SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1




พ่อ แม่ จ๋า ทราบมัยว่า ก่อนออกมาดูโลก ... หนูอาจ
                  ๊
พบ ... อะไรบ้าง
โดย นายแพทย์ วิริยะ เล็กประเสริฐ


       เมื่อตั้งครรภ์ได้จนถึงวันคลอด โดยผ่านปัญหาและภาวะแทรกซ้อน
ต่าง ๆ ของการตั้งครรภ์มาได้ระดับหนึ่ง ถือว่าเป็นความโชคดีของทุก ๆ
คนที่เกี่ยวข้อง ในวันคลอดก็มีความสำาคัญอีกขั้นหนึ่ง เนืองจากความ
                                                       ่
เสี่ยงต่าง ๆ ที่ไม่คาดหวังอาจเกิดขึ้นได้ ในส่วนของทารกที่ครบกำาหนด
ในการคลอดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ โรคหรือปัญหาที่จะกล่าวถึงนี้
มีความเสี่ยงในการเกิดน้อยกว่าทารกที่ไม่ครบกำาหนดมาก

     โรคแทรกซ้อนที่ทารกครบกำาหนดอาจต้องพบเมื่อคลอด เท่าที่
รวบรวมได้มีดังนี้ครับ

      1.   กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ
      2.   กลุ่มอาการ การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า
      3.   ภาวะเสียเลือดในทารกแรกเกิด
      4.   ภาวะเกร็ดเลือดตำ่า
      5.   ภาวะเลือดข้นมากเกินไป

กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ
( respiratory distress syndrome )
      ทารกที่คลอดในอายุครรภ์ครบกำาหนดสามารถพบปัญหานี้ได้ แม้ว่า
จะพบได้น้อยกว่าทารกที่คลอดก่อนกำาหนด สาเหตุอาจเป็นได้จากหลาย
อย่าง ได้แก่ ร่างกายมีการอักเสบที่สงสัยว่าเกิดจากเชื้อจุลชีพ ( sepsis ) ,
ภาวะแรงดันสูงค้างในปอดของทารก ( persistent pulmonary hypertension of the
newborn ) , การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า , การมีเลือดออกในปอด

การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า ( meconium aspiration syndrome )
       ภาวะนี้เกิดจากทารกสูดนำ้าครำ่าที่มีตะกอนเข้าไปในทางเดินหายใจ
ทำาให้เกิดปฏิกิริยาปอดอักเสบ จากสารเคมีของตะกอนดังกล่าว และ
ตะกอนมีขนาดใหญ่ก็ทำาให้เกิดการอุดตันโดยตรง ทำาให้ออกซิเจนเข้าสู่
กระแสเลือดไม่ได้ ในรายที่เกิดปฏิกิริยารุนแรง จะเกิดภาวะแรงดันสูงค้าง
ในปอดทารกจนเกิดความพิการหรือเสียชีวิตของทารกได้
       สารตะกอนในนำ้าครำ่าสามารถพบได้ในทารกครบกำาหนดประมาณ ร้อย
ละ 20 ในการคลอดทุกครั้งทารกจะได้รับการช่วยเหลือโดยการดูดนำ้าครำ่า
2


จากบริเวณช่องปากและช่องจมูกทันที เพื่อลดปริมาณการสูดนำ้าครำ่าอยู่
แล้ว แต่ในภาวะที่มสารตะกอนในนำ้าครำ่ามากก็ยังสามารถพบการสำาลักนำ้า
ครำ่าได้ประมาณ ร้อยละ 2 – 5




ภาวะเสียเลือดในทารกแรกเกิด ( hemorrhagic disease of the newborn )
      การเสียเลือดดังกล่าวของทารกนี้อาจเป็นการเสียเลือดภายในหรือ
ภายนอกร่างกายก็ได้ ส่วนมากมักเกิดจากสารที่ช่วยในการแข็งตัวของ
เลือดมีปริมาณน้อย สารดังกล่าวต้องอาศัยการทำางานของ วิตามิน เค ร่วม
ด้วย นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับปริมาณสารอื่น ๆ อีก ได้แก่ โปรธรอมบิน
โปรตีน ซี และโปรตีน เอส เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดนี้เราไม่สามารถทราบ
ได้ก่อนคลอด

ภาวะเกร็ดเลือดตำ่า ( thrombocytopenia )
      ภาวะเกร็ดเลือดตำ่าทำาให้ทารกมีความเสี่ยงต่อการเสียเลือดได้มากขึ้น
ภาวะนี้จะรุนแรงมากขึ้นในรายที่คลอดก่อนกำาหนด โดยเฉพาะถ้ามีภาวะ
แทรกซ้อนอื่นร่วมด้วย ได้แก่ ร่างกายมีการอักเสบที่สงสัยว่าเกิดจากเชื้อ
จุลชีพ กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ และ
ภาวะออกซิเจนในเลือดตำ่า
       การที่เกล็ดเลือดทารกมีปริมาณตำ่ามีได้หลายสาเหตุ ได้แก่ ได้รับ
สารในระบบภูมิคุ้มกันจากมารดามากระตุ้น , ได้รับยาบางอย่าง , มีความผิด
ปกติทางโลหิตวิทยาของทารกเองตั้งแต่กำาเนิด แตอย่างไรก็จามเราไม่
สามารถทราบปริมาณเกร็ดเลือดของทารกก่อนคลอดได้ครับ
      ภายหล้งการคลอด 48 – 72 ชม. เกร็ดเลือดของทารกมักจะมีปริมาณ
ลดลงอย่างรวดเร็วได้บ่อย ดังนั้นหากเกร็ดเลือดมีน้อยอยู่แล้ว อาจทำาให้
เกิดปัญหาได้

ภาวะเลือดข้นมากเกินไป ( polycythemia )
      พบในทารกที่มีปริมาณเลือดตำ่าอย่างเรื้อรังตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ภาวะนี้
ทำาให้ทารกมีอาการเขียวคลำ้า เกร็ดเลือดตำ่า นำ้าตาลในเลือดตำ่า และมีสาร
เหลืองในร่างกายสูงได้มาก

       นอกจากโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ในช่วงการคลอดดังที่ได้กล่าวไปแล้ว
ยังมีความเสี่ยงอีกรูปแบบหนึ่งที่ทารกเผชิญ ก่อนที่ทารกจะได้พบกับคุณ
แม่ คุณพ่อ คือ โอกาสที่อาจจะบาดเจ็บจากการคลอด ในการคลอด
ทางช่องคลอด การใช้เครื่องมือช่วยดึง หรือ ดูดออกทางช่องคลอด และ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ต่างก็มีข้อดี ข้อเสีย และความเสี่ยงที่แตก
3


ต่างกัน จะคลอดด้วยวิธีใด คุณพ่อ คุณแม่ คงต้องพูดคุย และปรึกษากับ
แพทย์ที่ดูแลว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุด
       การบาดเจ็บจากการคลอดที่รวบรวมได้ มีดังนี้

  1. การเสียเลือดภายในศีรษะ ( spontsneous intracranial hemorrhage )
     จากการรวบรวมพบว่าหากเกิดการคลอดในช่วงอายุครรภ์ตั้งแต่ 23 –
  25 สัปดาห์ พบภาวะเลือดออกในสมองระดับรุนแรง ได้ประมาณ
  ร้อยละ 7.1 ส่วนการคลอดครบกำาหนดจะพบการเสียเลือดในศีรษะได้
  ร้อยละ 6 ในรายที่คลอดโดยธรรมชาติ หากคลอดโดยใช้คีมช่วยดึงพบ
  ได้ร้อยละ 28

  2. การบาดเจ็บต่อเส้นประสาท ( nerve injury )
      ในรายที่มีการคลอดยาก ๆ มีโอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บต่อส้น
  ประสาทได้ เช่น การบาดเจ็บต่อไขสันหลัง ซึ่งพบได้ในการใช้คีม
  ช่วยคลอด หรือในการคลอดท่าก้น การบาดเจ็บต่อแขนงประสาท
  ส่วนแขน พบ




      ได้ประมาณ 1 ใน 500 ของการคลอดทารกครบกำาหนด และมัก
  เป็นการคลอดท่าก้น การอัมพาตบริเวณใบหน้า พบได้ประมาณ 7.5
  ต่อ 1,000 ของการคลอดครบกำาหนด ในรายที่คลอดโดยการใช้คีมพบ
  ได้ร้อยละ 18 แต่กรณีที่คลอดโดยธรรมชาติ หรือการผ่าคลอดก็พบได้

      3. การบาดเจ็บต่อกระดูกและกล้ามเนื้อ ( musculo - skeletal
  injury ) ในรายที่มีการคลอดยาก และมีการบาดเจ็บแตกหักที่กระดูก
  มักจะพบบริเวณ กระดูกไหปลาร้า ซึ่งพบได้ประมาณ ร้อยละ 0.3 – 1.8
  ส่วนที่พบได้รองลงมาได้แก่ กระดูกแขนท่อนบน กระดูกโคนขา และ
  ส่วนกระโหลกศีรษะ
     ส่วนการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ มักพบที่ตำาแหน่งบริเวณลำาคอ ซึ่งพบ
  ได้ร้อยละ 61.4 ในรายที่มีการคลอดท่าก้น และการหมุนกลับท่าทารก
  ขณะที่อยู่ในครรภ์

      มีการบาดเจ็บอีกชนิดหนึ่งที่ไม่ได้เกิดจากการคลอด แต่เกิดจาก
  ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างที่ค่อย ๆ เกิดขึ้นตั้งแต่ในครรภ์แล้ว เรียกว่า
  การบาดเจ็บที่มีมาแต่กำาเนิด ( congenital injury ) ได้แก่กลุ่มอาการที่
  เกิดจาก แถบรัดของถุงนำ้าครำ่า ( amnionic band syndrome ) และ
  ความผิดปกติของท่าผิดรูปที่เป็นมาแต่กำาเนิด ( congenital postural
  deformities )

    อาการที่เกิดจากแถบรัดของถุงนำ้าครำ่า เกิดจากการกดทับ หรือ
  การบีบรัดที่เกิดขึ้นในตำาแหน่งที่มนำ้าครำ่าน้อยมากหรือไม่มีเลย ซึ่งอาจ
                                    ี
4


เกิดจากนิ้ดจากนำ้าครำ่ารั่วอยู่นาน ๆ ทำาให้การเจริญของเนื้อเยื่อ หรือ
อวัยวะในตำาแหน่งนันผิดปกติไป บางครั้งทำาให้เกิดการหายไปของ
                   ้
อวัยวะนั้นเลย
    ความผิดปกติของท่าผิดรูปที่เป็นมาแต่กำาเนิด เกิดจากหลาย
สาเหตุ ได้แก่ นำ้าครำ่าน้อย พื้นที่ในมดลูกมีขนาดเล็ก เนื่องจากมีเนื้อ
งอกมดลูก หรือมดลูกมีรูปร่างที่ผิดปกติ หรือจากการตั้งครรภ์ที่มากกว่า
ครรภ์เดี่ยว ทำาให้ทารกเกิดท่าที่ผิดรูป เช่น เท้าปุก หลังโก่ง หลังคด
ข้อสะโพกเคลื่อน และช่องอกไม่เจริญทำาให้เนื้อปอดไม่เจริญได้

    ทั้งหมดที่คุยมาเป็นสรุปอย่างย่อ ๆ พอให้ทราบกันว่า ก่อนทารก
คลอดออกมาพบ คุณแม่ คุณพ่อ ได้นั้น มีความเสี่ยงที่ทารกมีโอกาส
เจอมากมาย หลายอย่างเราไม่อาจทราบมาก่อนได้
    เนื้อหานี้แปลและเรียบเรียงมาจากตำาราทางสูติศาสตร์ Williams
edition 23 rd. , 2010 . ที่ถือว่าเป็นมาตราฐานสากลระดับนานาชาติ ข้อมูล
ตัวเลขที่เป็นความเสี่ยงต่าง ๆ ไม่ใช่ข้อมูลจำาเพาะในไทย แตเราก็คง
พอนำามาใช้เป็นแนวทางได้ รายละเอียดของแต่ละโรค หรือการบาด
เจ็บแต่ละอย่างคงไม่พูดถึงตรงนี้ เนื่องจากรายละเอียดมันมากจริง ๆ
ครับ แต่ก็ขอให้คุณแม่และหนูน้อยในครรภ์ผ่านการตั้งครรภ์และการ
คลอดด้วยดีทุกคนครับ

More Related Content

More from viriyalekprasert

Fate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareFate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareviriyalekprasert
 
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...viriyalekprasert
 
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”viriyalekprasert
 
กลไกการคลอด
กลไกการคลอดกลไกการคลอด
กลไกการคลอดviriyalekprasert
 
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างviriyalekprasert
 
ไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีviriyalekprasert
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆviriyalekprasert
 
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์viriyalekprasert
 
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...viriyalekprasert
 
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดมาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดviriyalekprasert
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อviriyalekprasert
 
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbJ:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital TuberculosisF:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosisviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010viriyalekprasert
 

More from viriyalekprasert (16)

Fate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshareFate (faith) will never fade for slideshare
Fate (faith) will never fade for slideshare
 
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ”  โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ  ส...
มีผู้ถามเรื่อง “ โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ” โดย น.พ. วิริยะ เล็กประเสริฐ ส...
 
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”Review  “Abortion ” from “William Obstetrics ”
Review “Abortion ” from “William Obstetrics ”
 
กลไกการคลอด
กลไกการคลอดกลไกการคลอด
กลไกการคลอด
 
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้างตอนคลอด   ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
ตอนคลอด ทารกต้องเสี่ยงกับอะไรบ้าง
 
ไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรีไส้เลื่อนสตรี
ไส้เลื่อนสตรี
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
 
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์ความเสี่ยงของสตรี   เมื่อตั้งครรภ์
ความเสี่ยงของสตรี เมื่อตั้งครรภ์
 
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
Important of fetal movement and weight not increase by morsutenare.page4.me f...
 
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิดมาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
มาคุยกันเรื่องคุมกำเนิด
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
 
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtbJ:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
J:\งาน powerpoint and word\งานต๊อก\slide present\pp.fgtb\success preg in fgtb
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital TuberculosisF:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
F:\งาน Powerpoint And Word\Paper Female Genital Tuberculosis
 
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
F:\งาน Powerpoint And Word\Fgtb2010
 

F:\งาน Powerpoint And Word\พ่อ แม่ จ๋า ทราบมั๊ยว่า ก่อนออกมาดูโลก

  • 1. 1 พ่อ แม่ จ๋า ทราบมัยว่า ก่อนออกมาดูโลก ... หนูอาจ ๊ พบ ... อะไรบ้าง โดย นายแพทย์ วิริยะ เล็กประเสริฐ เมื่อตั้งครรภ์ได้จนถึงวันคลอด โดยผ่านปัญหาและภาวะแทรกซ้อน ต่าง ๆ ของการตั้งครรภ์มาได้ระดับหนึ่ง ถือว่าเป็นความโชคดีของทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้อง ในวันคลอดก็มีความสำาคัญอีกขั้นหนึ่ง เนืองจากความ ่ เสี่ยงต่าง ๆ ที่ไม่คาดหวังอาจเกิดขึ้นได้ ในส่วนของทารกที่ครบกำาหนด ในการคลอดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ โรคหรือปัญหาที่จะกล่าวถึงนี้ มีความเสี่ยงในการเกิดน้อยกว่าทารกที่ไม่ครบกำาหนดมาก โรคแทรกซ้อนที่ทารกครบกำาหนดอาจต้องพบเมื่อคลอด เท่าที่ รวบรวมได้มีดังนี้ครับ 1. กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ 2. กลุ่มอาการ การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า 3. ภาวะเสียเลือดในทารกแรกเกิด 4. ภาวะเกร็ดเลือดตำ่า 5. ภาวะเลือดข้นมากเกินไป กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ ( respiratory distress syndrome ) ทารกที่คลอดในอายุครรภ์ครบกำาหนดสามารถพบปัญหานี้ได้ แม้ว่า จะพบได้น้อยกว่าทารกที่คลอดก่อนกำาหนด สาเหตุอาจเป็นได้จากหลาย อย่าง ได้แก่ ร่างกายมีการอักเสบที่สงสัยว่าเกิดจากเชื้อจุลชีพ ( sepsis ) , ภาวะแรงดันสูงค้างในปอดของทารก ( persistent pulmonary hypertension of the newborn ) , การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า , การมีเลือดออกในปอด การสำาลักสารตะกอนในนำ้าครำ่า ( meconium aspiration syndrome ) ภาวะนี้เกิดจากทารกสูดนำ้าครำ่าที่มีตะกอนเข้าไปในทางเดินหายใจ ทำาให้เกิดปฏิกิริยาปอดอักเสบ จากสารเคมีของตะกอนดังกล่าว และ ตะกอนมีขนาดใหญ่ก็ทำาให้เกิดการอุดตันโดยตรง ทำาให้ออกซิเจนเข้าสู่ กระแสเลือดไม่ได้ ในรายที่เกิดปฏิกิริยารุนแรง จะเกิดภาวะแรงดันสูงค้าง ในปอดทารกจนเกิดความพิการหรือเสียชีวิตของทารกได้ สารตะกอนในนำ้าครำ่าสามารถพบได้ในทารกครบกำาหนดประมาณ ร้อย ละ 20 ในการคลอดทุกครั้งทารกจะได้รับการช่วยเหลือโดยการดูดนำ้าครำ่า
  • 2. 2 จากบริเวณช่องปากและช่องจมูกทันที เพื่อลดปริมาณการสูดนำ้าครำ่าอยู่ แล้ว แต่ในภาวะที่มสารตะกอนในนำ้าครำ่ามากก็ยังสามารถพบการสำาลักนำ้า ครำ่าได้ประมาณ ร้อยละ 2 – 5 ภาวะเสียเลือดในทารกแรกเกิด ( hemorrhagic disease of the newborn ) การเสียเลือดดังกล่าวของทารกนี้อาจเป็นการเสียเลือดภายในหรือ ภายนอกร่างกายก็ได้ ส่วนมากมักเกิดจากสารที่ช่วยในการแข็งตัวของ เลือดมีปริมาณน้อย สารดังกล่าวต้องอาศัยการทำางานของ วิตามิน เค ร่วม ด้วย นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับปริมาณสารอื่น ๆ อีก ได้แก่ โปรธรอมบิน โปรตีน ซี และโปรตีน เอส เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดนี้เราไม่สามารถทราบ ได้ก่อนคลอด ภาวะเกร็ดเลือดตำ่า ( thrombocytopenia ) ภาวะเกร็ดเลือดตำ่าทำาให้ทารกมีความเสี่ยงต่อการเสียเลือดได้มากขึ้น ภาวะนี้จะรุนแรงมากขึ้นในรายที่คลอดก่อนกำาหนด โดยเฉพาะถ้ามีภาวะ แทรกซ้อนอื่นร่วมด้วย ได้แก่ ร่างกายมีการอักเสบที่สงสัยว่าเกิดจากเชื้อ จุลชีพ กลุ่มอาการที่อยู่ในภาวะอันตรายของระบบทางเดินหายใจ และ ภาวะออกซิเจนในเลือดตำ่า การที่เกล็ดเลือดทารกมีปริมาณตำ่ามีได้หลายสาเหตุ ได้แก่ ได้รับ สารในระบบภูมิคุ้มกันจากมารดามากระตุ้น , ได้รับยาบางอย่าง , มีความผิด ปกติทางโลหิตวิทยาของทารกเองตั้งแต่กำาเนิด แตอย่างไรก็จามเราไม่ สามารถทราบปริมาณเกร็ดเลือดของทารกก่อนคลอดได้ครับ ภายหล้งการคลอด 48 – 72 ชม. เกร็ดเลือดของทารกมักจะมีปริมาณ ลดลงอย่างรวดเร็วได้บ่อย ดังนั้นหากเกร็ดเลือดมีน้อยอยู่แล้ว อาจทำาให้ เกิดปัญหาได้ ภาวะเลือดข้นมากเกินไป ( polycythemia ) พบในทารกที่มีปริมาณเลือดตำ่าอย่างเรื้อรังตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ภาวะนี้ ทำาให้ทารกมีอาการเขียวคลำ้า เกร็ดเลือดตำ่า นำ้าตาลในเลือดตำ่า และมีสาร เหลืองในร่างกายสูงได้มาก นอกจากโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ในช่วงการคลอดดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมีความเสี่ยงอีกรูปแบบหนึ่งที่ทารกเผชิญ ก่อนที่ทารกจะได้พบกับคุณ แม่ คุณพ่อ คือ โอกาสที่อาจจะบาดเจ็บจากการคลอด ในการคลอด ทางช่องคลอด การใช้เครื่องมือช่วยดึง หรือ ดูดออกทางช่องคลอด และ การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ต่างก็มีข้อดี ข้อเสีย และความเสี่ยงที่แตก
  • 3. 3 ต่างกัน จะคลอดด้วยวิธีใด คุณพ่อ คุณแม่ คงต้องพูดคุย และปรึกษากับ แพทย์ที่ดูแลว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุด การบาดเจ็บจากการคลอดที่รวบรวมได้ มีดังนี้ 1. การเสียเลือดภายในศีรษะ ( spontsneous intracranial hemorrhage ) จากการรวบรวมพบว่าหากเกิดการคลอดในช่วงอายุครรภ์ตั้งแต่ 23 – 25 สัปดาห์ พบภาวะเลือดออกในสมองระดับรุนแรง ได้ประมาณ ร้อยละ 7.1 ส่วนการคลอดครบกำาหนดจะพบการเสียเลือดในศีรษะได้ ร้อยละ 6 ในรายที่คลอดโดยธรรมชาติ หากคลอดโดยใช้คีมช่วยดึงพบ ได้ร้อยละ 28 2. การบาดเจ็บต่อเส้นประสาท ( nerve injury ) ในรายที่มีการคลอดยาก ๆ มีโอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บต่อส้น ประสาทได้ เช่น การบาดเจ็บต่อไขสันหลัง ซึ่งพบได้ในการใช้คีม ช่วยคลอด หรือในการคลอดท่าก้น การบาดเจ็บต่อแขนงประสาท ส่วนแขน พบ ได้ประมาณ 1 ใน 500 ของการคลอดทารกครบกำาหนด และมัก เป็นการคลอดท่าก้น การอัมพาตบริเวณใบหน้า พบได้ประมาณ 7.5 ต่อ 1,000 ของการคลอดครบกำาหนด ในรายที่คลอดโดยการใช้คีมพบ ได้ร้อยละ 18 แต่กรณีที่คลอดโดยธรรมชาติ หรือการผ่าคลอดก็พบได้ 3. การบาดเจ็บต่อกระดูกและกล้ามเนื้อ ( musculo - skeletal injury ) ในรายที่มีการคลอดยาก และมีการบาดเจ็บแตกหักที่กระดูก มักจะพบบริเวณ กระดูกไหปลาร้า ซึ่งพบได้ประมาณ ร้อยละ 0.3 – 1.8 ส่วนที่พบได้รองลงมาได้แก่ กระดูกแขนท่อนบน กระดูกโคนขา และ ส่วนกระโหลกศีรษะ ส่วนการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ มักพบที่ตำาแหน่งบริเวณลำาคอ ซึ่งพบ ได้ร้อยละ 61.4 ในรายที่มีการคลอดท่าก้น และการหมุนกลับท่าทารก ขณะที่อยู่ในครรภ์ มีการบาดเจ็บอีกชนิดหนึ่งที่ไม่ได้เกิดจากการคลอด แต่เกิดจาก ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างที่ค่อย ๆ เกิดขึ้นตั้งแต่ในครรภ์แล้ว เรียกว่า การบาดเจ็บที่มีมาแต่กำาเนิด ( congenital injury ) ได้แก่กลุ่มอาการที่ เกิดจาก แถบรัดของถุงนำ้าครำ่า ( amnionic band syndrome ) และ ความผิดปกติของท่าผิดรูปที่เป็นมาแต่กำาเนิด ( congenital postural deformities ) อาการที่เกิดจากแถบรัดของถุงนำ้าครำ่า เกิดจากการกดทับ หรือ การบีบรัดที่เกิดขึ้นในตำาแหน่งที่มนำ้าครำ่าน้อยมากหรือไม่มีเลย ซึ่งอาจ ี
  • 4. 4 เกิดจากนิ้ดจากนำ้าครำ่ารั่วอยู่นาน ๆ ทำาให้การเจริญของเนื้อเยื่อ หรือ อวัยวะในตำาแหน่งนันผิดปกติไป บางครั้งทำาให้เกิดการหายไปของ ้ อวัยวะนั้นเลย ความผิดปกติของท่าผิดรูปที่เป็นมาแต่กำาเนิด เกิดจากหลาย สาเหตุ ได้แก่ นำ้าครำ่าน้อย พื้นที่ในมดลูกมีขนาดเล็ก เนื่องจากมีเนื้อ งอกมดลูก หรือมดลูกมีรูปร่างที่ผิดปกติ หรือจากการตั้งครรภ์ที่มากกว่า ครรภ์เดี่ยว ทำาให้ทารกเกิดท่าที่ผิดรูป เช่น เท้าปุก หลังโก่ง หลังคด ข้อสะโพกเคลื่อน และช่องอกไม่เจริญทำาให้เนื้อปอดไม่เจริญได้ ทั้งหมดที่คุยมาเป็นสรุปอย่างย่อ ๆ พอให้ทราบกันว่า ก่อนทารก คลอดออกมาพบ คุณแม่ คุณพ่อ ได้นั้น มีความเสี่ยงที่ทารกมีโอกาส เจอมากมาย หลายอย่างเราไม่อาจทราบมาก่อนได้ เนื้อหานี้แปลและเรียบเรียงมาจากตำาราทางสูติศาสตร์ Williams edition 23 rd. , 2010 . ที่ถือว่าเป็นมาตราฐานสากลระดับนานาชาติ ข้อมูล ตัวเลขที่เป็นความเสี่ยงต่าง ๆ ไม่ใช่ข้อมูลจำาเพาะในไทย แตเราก็คง พอนำามาใช้เป็นแนวทางได้ รายละเอียดของแต่ละโรค หรือการบาด เจ็บแต่ละอย่างคงไม่พูดถึงตรงนี้ เนื่องจากรายละเอียดมันมากจริง ๆ ครับ แต่ก็ขอให้คุณแม่และหนูน้อยในครรภ์ผ่านการตั้งครรภ์และการ คลอดด้วยดีทุกคนครับ