SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
องค์ประกอบการถ่ายภาพ
สาหรับการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่ตรงตามความต้องการ มีคุณค่า มีความงามทางด้าน
ศิลปะ นอกจาก จะทาความเข้าใจในเรื่องของการใช้กล้องถ่ายภาพ และเครื่องมือที่มีคุณภาพ
แล้ว การจัดองค์ประกอบภาพ ก็เป็นสิ่งที่สาคัญ ที่จะทาให้ภาพมีคุณค่าขึ้น
การเน้นจุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพ (Point of Interest)
หลักการจัดองค์ประกอบภาพ นอกจากการใช้เส้นนาสายตา การเน้นสี การเน้นรูปร่าง การเน้นรูปทรง การเน้นพื้นผิว และการใช้
ความซ้าซ้อนแล้วสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่จาเป็นต้องมีในการจัดองค์ประกอบภาพก็คือ การเน้นจุดเด่นในภาพ ซึ่งในภาพหนึ่งภาพควรให้
มีจุดสนใจเพียงจุดเดียว อย่าให้ในภาพมีจุดสนใจหรือจุดเด่นหลายจุด เพราะจะทาให้เรื่องราวในภาพขาดความเป็นเอกภาพ (Unity)
ดูไม่น่าสนใจ การวางตาแหน่งจุดสนใจในภาพก็ยังมีหลักการอีกว่า ไม่ควรที่จะวางไว้ตรงกลางภาพ เพราะจะทาให้เกิดความรู้สึกสงบนิ่ง
ไม่น่าสนใจ วัตถุรอบข้างที่เหลือในภาพจะขาดความน่าสนใจ และไม่เกิดเรื่องราวที่ต่อเนื่องในภาพไปโดยปริยาย
ดังนั้นการวางตาแหน่งเพื่อเน้นจุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพ (Point of Interest) จึงนิยมใช้การลากเส้นสมมติขึ้นใน
ภาพ โดยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นสามส่วนเท่าๆ กันทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน ซึ่งจะทาให้เราได้ตารางเก้าช่องที่มีขนาดพื้นที่เท่ากันทั้งหมด
ในภาพ จึงเป็นที่มาของการเรียกชื่อ "กฎสามส่วน หรือจุดตัดเก้าช่อง (Rule ofThirds)" ซึ่งวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับทั้งภาพ
แนวนอนและภาพแนวตั้ง
จุดตัดที่เกิดขึ้นจากการแบ่งพื้นที่นี้จะมีทั้งหมด 4 จุด ซึ่งนิยมใช้ในการวางตาแหน่งของวัตถุหลักเพื่อให้เป็น
จุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพนั่นเอง พื้นที่ที่เหลือในภาพ เราสามารถหาจุดสนใจรอง หรือสร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้น
จากการกระทาของวัตถุหลักในภาพเพื่อให้เกิดเรื่องราวที่สอดคล้องกับสถานที่ ช่วงเวลา
ทิศทาง ของแสง และองค์ประกอบอื่นๆ ในภาพ จากหลักการนี้จะทาให้การมองภาพเกิด
การเคลื่อนไหว ทั่วไปทั้งภาพ โดยเริ่มจากวัตถุหลัก ซึ่งเป็นจุดเด่นในภาพ ไล่ไปหาวัตถุรอง
(ถ้ามี) หรือกิจกรรม และการกระทาที่เกิดขึ้นในภาพนั้น ภาพที่ได้ก็จะมีสวยงามทั้งในแง่
องค์ประกอบภาพ และเรื่องราวที่เกิดขึ้นในภาพ
กฎสามส่วน
กล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน
แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส่น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตาแหน่งที่เหมาะสมสาหรับการจัดวาง
วัตถุที่ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่น หลัก ส่วนรายละเอียดอื่นๆนั้น เป็นส่วนสาคัญที่รองลงมา
จุดตัดเก้าช่อง
การนาเส้นตัดสามส่วนในระนาบแนวนอนกับแนวตั้งมารวมกัน จะเกิดจุดตัดสี่จุด เป็นจุดที่จะวางจุดสาคัญของภาพไว้
เพื่อให้ได้รับความสนใจจากผู้ชมภาพมากที่สุด มีคนบอกว่าจุดที่สาคัญที่สุดในสี่จุดนี้คือจุดบนขวา ต่อด้วยล่างขวา สาเหตุ
เพราะคนเราถูกสอนมาให้อ่านหนังสือจากซ้ายไปขวา ดังนั้นโดยธรรมชาติมนุษย์ คนจะมองภาพจากมุมล่างซ้ายของภาพกวาดไป
จนหยุดที่ด้านบนขวาของภาพ ดังนั้นเรื่องราวของภาพมักจะค่อยๆดาเนินขึ้นจากด้านหน้าของภาพจนถึงจุดสนใจ ไม่ใช่ว่าใน
ภาพหนึ่ง อยากให้คนสนใจมากๆ เลยวางจุดสนใจไว้ตรงตาแหน่งจุดตัดทั้งสี่จุดเลย หรือแม้แต่วางไว้สองจุดตรงข้ามกัน โดยมี
น้าหนักเท่ากัน (หมายถึงขนาด สีสัน ลวดลาย ความชัด ความสาคัญ ในระดับเดียวกัน) ภาพนั้นจะถ่วงดุลกันเอง ทาให้คนดู
อึดอัดที่ต้องแบ่งความสนใจออกเป็นสองทาง และทาให้ภาพกลายเป็นขาดความน่าสนใจไปในที่สุด
เส้นนาสายตา
การถ่ายภาพนาสายตา ชื่อก็บอกอยู่เต็มๆ ว่านาสายตา คือ นาสายตาคนดูภาพ ไปสู่พระเอกของเรานั่นเองค่ะ หรือเอาตัว
พระเอกของเราที่อยู่ในเส้นนาสายตาเส้นที่ต้องการ ให้เกิดความเรื่องราว หรือความสงสัยว่า กาลังจะเข้าไปที่ไหนน๊า....
โดยปกติ ลูกเล่นแบบนี้ จะถูกนาไปใช้กับภาพวิวทิวทัศน์ (ประเภท Landscape) อาจจะมีเส้นของแนวต้นไม้ทิวต้นไม้
ดอกไม้เรียงกันเป็นแถว โค้งไปโค้งมาก็ได้พูดไปอาจจะไม่ค่อยเห็นภาพเท่าไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า
รูปร่าง (Shape)
หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของ
วัตถุ สิ่งของเครื่องใช้คน สัตว์ และ พืช มีลักษณะ
เป็น 2 มิติ มีความกว้างและความยาว
รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น คน สัตว์ และ
พืช เป็นต้น
2.รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้างแน่นอน เช่น รูป
สามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น
3.รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ ให้ความรู้สึกที่เป็น
เสรี ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควัน เป็น
ต้น
รูปทรง (Form)
คือ รูปที่ลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง
ความยาวแล้ว ยังมีความลึก หรือความหนา นูน ด้วย เช่น รูปทรงกลม
ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร
ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้ ค่าน้าหนัก หรือการจัด
องค์ประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน
เป็นภาพที่เน้นรูปทรงของวัตถุจะมีมิติกว้าง ยาว และลึก
ได้แก่ วัตถุทรงสี่เหลี่ยม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกลม ทรงกระบอก
ฯลฯ เช่น อาคารสถานที่ วัตถุ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เป็นต้น
โดยรูปทรงที่เด่นชัด มีมิติ จะต้องเลือกทิศทางของแสง และ
มุมมองในการถ่ายภาพให้เหมาะสม เพื่อให้ได้ภาพที่สวยงาม มี
แสงเงา เกิดมิติอย่างชัดเจน ตัวอย่างของภาพที่เน้นรูปทรง คือ
ภาพที่ 1 - 4
ฉากหน้าและฉากหลังในภาพ (Foreground and Background)
การเน้นให้วัตถุหลักในภาพดูโดดเด่นน่าสนใจสามารถทาได้โดยการหาวัตถุรองมาเป็นฉากหน้า และ/หรือฉากหลังให้กับ
วัตถุหลักในภาพ โดยจะต้องคานึงเสมอว่าวัตถุนั้นจะต้องไม่เด่นไปกว่าวัตถุหลักในภาพเป็นเด็ดขาด ด้วยหลักการนี้ เราจึงนิยม
เน้นระยะชัดเฉพาะวัตถุหลักในภาพเป็นหลัก และปล่อยให้ฉากหน้า หรือฉากหลังอยู่นอกระยะชัด ภาพที่ได้จึงจะมีจุดเด่น
เฉพาะวัตถุหลักในภาพและยังช่วยสร้างมิติความลึกให้กับภาพได้อีกทางหนึ่งด้วย
ฉากหน้า หมายถึง การจัดส่วนประกอบในภาพที่อยู่ด้านหน้าวัตถุหลักที่ถ่าย ซึ่งจะสามารถช่วยถ่วงน้าหนักของภาพให้
สมดุล ตัวอย่างเช่น การใช้ปี๊บถั่วงอกมาจัดวางด้านหน้าเพื่อสร้างสมดุลให้กับภาพที่มีคนล้างถั่วงอกอยู่ด้านหลัง เป็นต้น
ฉากหลัง หมายถึง ส่วนประกอบในภาพที่อยู่ด้านหลังของวัตถุหลักที่ถ่าย เรื่องนี้ถือเป็นความละเอียดของช่างภาพ
ก่อนถ่ายภาพทุกครั้ง เพราะฉากหลังที่ดีควรจะเสริมให้วัตถุหลักในภาพดูโดดเด่น น่าสนใจขึ้น เช่น ฉากหลังที่มีโทนสี
เรียบ ฉากหลังที่มีคู่สีตรงข้ามกับสีของวัตถุหลัก หรืออาจจะเลือกฉากหลังที่มีเรื่องราวสอดคล้องอันจะส่งผลให้วัตถุหลัก
ในภาพดูน่าสนใจมากขึ้น แต่ในทางตรงข้าม ถ้าเราเลือกฉากหลังที่ไม่ดี เช่น ฉากหลังที่มีรั้วผุพัง หรือฝาผนังที่มีสีเปรอะ
เปื้อนก็อาจส่งผลให้ภาพลดความสวยงามลงไปได้เช่นกัน
ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพคน สิ่งมีชีวิต วัตถุ ทิวทัศน์ ธรรมชาติต่าง ๆ ควรจัดภาพให้มีฉากหน้าและฉากหลังอย่าง
พอเหมาะ ซึ่งจะช่วยเสริมให้เกิดความงามในภาพถ่ายได้มากยิ่งขึ้น หากไม่รู้จักเลือกฉากหน้าและฉากหลังให้เหมาะสมอาจ
ทาให้ความงามของภาพเสียไป เช่น การถ่ายภาพบุคคลที่มีฉากหลังเป็นต้นไม้หากช่างภาพเลือกมุมถ่ายไม่ดีแล้ว อาจทา
ให้ศีรษะของแบบมีต้นไม้หรือกิ่งไม้โผล่ขึ้นมาได้ในกรณีนี้ควรเปลี่ยนมุมกล้องไปทางซ้ายหรือขวาให้ศีรษะพ้นไปจาก
สิ่งรบกวนเหล่านี้ หรืออาจให้แบบยืนห่างออกมาจากฉากหลังมากขึ้น หรืออาจใช้วิธีเปลี่ยนเลนส์ถ่ายภาพให้เป็นเลนส์เทเล
โฟโต้หรือปรับรูรับแสงให้กว้างขึ้นเพื่อให้ภาพมีระยะชัดเฉพาะตัวแบบ ส่วนฉากหลังที่ได้จะมีลักษณะเบลอลดความคมชัด
ลงไปได้
โปรดติดตามสไลด์ต่อไปนะค่ะ
อ้างอิง
www.thaigoodview.com
www.oknation.net
www.ilovetogo.com
www.photohobby.net
Group.wunjun.com
www.Tangtamfun .com
www.dek-d.com
www.Mornor.com
www.photonorice.com
Map.longdo.com
www.bpsthai.org

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

Composition

  • 2. สาหรับการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่ตรงตามความต้องการ มีคุณค่า มีความงามทางด้าน ศิลปะ นอกจาก จะทาความเข้าใจในเรื่องของการใช้กล้องถ่ายภาพ และเครื่องมือที่มีคุณภาพ แล้ว การจัดองค์ประกอบภาพ ก็เป็นสิ่งที่สาคัญ ที่จะทาให้ภาพมีคุณค่าขึ้น
  • 3. การเน้นจุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพ (Point of Interest) หลักการจัดองค์ประกอบภาพ นอกจากการใช้เส้นนาสายตา การเน้นสี การเน้นรูปร่าง การเน้นรูปทรง การเน้นพื้นผิว และการใช้ ความซ้าซ้อนแล้วสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่จาเป็นต้องมีในการจัดองค์ประกอบภาพก็คือ การเน้นจุดเด่นในภาพ ซึ่งในภาพหนึ่งภาพควรให้ มีจุดสนใจเพียงจุดเดียว อย่าให้ในภาพมีจุดสนใจหรือจุดเด่นหลายจุด เพราะจะทาให้เรื่องราวในภาพขาดความเป็นเอกภาพ (Unity) ดูไม่น่าสนใจ การวางตาแหน่งจุดสนใจในภาพก็ยังมีหลักการอีกว่า ไม่ควรที่จะวางไว้ตรงกลางภาพ เพราะจะทาให้เกิดความรู้สึกสงบนิ่ง ไม่น่าสนใจ วัตถุรอบข้างที่เหลือในภาพจะขาดความน่าสนใจ และไม่เกิดเรื่องราวที่ต่อเนื่องในภาพไปโดยปริยาย ดังนั้นการวางตาแหน่งเพื่อเน้นจุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพ (Point of Interest) จึงนิยมใช้การลากเส้นสมมติขึ้นใน ภาพ โดยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นสามส่วนเท่าๆ กันทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน ซึ่งจะทาให้เราได้ตารางเก้าช่องที่มีขนาดพื้นที่เท่ากันทั้งหมด ในภาพ จึงเป็นที่มาของการเรียกชื่อ "กฎสามส่วน หรือจุดตัดเก้าช่อง (Rule ofThirds)" ซึ่งวิธีการนี้สามารถใช้ได้กับทั้งภาพ แนวนอนและภาพแนวตั้ง
  • 4. จุดตัดที่เกิดขึ้นจากการแบ่งพื้นที่นี้จะมีทั้งหมด 4 จุด ซึ่งนิยมใช้ในการวางตาแหน่งของวัตถุหลักเพื่อให้เป็น จุดเด่นหรือจุดสนใจในภาพนั่นเอง พื้นที่ที่เหลือในภาพ เราสามารถหาจุดสนใจรอง หรือสร้างกิจกรรมให้เกิดขึ้น จากการกระทาของวัตถุหลักในภาพเพื่อให้เกิดเรื่องราวที่สอดคล้องกับสถานที่ ช่วงเวลา ทิศทาง ของแสง และองค์ประกอบอื่นๆ ในภาพ จากหลักการนี้จะทาให้การมองภาพเกิด การเคลื่อนไหว ทั่วไปทั้งภาพ โดยเริ่มจากวัตถุหลัก ซึ่งเป็นจุดเด่นในภาพ ไล่ไปหาวัตถุรอง (ถ้ามี) หรือกิจกรรม และการกระทาที่เกิดขึ้นในภาพนั้น ภาพที่ได้ก็จะมีสวยงามทั้งในแง่ องค์ประกอบภาพ และเรื่องราวที่เกิดขึ้นในภาพ
  • 5. กฎสามส่วน กล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส่น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตาแหน่งที่เหมาะสมสาหรับการจัดวาง วัตถุที่ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่น หลัก ส่วนรายละเอียดอื่นๆนั้น เป็นส่วนสาคัญที่รองลงมา
  • 6. จุดตัดเก้าช่อง การนาเส้นตัดสามส่วนในระนาบแนวนอนกับแนวตั้งมารวมกัน จะเกิดจุดตัดสี่จุด เป็นจุดที่จะวางจุดสาคัญของภาพไว้ เพื่อให้ได้รับความสนใจจากผู้ชมภาพมากที่สุด มีคนบอกว่าจุดที่สาคัญที่สุดในสี่จุดนี้คือจุดบนขวา ต่อด้วยล่างขวา สาเหตุ เพราะคนเราถูกสอนมาให้อ่านหนังสือจากซ้ายไปขวา ดังนั้นโดยธรรมชาติมนุษย์ คนจะมองภาพจากมุมล่างซ้ายของภาพกวาดไป จนหยุดที่ด้านบนขวาของภาพ ดังนั้นเรื่องราวของภาพมักจะค่อยๆดาเนินขึ้นจากด้านหน้าของภาพจนถึงจุดสนใจ ไม่ใช่ว่าใน ภาพหนึ่ง อยากให้คนสนใจมากๆ เลยวางจุดสนใจไว้ตรงตาแหน่งจุดตัดทั้งสี่จุดเลย หรือแม้แต่วางไว้สองจุดตรงข้ามกัน โดยมี น้าหนักเท่ากัน (หมายถึงขนาด สีสัน ลวดลาย ความชัด ความสาคัญ ในระดับเดียวกัน) ภาพนั้นจะถ่วงดุลกันเอง ทาให้คนดู อึดอัดที่ต้องแบ่งความสนใจออกเป็นสองทาง และทาให้ภาพกลายเป็นขาดความน่าสนใจไปในที่สุด
  • 7. เส้นนาสายตา การถ่ายภาพนาสายตา ชื่อก็บอกอยู่เต็มๆ ว่านาสายตา คือ นาสายตาคนดูภาพ ไปสู่พระเอกของเรานั่นเองค่ะ หรือเอาตัว พระเอกของเราที่อยู่ในเส้นนาสายตาเส้นที่ต้องการ ให้เกิดความเรื่องราว หรือความสงสัยว่า กาลังจะเข้าไปที่ไหนน๊า.... โดยปกติ ลูกเล่นแบบนี้ จะถูกนาไปใช้กับภาพวิวทิวทัศน์ (ประเภท Landscape) อาจจะมีเส้นของแนวต้นไม้ทิวต้นไม้ ดอกไม้เรียงกันเป็นแถว โค้งไปโค้งมาก็ได้พูดไปอาจจะไม่ค่อยเห็นภาพเท่าไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า
  • 8. รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของ วัตถุ สิ่งของเครื่องใช้คน สัตว์ และ พืช มีลักษณะ เป็น 2 มิติ มีความกว้างและความยาว รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น คน สัตว์ และ พืช เป็นต้น 2.รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้างแน่นอน เช่น รูป สามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น 3.รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ ให้ความรู้สึกที่เป็น เสรี ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควัน เป็น ต้น
  • 9. รูปทรง (Form) คือ รูปที่ลักษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง ความยาวแล้ว ยังมีความลึก หรือความหนา นูน ด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สึกมีปริมาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่เกิดจากการใช้ ค่าน้าหนัก หรือการจัด องค์ประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน เป็นภาพที่เน้นรูปทรงของวัตถุจะมีมิติกว้าง ยาว และลึก ได้แก่ วัตถุทรงสี่เหลี่ยม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกลม ทรงกระบอก ฯลฯ เช่น อาคารสถานที่ วัตถุ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เป็นต้น โดยรูปทรงที่เด่นชัด มีมิติ จะต้องเลือกทิศทางของแสง และ มุมมองในการถ่ายภาพให้เหมาะสม เพื่อให้ได้ภาพที่สวยงาม มี แสงเงา เกิดมิติอย่างชัดเจน ตัวอย่างของภาพที่เน้นรูปทรง คือ ภาพที่ 1 - 4
  • 10. ฉากหน้าและฉากหลังในภาพ (Foreground and Background) การเน้นให้วัตถุหลักในภาพดูโดดเด่นน่าสนใจสามารถทาได้โดยการหาวัตถุรองมาเป็นฉากหน้า และ/หรือฉากหลังให้กับ วัตถุหลักในภาพ โดยจะต้องคานึงเสมอว่าวัตถุนั้นจะต้องไม่เด่นไปกว่าวัตถุหลักในภาพเป็นเด็ดขาด ด้วยหลักการนี้ เราจึงนิยม เน้นระยะชัดเฉพาะวัตถุหลักในภาพเป็นหลัก และปล่อยให้ฉากหน้า หรือฉากหลังอยู่นอกระยะชัด ภาพที่ได้จึงจะมีจุดเด่น เฉพาะวัตถุหลักในภาพและยังช่วยสร้างมิติความลึกให้กับภาพได้อีกทางหนึ่งด้วย ฉากหน้า หมายถึง การจัดส่วนประกอบในภาพที่อยู่ด้านหน้าวัตถุหลักที่ถ่าย ซึ่งจะสามารถช่วยถ่วงน้าหนักของภาพให้ สมดุล ตัวอย่างเช่น การใช้ปี๊บถั่วงอกมาจัดวางด้านหน้าเพื่อสร้างสมดุลให้กับภาพที่มีคนล้างถั่วงอกอยู่ด้านหลัง เป็นต้น
  • 11. ฉากหลัง หมายถึง ส่วนประกอบในภาพที่อยู่ด้านหลังของวัตถุหลักที่ถ่าย เรื่องนี้ถือเป็นความละเอียดของช่างภาพ ก่อนถ่ายภาพทุกครั้ง เพราะฉากหลังที่ดีควรจะเสริมให้วัตถุหลักในภาพดูโดดเด่น น่าสนใจขึ้น เช่น ฉากหลังที่มีโทนสี เรียบ ฉากหลังที่มีคู่สีตรงข้ามกับสีของวัตถุหลัก หรืออาจจะเลือกฉากหลังที่มีเรื่องราวสอดคล้องอันจะส่งผลให้วัตถุหลัก ในภาพดูน่าสนใจมากขึ้น แต่ในทางตรงข้าม ถ้าเราเลือกฉากหลังที่ไม่ดี เช่น ฉากหลังที่มีรั้วผุพัง หรือฝาผนังที่มีสีเปรอะ เปื้อนก็อาจส่งผลให้ภาพลดความสวยงามลงไปได้เช่นกัน
  • 12. ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพคน สิ่งมีชีวิต วัตถุ ทิวทัศน์ ธรรมชาติต่าง ๆ ควรจัดภาพให้มีฉากหน้าและฉากหลังอย่าง พอเหมาะ ซึ่งจะช่วยเสริมให้เกิดความงามในภาพถ่ายได้มากยิ่งขึ้น หากไม่รู้จักเลือกฉากหน้าและฉากหลังให้เหมาะสมอาจ ทาให้ความงามของภาพเสียไป เช่น การถ่ายภาพบุคคลที่มีฉากหลังเป็นต้นไม้หากช่างภาพเลือกมุมถ่ายไม่ดีแล้ว อาจทา ให้ศีรษะของแบบมีต้นไม้หรือกิ่งไม้โผล่ขึ้นมาได้ในกรณีนี้ควรเปลี่ยนมุมกล้องไปทางซ้ายหรือขวาให้ศีรษะพ้นไปจาก สิ่งรบกวนเหล่านี้ หรืออาจให้แบบยืนห่างออกมาจากฉากหลังมากขึ้น หรืออาจใช้วิธีเปลี่ยนเลนส์ถ่ายภาพให้เป็นเลนส์เทเล โฟโต้หรือปรับรูรับแสงให้กว้างขึ้นเพื่อให้ภาพมีระยะชัดเฉพาะตัวแบบ ส่วนฉากหลังที่ได้จะมีลักษณะเบลอลดความคมชัด ลงไปได้