางคมนาคมทางอากาศ ได้แก่ ไคโร ในอียิปต์ คาร์ทูมในซูดาน แอลเจียร์ในแอลจีเรีย ไนโรบีในเคนยา ลากอสในไนจีเรีย โจฮันเนสเบิร์กและเคปทาวน์ในสาธารณรัฐ แอฟริกาใต้
  • 24. 1. ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ใต้สุดของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับโมซัมบิกและ สวาซิแลนด์ ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ : 1,219,090 ตารางกิโลเมตร
  • 25. เมืองหลวง : กรุงพริทอเรีย (Pretoria) ประชากร : 53.7 ล้านคน ภูมิอากาศ : สภาพอากาศอบอุ่น มีแสงแดดตลอดปี ภาษา : อังกฤษ และ Afrikaans (ภาษาถิ่นที่มีผู้ใช้มาก เช่น IsiNdebele, IsiZulu) ศาสนา : Zion Christian ร้อยละ 11.1 Pentacostal/Charismatic ร้อยละ 8.2 Catholic ร้อยละ 7.1 Methodist ร้อยละ 6.8 อิสลามร้อยละ 1.5 คริสต์นิกายอื่นๆ ร้อยละ 46.5 ไม่มีศาสนา ร้อยละ 15.1 อื่น ๆ ร้อยละ 3.7 (กรุงพริทอเรีย)
  • 26. ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ เป็นระบบสองสภา โดยมีประธานาธิบดี ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง เป็นประมุข แห่งรัฐและผู้นารัฐบาล ดารงตาแหน่งวาระละ 5 ปี แต่ไม่เกิน 2 วาระ สกุลเงิน : แรนด์แอฟริกาใต้(ZAR) อุตสาหกรรมหลัก : เหมืองแร่ (ทองคาขาว ทอง และโครเมียม) ชิ้นส่วนรถยนต์ งานโลหะ เครื่องจักร สิ่งทอ เหล็กและเหล็กกล้า เคมีภัณฑ์ ปุ๋ ย อาหาร การซ่อมเรือพาณิชย์ สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักรกลและชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ อาหาร สินค้าส่งออกที่สาคัญ : ทองคา เพชร ทองคาขาว เหล็กและแร่อื่น ๆ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : จีน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ซาอุดีอาระเบีย ญี่ปุ่น อินเดีย ส่งออกไปยัง จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมนี สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์
  • 27. 2. การเมืองและการปกครอง แอฟริกาใต้ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและผู้นารัฐบาล ประธานาธิบดีมา จากการเลือกตั้งในสภาผู้แทนราษฎร ดารงตาแหน่งวาระละ ๕ ปี ติดต่อกันได้ไม่เกิน ๒ วาระ คณะรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้ง ของประธานาธิบดี ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นระบบสองสภา ประกอบด้วยสมาชิกคณะมนตรีเขตการปกครองแห่งชาติ (National Council of Provinces)[1] จานวน ๙๐ ที่นั่ง (คัดเลือกจากฝ่ายนิติบัญญัติของแต่ละเขตการปกครอง ทั้ง ๙ เขต เขตละ ๑๐ ที่นั่ง) มีวาระ ๕ ปี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จานวน ๔๐๐ ที่นั่ง ซึ่งทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรงในแบบ สัดส่วน มีวาระ ๕ ปี (เลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗) ฝ่ายตุลาการประกอบด้วยศาลรัฐธรรมนูญ ศาลอุทธรณ์ สูงสุด ศาลสูง และศาลปกครอง
  • 28. 3. เศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจ : แอฟริกาใต้มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา มีภาคการเงินการธนาคารและอุตสาหกรรมการ ผลิตที่แข็งแกร่ง เป็นประเทศผู้ส่งออก โดยเฉพาะ เหล็ก ถ่านหิน และอัญมณีรายใหญ่ของโลก มีอุตสาหกรรมแร่ธาตุและการ ท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศ ภาวะวิกฤติการเงินโลกในขณะนี้ ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบธนาคารและสถาบัน การเงินในแอฟริกาใต้อย่างรุนแรงนัก เนื่องจากแอฟริกาใต้มีกฎระเบียบทางการเงินที่เข้มงวด และธนาคารหลักในแอฟริกาใต้ มักพึ่งพาเงินทุนสารองระหว่างกันและกันมากกว่าที่จะหาแหล่งเงินกู้จากต่างประเทศ สังคม : แม้ว่าแอฟริกาใต้เป็นประเทศที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง แต่ก็ประสบกับปัญหาการกระจายรายได้ที่ไม่เท่า เทียมกัน โดยเงินทุนส่วนใหญ่ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของคนผิวขาวและคนผิวดาที่อยู่ในแวดวงการเมืองเพียงจานวนหนึ่ง เท่านั้น คนจนและผู้ใช้แรงงานผิวดาส่วนใหญ่ของแอฟริกาใต้ยังคงมีคุณภาพชีวิตที่ย่าแย่ ส่งผลให้เกิดปัญหาสังคม การ แพร่กระจายของ HIV/ AIDS และอาชญากรรมซึ่งมีความรุนแรง อาทิ การข่มขืน การค้าและเสพยาเสพติด และการทุจริต รัฐบาลของประธานาธิบดีซูมา ประกาศนโยบายจะปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา สาธารณสุข ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน คุณภาพที่อยู่อาศัย การเพิ่มปริมาณการจ้างงาน การพยายามลดอัตราการก่ออาชญากรรม ปัจจุบัน สถิติผู้ติดเชื้อเอดส์มีประมาณ ๖ ล้านคน แต่มีเพียงจานวนร้อยละ ๓๐ เท่านั้นที่ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ รัฐบาล แอฟริกาใต้ต้องใช้งบประมาณกว่า ๒ พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อต่อสู้กับปัญหาดังกล่าว และพยายามใช้วิธีตรวจหาผู้ติดเชื้อ อย่างทั่วถึง (Universal testing) ควบคู่ไปกับการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV Treatment)
  • 29. 4. วัฒนธรรม ในด้านวัฒนธรรม เนื่องจากทวีปแอฟริกามีประชากรอยู่หลายกลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มก็มีลักษณะและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน กลายเป็นวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างแบบดั้งเดิมกับตะวันตก เช่น เผ่าซูลู เชื่อว่าเทพเจ้าสร้างโลก ความอุดมสมบูรณ์ เป็นผลจากการเซ่นสังเวยบูชาบรรพบุรุษ หัวหน้าเผ่า คลุมตัวด้วยหนัง เสือดาวไม่มีแขน ชาวเผ่า ใช้ลูกปัดเป็นเครื่องประดับ มีการเต้นรา ร้องเพลง ที่รู้สึกได้ถึงอานาจลึกลับ หมู่บ้านของซูลูเรียง รายเป็นวงกลม ล้อมด้วยกาแพงที่ทาจากกิ่งและเปลือกไม้ ตัวกระท่อมสร้างจากหญ้าที่ถักแน่นหนา พื้นทาด้วยมูลสัตว์ที่ตาก แห้ง ชาวซูลู ทานเนื้ อที่ย่างด้วยถ่านหิน จะให้ไหม้เกรียมข้างนอกแต่ข้างในดิบๆ และดื่มนมเปรี้ยว เพิ่มความแข็งแรง จะใช้วัว ควายเป็นสินสอด มีวัวควายมากถึงจะมีภรรยามาก พอมีลูกมาก ก็มาเป็นกาลังทางาน หากลูกสาวโตขึ้นก็จะได้สินสอดคือวัว ควายเพิ่มขึ้นอีก เผ่าโฮซ่า นับถือบูชาผีสางเทวดา และเชื่อว่า หมอผี เป็นผู้ติดต่อกับวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ ที่บันดาล สุขทุกข์ให้ทุกคนได้ นม จะถูกปล่อยไว้ในขวดน้าเต้าให้เป็นนมเปรี้ยว ไว้สาหรับผู้ใหญ่เท่านั้น เด็กๆจะได้ทานนมสด เนยใส และเนยเหลวแทน นอกจากผู้ชาย หญิงที่แต่งงานแล้วเท่านั้นจึงจะได้รับอนุญาตให้สูบยาเส้นได้ ใช้วัวควาย เพื่อบรรทุกสัมภาระ แข่งขัน เป็น สินสอด ส่วนการทาไร่นาจะใช้จอบหรือเสียมแทนแรงงานสัตว์ ผู้หญิงจะไม่อนุญาตให้จับต้องฝูงวัวควาย มูลสัตว์ไม่ได้ทาปุ๋ ย แต่นามาเป็นเชื้อเพลิง และปูพื้นกระท่อม เป็นต้น
  • 30. การลงทุน เศรษฐกิจส่วนใหญ่เน้นไปที่การลงทุน เป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่และ มั่นคงที่สุดในทวีปแอฟริกาและเป็นประเทศผู้ส่งออก โดยเฉพาะเหล็ก ถ่านหิน และอัญมณี รายใหญ่ของโลก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เหมาะกับการค้าการลงทุนโดยมีพรมแดนติดกับหลาย ประเทศ ล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดียทางทิศตะวันออก และมหาสมุทรแอตแลนติกทาง ทิศตะวันตก และมีภาคการเรียน ธนาคาร อุตสาหกรรมผลิตที่แข็งแกร่ง มีอุตสาหกรรมแร่ ธาตุ การท่องเที่ยว และการเกษรเป็นรายได้หลักของประเทศนอกจากนี้ ยังเป็นผู้ค้าอันดับ 1 ของประเทศไทยอีกด้วย สินค้าที่สาหรับการลงทัน คือ รถยนต์ อะไหล่รถยนต์ ข้าว จาน ดาวเทียม และอาหารแปรรูป
  • 32. 1. ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือ ติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับ รัฐอิสราเอล ทิศตะวันออก ติดทะเลแดง ทิศใต้ติดกับสาธารณรัฐ ซูดาน และทิศตะวันตก ติดกับลิเบีย พื้นที่ : 1,001,450 ตารางกิโลเมตร
  • 33. เมืองหลวง : กรุงไคโร (Cairo) ประชากร : 84 ล้านคน ภูมิอากาศ : อากาศร้อนและแห้งแล้ง มีฝนตกน้อยมาก ฤดูร้อนมีอุณหภูมิ โดยเฉลี่ย 27 – 32 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมี อุณหภูมิเฉลี่ย 21 องศาเซลเซียส ภาษา : ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ และภาษาต่างประเทศที่ใช้ทั่วไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ศาสนา : อิสลาม (สุหนี่) ร้อยละ 90 คริสเตียนคอปติก และอื่น ๆ ร้อยละ 10
  • 34. ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ ประธานาธิบดีเป็นประมุขมีวาระคราวละ 4 ปี และมี นายกรัฐมนตรีซึ่งแต่งตั้งโดย ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้ารัฐบาล สกุลเงิน : ปอนด์อียิปต์ (Egyptian Pound-EGP) อุตสาหกรรมหลัก : สิ่งทอ การแปรรูปอาหาร การท่องเที่ยว เคมีภัณฑ์ น้ามัน ก๊าซธรรมชาติและปิโตรเคมี การก่อสร้าง ซีเมนต์ โลหะ สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ อาหารแปรรูป เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากไม้ เชื่อเพลิง สินค้าส่งออกที่สาคัญ : น้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ฝ้าย สิ่งทอ เหล็กและเคมีภัณฑ์ ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : สหรัฐอเมริกา จีน อิตาลี เยอรมนี ซาอุดีฯ
  • 35. 2. การเมืองและการปกครอง ปัจจุบัน อียิปต์ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ดารงตาแหน่งในวาระละ 4 ปี ติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ ประธานาธิบดีแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเพื่อทาหน้าที่บริหารประเทศ รัฐสภาประกอบด้วย สภาประชาชน (People’s Assembly) ซึ่งเทียบเท่าสภาผู้แทนราษฎร เมื่อปี ๒๕๕๔ อียิปต์ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสาคัญ โดยเกิดการชุมนุมประท้วงของประชาชนเพื่อเรียกร้องให้ นายฮอสนี มูบารัค (Hosni Mubarak) อดีตประธานาธิบดีซึ่งอยู่ในอานาจ มากว่า ๓๐ ปี ลงจากตาแหน่ง การชุมนุมเริ่มต้นตั้งแต่ วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๔ และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ โดยนายมูบารัค ได้ลาออกจากตาแหน่งประธานาธิบดี และโอนอานาจการบริหารราชการแผ่นดินชั่วคราวให้สภาสูงสุดแห่งกองทัพอียิปต์ (Supreme Council of the Armed Force) จากนั้น อียิปต์ได้วางแผนปฏิรูปการเมืองเพื่อนาไปสู่การจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่
  • 36. 3. เศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจ : การเกษตรกรรม การเพาะปลูกของอิยิปต์ต้องพึ่งน้าจากแม่น้าไนล์ เพราะว่าไม่มีฝนช่วงฤดูร้อนน้าจะท่วม 3 เดือน จนเมื่อน้าลดประมาณเดือนพฤศจิกายนหรือต้นเดือนธัวาคมชาวนาก็จะเริ่มไถและหว่านพืช แล้วใช้สัตว์ พวกแกะ หรือ หมูเหยียบย่าเมล็ดพืชให้จมส่วนการเก็บเกี่ยวก็จะทากันประมาณเดือนมีนาคมหรือเมษายน พืชที่ปลูกก็มีข้าวสาลี ลูกเดือย หรือผัก ผลไม้ ต้นป่านและฝ้าย ในฤดูแล้งชาวนาจะซ่อมเขื่อน ขุดลอกคลอง ระหว่างฤดูน้าหลาก ชาวนาอาจจะถูกเกณฑ์ไป ช่วยงานในโครงการต่างๆของฟาโรห์ ชีวิตของชาวนาอียิปต์เมื่อเทียบกับชาวนาของอาณาจักรอื่นในสมัยเดียวกันมีสภาพดีกว่า การค้าขาย นอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่ากันแล้ว ยังเป็นวิธีการสาคัญในการแลกเปลี่ยนอารยธรรมระหว่าง ประเทศและเป็นสิ่งที่จะให้การศึกษาของคนยุคโบราณได้ การอุตสาหกรรม ก็มีความสาคัญเท่ากับการค้าขาย ประมาณปี 3,000 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวอียิปต์จานวนมากเป็นช่างฝีมือ ดีและเป็นศิลปินผู้มีความสามารถ เช่น ช่างทอง ช่างเพชรพลอย คนทอผ้า ช่างทาเครื่องเรือน ช่างต่อเรือ ต่อมามีการสร้าง โรงงานขึ้น มีการจ้างคนงานมากกว่า 20 คนในโรงงานหนึ่งและอาจมีการแบ่งงานกันทา อุตสาหกรรมชั้นนา คือ อู่ต่อเรือและ โรงงานทาเครื่องปั้นดินเผา เครื่องแก้วและสิ่งทอ จากการค้าขายของชาวอียิปต์ที่มีมานานแล้ว จึงทาให้อียิปต์ได้พัฒนาเครื่องมือในธุรกิจต่างๆขึ้น คือชาวอียิปต์รู้จักการทาบัญชี นอกจากนี้ ยังมีการทาสัญญาสาหรับทาทรัพย์สมบัติ เช่น หนังสือสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรและพินัยกรรม แม้จะยังไม่มี เหรียญกษาปณ์ใช้ในการแลกเปลี่ยน แต่ชาวอียิปต์ได้ใช้ห่วงทองแดงหรือทองคาตามน้าหนักในการแลกเปลี่ยน ซึ่งนับว่าเป็น เงินตราที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์อารยธรรมโลก ส่วนชาวนาและชาวบ้านยังคงใช้ระบบสินค้าแลกเปลี่ยนกัน
  • 37. สังคม : ในอียิปต์แม้จะมีการแบ่งชนชั้น แต่ก็ไม่มีระบบชนชั้นที่ถาวร สังคมอียิปต์แบ่งประชาชนออกเป็น 5 ชนชั้นคือ 1.ราชวงศ์ 2.พระ 3.ขุนนาง 4.เสมียน พ่อค้า ช่างฝีมือต่างๆและชาวไร่ชาวนาที่ร่ารวย 5.ชาวนา ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ของสังคม แต่ในสมัยจักรวรรดิมีทหารอาชีพขึ้นมา เมื่อฟาโรห์มีนโยบายจะขยายอานาจและอาณาเขต และได้เชลยศึกมาเป็นทาสจานวน มากจากการรบชนะ ทาให้อียิปต์มีชนชั้นเพิ่มอีก 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นที่ 6 ทหารอาชีพ และชนชั้นที่ 7 ทาส ทหารจะถูกเกณฑ์ไปทางานในเหมืองหินและที่ดินของวัด ต่อมาก็ถูกเกณฑ์เป็นทหารและบ้างก็ไปรับใช้ฟาโรห์ ในอาณาจักรสมัย เก่า พระและขุนนางมีอานาจมากอยู่ใต้ฟาโรห์ สมัยอาณาจักรกลาง สามัญชนเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเอง พ่อค้าและชาวไร่ ชาวนา ได้รับสิทธิพิเศษจากรัฐบาล การสร้างอาณาจักรมีผลทาให้เกิดขุนนางชนชั้นใหม่ขึ้นคือข้าราชการ ขุนนางที่ร่ารวยจะอาศัยอยู่ในบ้านตากอากาศที่หรูหราติดกับสวนที่มีกลิ่นดอกไม้ อาหารมีจานวนหลากหลาย เช่น อาหาร ประเภทเนื้ อ ไก่ ขนมต่างๆ ผลไม้ เหล้าองุ่นแฃะของหวานชนิดต่างๆ ภาชนะที่ใช้ทาด้วยอลาบาสาคอร์ ทองคาและเงินแต่งกาย ราคาแพงและประดับเพชรพลอยราคาสูง ตรงกันข้ามกัขชีวิตของคนยากจนที่น่าสงสาร บ้านของคนจนในเมืองนั้นจะแออัด สร้างด้วยโคลน ส่วนชาวนาที่อาศัยในทุ่งนาผืนใหญ่ จะอยู่ในบ้านที่ไม่แออัดเท่าในเมืองแต่มีชีวิตไม่สะดวกสบาย สถานภาพสตรีของชาวอียิปต์ ห้ามมีสามีภารยาหลายคน แม้แต่ฟาโรห์ซึ่งสามารถมีฮาเร็มที่มีสนมและนางบาเรอจานวนมาก อาศัยอยู่ แต่ฟาโรห์ก็มีมเหสีองค์เดียว สตรอียิปต์ยังไม่ตกอยู่ใต้อานาจของชายทั้งหมดทีเดียว ภรรยาจะไม่ถูกแบ่งแยกแต่สตรี สามารถมีกรรมสิทธิ์รับมรดกและประกอบธุรกิจได้
  • 38. 4. วัฒนธรรม ในอดีตชาวอียิปต์นับถือเทพเจ้าและมีกษัตริย์ที่เรียกว่าฟาโรห์ และในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย พระเจ้าอโศกได้ ทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับอียิปต์และได้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในเขตเมืองอเล็กซานเดรีย (ดูเพิ่มได้ใน พุทธศาสนาใน ประเทศอียิปต์) แต่ในปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ 94% นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ อีก 6% นับถือศาสนาคริสต์นิกาย คอปติก ดินแดนของอียิปต์ที่เป็นศาสนาซึ่งนับถือหลายพระผู้เป็นเจ้า, ความเชื่อในพระเจ้าหลาย เทพแต่ละคนมีของตัวเอง
  • 39. การลงทุน ประเทศอาหรับอียิปต์มีอุตสาหกรรม การเกษตร เป็นหลัก ผลผลิตทางการเกสร จัดได้ว่าสมบูรณ์แบบ ไม่ว่าจะเป็น ฝ้าย ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ถั่ว ผลไม้ ผัก ปศุสัตว์ ควาย แกะ แพะ และมีสินค้าส่งออกได้แก่ น้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ผักและผลไม้ ฝ้าย สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ อาหารแปรรูป เป็นต้น สรุปการลงทุนสินค้า สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เหมาะสาหรับการลงทุน เพราะว่ามีลากฐานเศรษฐกิจ ที่มั่นคงและแข็งแรง พร้อมที่จะเติมโตอยู่ตลอดเวลา ผู้คน และวัฒนธรรมก็ดี และประเทศ ไทยกับอียิปต์ก็เป็นคู่ค้าสาคัญมากเช่นกัน คนไทยส่วนมากก็อาศัยและค้าขายอยู่ที่อียิปต์ ด้วยเช่นกัน สินค้าที่เหมาะสาหรับการลงทุน ได้แก่อาหารทะเลกระป๋ องและแปรรูป รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนต์ ผลิตภัณฑ์ยาง ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ เม็ด พลาสติก เครื่องซักผ้าและ เครื่องซักแห้ง ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ ยางพารา
  • 41. 1. ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง : ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตกของ ทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับไนเจอร์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับชาด ทิศตะวันออกติดกับ แคเมอรูน ทิศตะวันตกติดกับเบนิน ทิศใต้ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกบริเวณอ่าวกินี มีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 853 กิโลเมตร พื้นที่ : 923,773 ตารางกิโลเมตร
  • 42. เมืองหลวง : กรุงอาบูจา (Abuja) ประชากร : 181.5 ล้านคน (ประมาณการปี 2558) ภูมิอากาศ : อากาศร้อนชื้น มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนและฤดูฝน ภาคใต้ฝนตกชุกเป็นระยะเวลานาน ภาคเหนืออากาศค่อนข้าง ร้อนและแห้งเกือบตลอดปี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - มีนาคม จะมีฝุ่นละอองพัดมาจากทะเลทรายซาฮาราปกคลุมทั่วท้องฟ้า เรียกว่า ฮามาตัน ภาษา : ภาษาอังกฤษ ศาสนา : อิสลาม ร้อยละ 50 (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือ) คริสต์ ร้อยละ 40 (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้) ความเชื่อดั้งเดิม ร้อยละ 10
  • 43. ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ระบบ 2 สภา โดยมีประธานาธิบดี ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง เป็นประมุข แห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ดารงตาแหน่งวาระละ 4 ปี จากัดไม่เกิน 2 วาระ สกุลเงิน : ไนรา (Naira) หน่วยย่อยคือ โกโบ (1 ไนรา = 100 โกโบ) 1 บาท = 4.94 ไนรา (ข้อมูลวันที่ 13 ธันวาคม 2556) อุตสาหกรรมหลัก : น้ามันดิบ ถ่านหิน ดีบุก แร่โคลัมไบต์ ผลิตภัณฑ์ยางพารา ไม้ เขาสัตว์และหนังสัตว์ ซีเมนต์และอุปกรณ์ ก่อสร้างอื่น ๆ อาหาร รองเท้า เคมีภัณฑ์ ปุ๋ ย สิ่งพิมพ์เซรามิก เหล็ก สินค้านาเข้าที่สาคัญ : เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ อุปกรณ์ขนส่ง สินค้าอุตสาหกรรม อาหาร และปศุสัตว์ สินค้าส่งออกที่สาคัญ : ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โกโก้ ยางพารา ตลาดนาเข้าที่สาคัญ : จีน สหรัฐฯ อินเดีย เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ส่งออกไปยัง อินเดีย เนเธอร์แลนด์ บราซิล สเปน ฝรั่งเศส
  • 44. 2. การเมืองและการปกครอง ไนจีเรียมีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธ์สาธารณรัฐ โดยแบ่งโครงสร้างการปกครองออกเป็น 3 ฝ่าย ได้แก่ 1) ฝ่ายบริหาร แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับสหพันธ์ ระดับรัฐและระดับท้องถิ่น ประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ดารง ตาแหน่งประมุขแห่งรัฐและผู้นารัฐบาล คราวละ 4 ปี จากัดไม่เกิน 2 สมัย โดยมีคณะรัฐมนตรี (Federal Executive Council) เป็น ผู้บริหาร 2) ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบ 2 สภา คือ วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรง และอยู่ในตาแหน่ง คราวละ 4 ปี วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิก 109 คน จากรัฐต่าง ๆ 36 รัฐ รัฐละ 3 คน และอีก 1 คน จากเขตเมืองหลวงกรุงอาบูจา (Abuja Federal Capital Territory) สภาผู้แทนราษฎรมีสมาชิกจานวน 360 คน การเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดมีขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2554 และ 3) ฝ่ายตุลาการ ได้แก่ ศาลสูง ศาลอุทธรณ์กลาง และมีศาลกฎหมายอิสลามในรัฐทางตอนเหนือของประเทศ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม - นโยบายของรัฐบาลไนจีเรียชุดปัจจุบันให้ความสาคัญในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่
  • 45. (1) ความต่อเนื่องของการดาเนินนโยบายของรัฐบาล โดยรัฐบาลยังคงให้ความสาคัญกับธรรมาภิบาล ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม การเสริมสร้างสถาบันประชาธิปไตยและการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น ตลอดจนบทบาทในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมถึงการต่อต้านการก่อ การร้ายและการรับมือกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (2) การยึดมั่นในอุดมการณ์ประชาธิปไตยและการจัดตั้งรัฐบาลตามครรลองรัฐธรรมนูญ (3) การส่งเสริมบทบาทไนจีเรียในเวทีระหว่างประเทศเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงโลก (4) การปฏิรูปและพัฒนาประเทศเพื่อส่งเสริมและตอบสนองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการปฏิรูป ระบบการเลือกตั้ง ระบบธนาคาร การพัฒนาระบบบริหารจัดการอุตสาหกรรมน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และพลังงาน ไฟฟ้า (5) การสร้างโอกาสสาหรับการค้าและการลงทุนทั้งจากภายในประเทศและนอกประเทศ และ (6) การปรับปรุงนโยบายและวาระแห่งชาติให้สอดคล้องกับการส่งเสริมผลประโยชน์แห่งชาติมากยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึง การสร้างหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา และการรักษาสันติภาพและเสถียรภาพความมั่นคงทั้งใน ระดับประเทศ อนุภูมิภาคและภูมิภาคแอฟริกาโดยรวม
  • 46. 3. เศรษฐกิจและสังคม ไนจีเรียเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ในด้านทรัพยากรน้ามันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเริ่มการสารวจและขุดเจาะน้ามันมา ตั้งแต่ทศวรรษที่ 70 ปัจจุบัน ไนจีเรียเป็นประเทศผู้ผลิตน้ามันดิบรายใหญ่ที่สุดในภูมิภาคแอฟริกา และติดอันดับ 11 ประเทศ ผู้ผลิตน้ามันดิบของโลก อย่างไรก็ตาม ภาวะความขัดแย้งและเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ รวมทั้งการฉ้อราษฎร์บัง หลวง ยังคงเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไนจีเรียให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนของบริษัทต่างประเทศ ที่ ผ่านมา ไนจีเรียเคยประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและจาเป็นต้องขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และกลุ่ม Paris Club ในปี 2543 ตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา อดีตประธานาธิบดี Obasanjo ได้ดาเนินแผนปฏิรูปเศรษฐกิจตามยุทธศาสตร์ National Economic Empowerment and Development Strategy (NEEDS) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแก้ปัญหาความยากจน และพัฒนาประเทศ อย่างอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้น (1) การปฏิรูปองค์กรภาครัฐทั้งในด้านโครงสร้าง นโยบายและยุทธศาสตร์ (2) การแปรรูป รัฐวิสาหกิจเพื่อส่งเสริมระบบการค้าเสรีที่มีความโปร่งใส โดยคานึงถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วย (3) การสร้างแหล่งรายได้อื่นนอกจากน้ามัน (4) การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ (5) การรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจกับประชาคมเศรษฐกิจแห่งรัฐแอฟริกาตะวันตก (Economic Community of West African States - ECOWAS) อนึ่ง แม้ว่านาย Obasanjo จะพ้นวาระไปแล้ว นายโจนาธาน ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ก็ได้รับยุทธศาสตร์ NEEDS มาดาเนินการ ต่อ
  • 47. ไนจีเรียนาเข้าสินค้าอุตสาหกรรม เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ และอาหาร โดยส่วนใหญ่นาเข้าจากจีน สหรัฐอเมริกา บราซิล และยุโรป ไนจีเรียส่งออกน้ามันและปิโตรเคมีภัณฑ์เป็นหลัก โดยมีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 79 ของการส่งออก ทั้งหมด สินค้าส่งออกอื่น ๆ ได้แก่ โกโก้ และยางดิบ โดยส่วนใหญ่ส่งออกไปอเมริกา บราซิล และสเปน เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ Niger Delta ที่ทวีความรุนแรงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา เป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจในไนจีเรีย โดยเฉพาะต่อภาคพลังงาน ซึ่งเป็นภาคเศรษฐกิจที่สาคัญที่สุดของประเทศ โดยองค์กรภาครัฐที่ รับผิดชอบด้านการปิโตรเลียม หรือ Nigerian National Petroleum Corporation (NNPC) ได้เปิดเผยว่า โรงกลั่น น้ามันกาลังประสบปัญหาขาดแคลนน้ามันดิบ เนื่องจากฐานขุดเจาะน้ามันและท่อลาเลียงขนส่งน้ามันดิบจานวนมาก ในพื้นที่ Niger Delta ได้ถูกโจมตีโดยกลุ่มกองกาลังติดอาวุธและจาเป็นต้องปิดตัวลง ทั้งนี้ ปริมาณการผลิตน้ามันของ ไนจีเรียลดลงเหลือ 1.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากที่เคยผลิตได้ 2.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน และทาให้รายได้จากการ ส่งออกน้ามันของไนจีเรียลดลงอย่างมาก ปัจจุบัน ทางการไนจีเรียกาลังเร่งพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพื่อดึง รายได้มาทดแทนรายได้จากการค้าน้ามันกับต่างประเทศที่สูญเสียไป
  • 48. สังคม : ไนจีเรียเป็นประเทศที่ประกอบด้วยประชากรหลายเผ่าพันธุ์ กล่าวกันว่ามีประมาณ 250 เผ่าพันธุ์ แต่ในจานวนนี้ ชน เผ่าเฮาซาและโยรุบามีมากที่สุดประมาณร้อยละ 21 เผ่าอิกโบ/อิโบร้อยละ 18 เผ่าฟุรานี ร้อยละ 11 และเผ่าอิบิบิโอร้อยละ 5 ที่เหลือเป็นเผ่าเล็กเผ่าน้อยอีกประมาณร้อยละ 23 การที่บ้านเมืองประกอบด้วยหลายเผ่าหลากวัฒนธรรมจึงยากที่จะชี้ชัดลง ไปว่าอาหารอะไรเพียงอย่างเดียวเป็นอาหารประจาชาติ เพราะต่างถิ่นต่างก็มีอาหารจานโปรดของตนเองขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม ประเพณีและศาสนา นอกจากนั้นสาหรับชาวบ้านร้านถิ่นธรรมดาๆแล้ว ความแตกต่างยังขึ้นอยู่กับฤดูกาลอีกด้วย ขึ้นอยู่กับว่า เป็นฤดูที่อดอยากคือช่วงก่อนฝนจะมาในเดือนมีนาคม หรือช่วงฤดูอิ่มท้องคือหลังการเก็บเกี่ยวพืชผลเดือนตุลาคมและ พฤศจิกายนแล้ว แต่ไนจีเรียเป็นประเทศที่มีผลไม้ทานตลอดปีเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อนซึ่งสามารถปลูกผลไม้ได้ หลากหลายชนิด ผลไม้ที่เป็นที่นิยมทั่วไปได้แก่ส้ม แตงเมลอน เกรพฟรุท มะนาว มะม่วง กล้วยและสับปะรด ชาวในจีเรียทางภาคเหนือ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมุสลิมและไม่ทานเนื้ อหมูจะทานอาหารประเภทถั่วข้าวฟ่าง และข้าวกล้อง ชนเผ่าเฮา ซ่าในภาคเหนือชอบทานเนื้ อ และชาวมุสลิมที่นี่ทั่วไปนิยมดื่มชาจึงทหให้ร้านกาแฟเป็นสถานที่พบปะของคนแถบนี้ ส่วนชาว ไนจีเรียทางภาคตะวันออกนั้นส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าอิกโบ/อิโบนิยมทานการีหรือเกี๊ยวทาจากแป้งมันสาปะหลัง ฟักทอง และแยม
  • 49. ชาวไนจีเรียที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่วรอบอ่าวกินีนิยมทานสตูอาหารทะเล (ปลา กุ้ง ปูและล็อบสเตอร์) แยม ข้าว และผักชนิดต่างๆ ปลานับเป็นอาหารสาคัญของชาวไนจีเรียเนื่องจากเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูกที่หาง่าย อาหารปลา จานเด็ดของชาวไนจีเรียคือปลาหมักทอด โดยหมักเนื้ อปลาด้วยขิง มะเขือเทศ และพริกไทยก่อนแล้วนาไปทอดใน น้ามันถั่วลิสง ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเมืองนิยมทานอาหารจากซ้อบบาร์(บาร์ขายอาหาร) แผงข้างถนน รถเข็น(ซึ่งคนขายจะเข็นรถ ไปตะโกนไปด้วยว่าขายอะไร) แต่ที่ต้องบอกคือชาวไนจีเรียนิยมทานอาหารเผ็ดทาอาหารอะไรเป็นใส่พริกไทยกับพริกยืนพื้นไว้
  • 50. การลงทุน เศรษฐกิจของไนจีเรียซึ่งเป็นประเทศที่ร่ารวยด้วยน้ามัน ได้รับผลกระทบเป็น เวลายาวนานจากความไร้เสถียรภาพทางด้านการเมือง แต่การจัดการระบบ เศรษฐกิจโดยส่วนรวมที่ไม่มีประสิทธิภาพภาคการ ส่วนการเกษตรก็เติบโตไม่ทันกับ จานวนประชากรซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้ไนจีเรียซึ่งเคยเป็นประเทศผู้ส่งออก อาหารรายใหญ่จะต้องนาเข้าอาหารเอง สรุปการลงทุนสินค้า ประเทศไนจีเรียไม่เหมาะสาหรับการทุนเพราะว่า ประเทศกาลังปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจใหม่ภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลพลเรือนชุดใหม่ ผู้นารัฐบาล ทหารชุดก่อน ๆ ประสบความล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจจากการที่ต้อง พึ่งพาแต่ภาคน้ามัน
  • 52. 1. ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง : ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศเหนือติดกับบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับโตโก ทิศตะวันตกติดกับโกตดิวัวร์ ทิศใต้ติด กับมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณอ่าวกินี ชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 539 กิโลเมตร พื้นที่ : 238,537 ตารางกิโลเมตร
  • 53. เมืองหลวง : กรุงอักกรา (Accra) ประชากร : 26.3 ล้านคน ภูมิอากาศ : ภูมิอากาศร้อนชื้น บริเวณชายฝั่งทะเลมีอากาศอบอุ่นและแห้ง ภาคเหนือมีอากาศร้อนและแห้ง ภาคตะวันตกเฉียง ใต้มีอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิปกติประมาณ 21-30 องศาเซลเซียส มีฤดูฝนปีละ 2 ช่วง คือ ช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม และ กันยายน-ตุลาคม อากาศร้อนที่สุดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง 35 องศาเซลเซียส ภาษา : ภาษาอังกฤษ ศาสนา : คริสต์ 68.8% อิสลาม 15.9% ความเชื่อดั้งเดิม 8.5% อื่นๆ 0.7% ไม่นับถือศาสนาใดๆ 6.1%