SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
มาตรการส่งเสริมการส่งออกทาง
ด้านภาษี
มาตรการส่งเสริมการส่งออก
ทางด้านภาษี
 การชดเชยค่าภาษีอากร
 การคืนอากรขาเข้าตามมาตรา 19 ทวิ
 การคืนอากรขาเข้าตามมาตรา 19 สำาหรับสินค้า Re-
Export
 คลังสินค้าทัณฑ์บน
 นิคมอุตสาหกรรม
 การยกเว้นอากรตามกฎหมายส่งเสริมการลงทุน
 เขตปลอดอากร (Free Zone)
การชดเชยค่าภาษีอากร
การชดเชยค่าภาษีอากร (มุมนำ้าเงิน)
 เป็นการคืนค่าภาระภาษีอากร สำาหรับวัตถุดิบที่นำา
เข้าไปผลิตผสม ประกอบหรือบรรจุเป็นสินค้าส่งออก
 อากรที่ได้คืน ได้แก่ อากรขาเข้า ค่าธรรมเนียมภาษี
อื่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีมหาดไทย ที่ผู้นำาของเข้า
ได้เสียหรือวางประกันไว้ขณะนำาเข้า
 จะคำานวณค่าภาษีอากรที่คืนให้ตามสูตรการผลิต
ผู้มีสิทธิได้รับชดเชยค่าภาษี
อากร
 ผู้ทำาการส่งออกตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร
หรือ
 ผู้ทำาการขายสินค้าภายในประเทศให้แก่ส่วนราชการ
หรือรัฐวิสาหกิจตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ
จากต่างประเทศ
 ผู้ทำาการขายสินค้าให้แก่องค์การระหว่างประเทศ
หรือหน่วยงานที่มีสิทธินำาสินค้าเข้ามาในราช
อาณาจักรโดยได้รับการยกเว้นอากรตามกฎหมายว่า
ด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
      
เงื่อนไขการได้รับชดเชยค่า
ภาษีอากร
 ผู้มีสิทธิได้รับเงินชดเชยจะต้องไม่ได้รับคืนหรือ
ยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้าที่ส่งออกที่ใช้
สิทธิประโยชน์ อื่น
 การส่งออกไปจำาหน่ายยังต่างประเทศต้องปฏิบัติถูก
ต้องครบถ้วนตามกฎหมายศุลกากรและได้รับชำาระ
เงินค่าขายสินค้าจากต่างประเทศ
 หากเป็นการส่งออกเพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่ใช่
ทางการค้าจะไม่ได้รับสิทธิชดเชยค่าภาษีอากร
การคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ
มาตรา 19 ทวิ
เป็นการคืนค่าภาระภาษีอากรสำาหรับวัตถุดิบที่นำาเข้า
ได้แก่ อากรขาเข้า ค่าธรรมเนียมภาษีอื่น ภาษี
สรรพสามิต ภาษีมหาดไทย ที่ผู้นำาของเข้าได้เสีย
หรือวางประกันไว้ขณะนำาเข้า เมื่อสามารถพิสูจน์ได้
ว่าได้นำาวัตถุดิบนั้นไปผลิต ผสม ประกอบหรือบรรจุ
เป็นสินค้าส่งออก แล้วก็จะได้รับการคืนอากร
 คำานวณค่าภาษีอากรที่คืนให้ตามสูตรการผลิต
 มีเงื่อนไข ต้องผลิตส่งออกภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่
ได้นำาเข้า และต้องขอคืนเงินอากรภายใน 6 เดือน
นับแต่วันที่ส่งของนั้นออกไป
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคืนอากร
วัตถุดิบที่นำาเข้ามาผลิต เพื่อการส่งออก
ตามมาตรา 19 ทวิ
 (1) ของที่นำาเข้ามา ต้องนำามาผลิต หรือผสม หรือประกอบ
หรือบรรจุ แล้วส่งออกไปต่างประเทศ หรือส่งไปเป็นของใช้
สิ้นเปลืองในเรือเดินทาง ไปต่างประเทศ
(2) ของที่นำาเข้ามาต้องมิใช่ของที่กฎกระทรวงระบุห้ามคืนเงิน
อากร
(3) ปริมาณของที่นำาเข้า ซึ่งใช้ในการผลิต หรือผสม หรือ
ประกอบ หรือบรรจุเป็นของที่ส่งออก ให้ถือตามหลักเกณฑ์ที่
อธิบดีกรมศุลกากรเห็นชอบ หรือประกาศกำาหนดไว้
(4) ของนั้นต้องส่งออกไปทางท่า หรือที่สำาหรับการส่งออก ซึ่ง
ของที่ขอคืนอากรขาเข้า
(5) ของนั้นได้ส่งออกไป ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่นำาของซึ่งใช้
ในการผลิต ผสมหรือประกอบเป็นของที่ส่งออก หรือใช้บรรจุ
ของที่ส่งออกเข้ามาในราชอาณาจักร เว้นแต่ในกรณีมี
เหตุสุดวิสัยทำาให้ไม่อาจส่งออกภายในกำาหนดเวลาดังกล่าว
ได้ อธิบดีกรมศุลกากรอาจขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกิน 6
 ของที่ได้รับคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ
1. วัตถุดิบที่เห็นได้ชัดว่ามีอยู่ในของที่ผลิตเพื่อส่ง
ออก
2. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตโดยตรงที่มีอยู่ในของที่
ผลิตส่งออก แต่ไม่ปรากฎให้เห็นอย่างชัดเจน
3. วัตถุดิบจำาเป็นที่ใช้ในการผลิต
 ของที่ไม่ได้รับคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ
1. เครื่องจักร เครื่องมือ แม่พิมพ์ (Mould) เครื่องใช้
ในการผลิตชนิดต่าง ๆ
2. เชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิต
การคืนอากรขาเข้าตามมาตรา 19 สำาหรับ
สินค้า Re-Export
การคืนอากรขาเข้าตามมาตรา 19
สำาหรับสินค้า Re-Export
 ของที่นำาเข้ามาในราชอาณาจักรและเสียอากรแล้ว
หากส่งกลับออกไปยังเมืองต่างประเทศหรือส่งกลับไป
เป็นของใช้สิ้นเปลืองในเรือเดินทางไปต่างประเทศ
สามารถขอคืนเงินอากรขาเข้าที่ชำาระไว้แล้วได้เก้า
ในสิบส่วน หรือส่วนที่เกินหนึ่งพันบาทของจำานวนที่
เรียกเก็บไว้ โดยคำานวณตามใบขนสินค้าขาออก
แต่ละฉบับ โดยมีเงื่อนไขว่า
          1. ของต้องอยู่ในสภาพเดิมที่นำาเข้า
          2. ต้องส่งกลับออกไปภายใน 1 ปีนับแต่วันนำา
เข้า
คลังสินค้าทัณฑ์บน
คลังสินค้าทัณฑ์บน
 เป็นการให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ส่งออกตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขของคลังสินค้าทัณฑ์บนตามมาตรา 8
และ 8 ทวิ แห่งกฎหมายศุลกากร พ.ศ. 2469 โดยงด
เว้นการเก็บอากรขาเข้าและขาออกแก่ของที่นำาเข้า
มาจากต่างประเทศ และเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บน
เพื่อส่งออกไปยังนอกประเทศ ทั้งนี้ไม่ว่าจะส่งออกใน
สภาพเดิมเหมือนและที่นำาเข้าหรือในสภาพที่ได้ผลิต
ผสมหรือประกอบ เป็นอย่างอื่น
คลังสินค้าทัณฑ์บนที่กรมศุลกากรประกาศกำาหนดให้มีการ
จัดตั้งเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรมี 7
ประเภท ดังนี้
1. คลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า
2. คลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป
3. คลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร
4. คลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไปสำาหรับจัดแสดงสินค้าหรือ
นิทรรศการ (คสท.)
5. คลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไปสำาหรับเก็บนำ้ามัน (คสน.)
6. คลังสินค้าทัณฑ์บนสำาหรับอู่ซ่อมหรือสร้างเรือ
7. เขตคลังสินค้าทัณฑ์บนสำาหรับประกอบการค้าเสรีที่
หัวข้อ
คลังสินค้า
ทัณฑ์บน
ประเภทโรงผลิต
สินค้า
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนทั่วไป
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนทั่วไป
สำาหรับจัดแสดง
สินค้าหรือ
นิทรรศการ
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนประเภท
ร้านค้าปลอด
อากร
สิทธิ
ประโย
ชน์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ยกเว้นอากร
เครื่องจักร และ
วัตถุดิบที่นำาเข้า
มาผลิต ผสม
ประกอบในคลัง
สินค้าทัณฑ์บน
ประเภทโรงผลิต
สินค้า แล้วส่งออก
ไปนอกราช
อาณาจักร หรือส่ง
วัตถุดิบกลับออกไป
ในสภาพเดิมที่นำา
เข้า
 
ยกเว้นอากรแก่
ของที่นำาเข้ามา
จากต่างประเทศ
เพื่อการเก็บ
รักษา การบรรจุ
หรือแบ่งบรรจุ
การกระจาย
สินค้า หรือเพื่อ
กิจการอื่น ๆ ที่
อธิบดีกรมศุลกากร
เห็นสมควร อันจะ
เป็นการสนับสนุน
การผลิต การ
ประกอบ
อุตสาหกรรม และ
ยกเว้นอากร แก่
ของที่นำาเข้ามา
จากต่างประเทศ
หรือของที่นำาเข้า
มาโดย ได้รับสิทธิ
ในการขอคืนอากร
ตามมาตรา 19 ทวิ
ของที่ได้รับการ
ยกเว้นอากร ตาม
กฎหมายศุลกากร
หรือกฎหมาย
ศุลกากร หรือ
กฎหมายอื่น หรือ
ของในประเทศ ซึ่ง
ยกเว้นอากรสำาหรับ
ของ ที่นำาเข้ามา
แสดง และขายของ
ในคลังสินค้า
ทัณฑ์บน ประเภท
ร้านค้าปลอดอากร
โดยปฏิบัติตาม
ระเบียบ ที่อธิบดี
กำาหนด
 
 
 
 
เปรียบเทียบมาตรการส่งเสริมการส่งออก
โดยคลังสินค้าทัณฑ์บน
 
หัวข้อ
คลังสินค้า
ทัณฑ์บน
ประเภทโรง
ผลิตสินค้า
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนทั่วไป
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนทั่วไป
สำาหรับจัดแสดง
สินค้าหรือ
นิทรรศการ
คลังสินค้า
ทัณฑ์บนประเภท
ร้านค้าปลอด
อากร
อำานาจ
การ
อนุมัติ
จัดตั้ง
ของ
อธิบดี
กรม
ศุลกากร
มาตรา 8 ทวิ (2)
แห่ง พ.ร.บ.
ศุลกากร พ.ศ.
2469
 
 
มาตรา 8 แห่ง
พ.ร.บ. ศุลกากร
พ.ศ.2469
 
 
มาตรา 8 แห่ง
พ.ร.บ. ศุลกากร
พ.ศ. 2469
 
 
มาตรา 8 ทวิ (1)
แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร
พ.ศ.2469
 
 
ระยะ
เวลาใน
การเก็บ
ของ ใน
คลัง
สินค้า
2 ปี นับแต่วันนำา
ของเข้ามาในราช
อาณาจักร
 
 
2 ปี นับแต่วันนำา
ของเข้ามาในราช
อาณาจักร
 
 
1. กรณีของนำา
เข้า - เท่าที่
กำาหนดเวลา ที่จัด
แสดงเท่านั้น โดย
ต้องนำาของดัง
กล่าว ออกจาก
คลังฯ ภายใน 60
2 ปี นับแต่วันนำา
ของเข้ามา ในราช
อาณาจักร
 
 
เปรียบเทียบมาตรการส่งเสริมการส่งออก
โดยคลังสินค้าทัณฑ์บน
 
นิคมอุตสาหกรรม
นิคมอุตสาหกรรม
 พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.
2522 จัดตั้งการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยขึ้นเป็น
รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีชื่อย่อว่า “กนอ.” มี
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งหลายประการ โดยเริ่มจากการ
จัดหาที่ดินที่เหมาะสมเพื่อจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรม
หรือเพื่อดำาเนินธุรกิจอื่นที่จะเป็นประโยชน์ดำาเนินการ
ปรับปรุงที่ดินเพื่อให้บริการตลอดจนจัดสิ่งอำานวยความสะดวก
ในการดำาเนินงานรวมทั้งสาธารณูปโภคต่างๆให้แก่ผู้ประกอบ
กิจการอุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรมพื้นที่เขตนิคม
อุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น2 ลักษณะ คือ
พื้นที่เขตอุตสาหกรรมทั่วไป อันเป็นเขตพื้นที่ที่กำาหนดไว้
สำาหรับการประกอบอุตสาหกรรมและกิจการอื่นที่เป็น
ประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรม
พื้นที่เขตอุตสาหกรรมส่งออก อันเป็นเขตพื้นที่ที่กำาหนด
ไว้สำาหรับการประกอบอุตสาหกรรม การค้าหรือบริการ เพื่อส่ง
สินค้าออกไปจำาหน่ายยังต่างประเทศและกิจการอื่นที่เป็น
ประโยชน์หรือเกี่ยวกับการประกอบอุตสาหกรรมการค้าหรือ
 เขตอุตสาหกรรมส่งออก ที่มีสำานักงานศุลกากรตั้งอยู่มี 10 แห่ง
ได้แก่
1.นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง (กรุงเทพฯ)
2. นิคมอุตสาหกรรมบางปู (สมุทรปราการ)
3. นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (ลำาพูน)
4. นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (ชลบุรี)
5. นิคมอุตสาหกรรมบ่อวิน (ชลบุรี)
6. นิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า (อยุธยา)
7. นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (อยุธยา)
8. นิคมอุตสาหกรรมแปลงยาว (เกตเวย์ซิติ ฉะเชิงเทรา)
9.นิคมอุตสาหกรรมส่งออกภาคใต้ (สงขลา)
10. นิคมอุตสาหกรรมพิจิตร (พิจิตร)
การยกเว้นอากรตามกฎหมายส่ง
เสริมการลงทุน
การยกเว้นอากรตามกฎหมายส่ง
เสริมการลงทุน
  การส่งเสริมการลงทุนเป็นมาตรการหนึ่งในหลาย
มาตรการในการดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศให้เข้า
มาลงทุนในประเทศไทย โดยมีหน่วยงานหลักที่ดูแลรับ
ผิดชอบด้านการส่งเสริมการลงทุน คือ สำานักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการลงทุน
 สำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ได้ให้สิทธิ
ประโยชน์ทางด้านภาษีอากรแก่ผู้ประกอบการในเขตส่ง
เสริมการลงทุน กรมศุลกากรกำาหนดระเบียบปฏิบัติ
สำาหรับการปฏิบัติในการนำาเข้าเครื่องจักรและวัตถุดิบ
ของผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติจากสำานักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการลงทุนให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ
ด้านภาษีอากรขาเข้า รวมไปถึงควบคุมดูแล อำานวย
ความสะดวกและให้คำาแนะนำาแก่ผู้ประกอบการในส่วนที่
เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากร
เขตปลอดอากร (Free Zone)
เขตปลอดอากร (Free Zone)
 เขตปลอดอากร หมายถึงเขตพื้นที่ที่กำาหนดไว้
สำาหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือ
กิจการอื่นที่เป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของ
ประเทศ โดยของที่นำาเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับ
สิทธิประโยชน์ทางอากรตามที่กฎหมายบัญญัติ
สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความ
ตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ 
สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความ
ตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ 
 กระทรวงการคลังกำาหนดให้ลดหรือยกเว้นอัตรา
อากรสำาหรับของนำาเข้าที่มีแหล่งกำาเนิดจากประเทศ
ที่เป็นภาคีของข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตรา
ศุลกากรและการค้า (GATT) หรือจากประเทศอื่นที่
ได้ทำาความตกลงทางการค้าระหว่างประเทศทั้งแบบ
แบบทวิภาคีหรือพหุภาคีกับประเทศไทย โดยผู้นำา
ของเข้าต้องแสดงหลักฐานรับรองแหล่งกำาเนิด
สินค้าและปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากร
กำาหนดการให้สิทธิพิเศษทางศุลกากรตามความ
ตกลงทางการค้าระหว่างประเทศซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่
กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้า
 กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้า (Rules of Origin:
ROO) คือ กฎเกณฑ์ที่ใช้กำาหนดสัญชาติที่แท้จริงของ
สินค้า ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญในกฎทางการค้า เนื่องจาก
สามารถนำามาใช้เป็นนโยบายเพื่อกีดกันทางการค้า
ระหว่างประเทศผู้ส่ง ออก อาทิ การกำาหนดโควตา
อัตราภาษีพิเศษ มาตรการป้องกันการทุ่มตลาด ได้ อีก
ทั้ง โลกาภิวัฒน์ และกระบวนการผลิตซึ่งมีการส่งผ่าน
หลายประเทศก่อนจะเป็นผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูป ก็ยิ่ง
ทำาให้ กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้า ทวีความซับซ้อน
มากขึ้น
แนวปฏิบัติในเรื่องแหล่งกำาเนิด
สินค้า
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไป เช่น
หลักเกณฑ์เรื่องการเปลี่ยนแปลงประเภทพิกัดอัตรา
ศุลกากร
การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของแหล่งกำาเนิดวัตถุดิบ
ความซับซ้อนของกระบวนการผลิต
กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้า
1. กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้าที่ใช้เป็นการทั่วไป
(Non-preferential Rules of Origin)เพื่อกำาหนด
มาตรการทางการค้า อาทิ มาตรการป้องกันการทุ่ม
ตลาด การกำาหนดปริมาณ การกำาหนดโควตา ฯลฯ และ
ยังใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางข้อมูลสถิติ
2. กฎว่าด้วยแหล่งกำาเนิดที่ ใช้เฉพาะภูมิภาค
(Preferential Rules of Origin) มีประโยชน์สำาหรับ
การค้าระหว่างประเทศคู่ค้าซึ่งมีการลดอัตราภาษี หรือ
กำาหนดอัตราภาษีไว้เป็นศูนย์
• เพื่อกำาหนดมาตรการและนโยบายทางการค้า อาทิ
มาตรการป้องกันการทุ่มตลาด และมาตรการปกป้องภาค
เศรษฐกิจที่มีความอ่อนไหว
• เพื่อพิจารณาสิทธิประโยชน์ต่างๆในการนำาเข้า
• เพื่อประโยชน์ในด้านสถิติ
• เพื่อประโยชน์ในการกำาหนดเครื่องหมายเลขหมาย
หีบห่อ
• เพื่อประโยชน์ของภาครัฐในการจัดซื้อจัดจ้าง
การใช้ประโยชน์ของกฎว่า
ด้วยแหล่งกำาเนิดสินค้า
ใบรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ
 หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ (Certificate of
Origin : CO) คือเอกสำรที่ออกโดยหน่วยงำนที่มี
อำำนำจตำมที่ระบุไว้ในแต่ละควำมตกลงของ ประเทศ
สมำชิกภำคีผู้ส่งออก(ผู้ผลิต) เพื่อเป็นหลักฐำนยืนยัน
กำรได้ถิ่นกำำเนิดของสินค้ำที่ส่งมำจำกประเทศ
สมำชิก ภำคีผู้ส่งออก(ผู้ผลิต) ซึ่งจะนำำมำใช้เป็นหลัก
ฐำนเพื่อขอรับสิทธิพิเศษทำงภำษีศุลกำกรในประเทศ
สมำชิก ภำคีผู้นำำเข้ำ
ผู้นำำเข้ำควรตรวจสอบควำมถูกต้องของหนังสือ
รับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ ตำมเงื่อนไขที่แตกต่ำงกันไป
ตำมข้อตกลงของเขตกำรค้ำเสรีแต่ละฉบับ ก่อนนำำ
ประเภทของหนังสือรับรองถิ่น
กำำเนิดสินค้ำ
1.  หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำทั่วไป
(Ordinary Certificate of Origin) คือเอกสำรที่ใช้
เพื่อยืนยันกับผู้ซื้อว่ำ สินค้ำที่ส่งออกไปนั้น ประกอบ
ด้วยวัตถุดิบภำยในประเทศ มีกำรผลิต หรือผ่ำนขั้น
ตอนกระบวนกำรผลิตภำยในประเทศไทย
2. หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำแบบพิเศษ
(Preferential Certificate of Origin) คือเอกสำรที่
ใช้เพื่อเพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขันได้ โดย
ทำำให้ผู้ซื้อสำมำรถมีสิทธิพิเศษทำงภำษีอำกร ใน
กำรนำำเข้ำสินค้ำนั้นๆ ตำมหลักเกณฑ์เงื่อนๆไขของ
แต่ละควำมตกลง
หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ
แบบพิเศษ (Preferential
Certificate of Origin)
 1)    ฟอร์ม A (Certificate of Origin Form A)
 2)    ฟอร์ม FTA (Certificate of Origin Form
FTA)
 ฟอร์ม ดี
 ฟอร์ม อี
 ฟอร์ม เอเจ
 3)    ฟอร์ม GSTP (Certificate of Origin Form
GSTP)
 4)    ฟอร์ม AISP (Certificate of Origin Form
FTA AISP)
1)    ฟอร์ม A (Certificate of
Origin Form A)
 ออกให้สำำหรับสินค้ำนำำเข้ำที่ได้สิทธิ์ อัตรำภำษีพิเศษ
ตำมเงื่อนไข GSP ที่อนุญำตโดยกลุ่มประเทศ และ
ประเทศต่ำงๆ อำทิ สหภำพยุโรป (EU), สวิตเซอร์
แลนด์, ญี่ปุ่น, แคนำดำ, นอร์เวย์ เป็นต้น
2)    ฟอร์ม FTA
(Certificate of Origin
Form FTA) ออกให้สำำหรับสินค้ำนำำเข้ำที่ได้สิทธิพิเศษทำงภำษีอำกรตำม
เงื่อนไขของข้อตกลงเขตกำรค้ำเสรี ได้แก่ เขตกำรค้ำเสรี
อำเซียน  เขตกำรค้ำเสรีอำเซียน-จีน   เขตกำรค้ำเสรีไทย-
ออสเตรเลีย เขตกำรค้ำเสรีไทย-นิวซีแลนด์ เขตกำรค้ำเสรี
ไทย-อินเดีย เขตกำรค้ำเสรีไทย-ญี่ปุ่น และเขตกำรค้ำเสรี
อำเซียน-ญี่ปุ่น
 ในกำรนำำเข้ำโดยขอใช้สิทธิพิเศษทำงภำษีอำกรภำยใต้เขต
กำรค้ำเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ไม่ต้องนำำหนังสือรับรองถิ่นกำำเนิด
มำแสดงแต่ให้รับรองกำรได้ถิ่นกำำเนิดของสินค้ำในบัญชีรำคำ
สินค้ำ (invoice) หรือเอกสำรกำำกับสินค้ำอื่นใด
 บำงเขตกำรค้ำเสรี หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำจะมีชื่อเรียก
เฉพำะ ดังนี้
เขตกำรค้ำเสรีอำเซียน หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ เรียกว่ำ
ฟอร์ม ดี
เขตกำรค้ำเสรีอำเซียน-จีน หนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ
3)    ฟอร์ม GSTP (Certificate of
Origin Form GSTP)
 ออกให้สำำหรับสินค้ำนำำเข้ำที่ได้สิทธิพิเศษทำงภำษี
อำกรจำก 40 ประเทศกำำลังพัฒนำ อำทิ แอลจีเรีย,
อำร์เจนตินำ, บังกลำเทศ, โบลิเวีย, บรำซิล,
แคเมอรูน, ชิลี และ คิวบำ เป็นต้น
4)    ฟอร์ม AISP (Certificate of
Origin Form FTA AISP)
 กัมพูชำ  ลำว พม่ำเป็นผู้ออกฟอร์มนี้ เพื่อขอรับสิทธิ
พิเศษทำงภำษีอำกรสำำหรับสินค้ำที่นำำเข้ำ
ประเทศไทย
กำรขอหนังสือรับรองถิ่นกำำเนิด
สินค้ำ
หน่วยงำนที่ออกหนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำ
•    กรมกำรค้ำต่ำงประเทศ กระทรวงพำณิชย์ เป็นหน่วยงำน
ที่ออกหนังสือรับรองถิ่นกำำเนิดสินค้ำแบบพิเศษ (Preferential
Certificate of Origin)
ติดต่อที่สำำนักบริกำรกำรค้ำระหว่ำงประเทศ กรมกำรค้ำต่ำง
ประเทศ
•    หอกำรค้ำไทย
•    สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย
Exim13สิทธิประโยชน์

More Related Content

What's hot

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งchakaew4524
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการคู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการUtai Sukviwatsirikul
 
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...Pakapol Perabull
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 

What's hot (20)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการคู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
 
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...
[Slide]ศึกษาโครงสร้างตลาดและกลยุทธ์การแข่งขันธุรกิจ 'ร้านบอร์ดเกม (Board Game...
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 

More from Wannarat Wattananimitkul

Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งWannarat Wattananimitkul
 
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีExim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีWannarat Wattananimitkul
 
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออกExim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออกWannarat Wattananimitkul
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศWannarat Wattananimitkul
 
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศExim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศWannarat Wattananimitkul
 
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าExim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าWannarat Wattananimitkul
 
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศ
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศExim6การชำระเงินระหว่างประเทศ
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศWannarat Wattananimitkul
 
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อExim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อWannarat Wattananimitkul
 
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการExim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการWannarat Wattananimitkul
 
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้า
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้าExim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้า
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้าWannarat Wattananimitkul
 
Exim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาExim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาWannarat Wattananimitkul
 
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าWannarat Wattananimitkul
 

More from Wannarat Wattananimitkul (15)

Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
 
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีExim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออกExim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
Exim14เอกสารเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
 
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศExim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
Exim9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
 
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าExim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
 
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศ
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศExim6การชำระเงินระหว่างประเทศ
Exim6การชำระเงินระหว่างประเทศ
 
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อExim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
 
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการExim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
 
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้า
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้าExim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้า
Exim2การดำเนินธุรกิจส่งออกนำเข้า
 
Exim1บทนำ
Exim1บทนำExim1บทนำ
Exim1บทนำ
 
Exim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาExim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชา
 
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 

Exim13สิทธิประโยชน์