SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ผลงานวิจยเด่น
                ั



          โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
          ภาควิชาปรัชญาและ
ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
           คณะอักษรศาสตร์
Soraj Hongladarom, “The Disenhancement
Problem in Agriculture: A Reply to Thompson,”
       Nanoethics 6.1(2012): 47 – 54.
ปัญหาและที่มา


    นักปรัชญา Paul Thompson ได้ตีพิมพ์บทความเสนอ
    ประเด็นว่า การใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตา
    บอด เป็นการกระทำาที่ถูกจริยธรรม เนื่องจากในฟาร์ม
    ที่เลี้ยงไก่เป็นจำานวนมากๆ ไก่แต่ละตัวเลี้ยงอยู่ติดกัน
    มาก ทำาให้ไก่จิกตีกันและเกิดความเครียด หากใช้
    เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตาบอด และต้องเสียค่า
    ยาและค่ารักษาพยาบาลมาก ก็จะอยู่ในฟาร์มด้วยกัน
    ได้อย่างดี ไม่มีการจิกตีกันและไม่เครียด ไก่จะมี
    “ความสุข” มากกว่า ดังนั้นจึงถูกหลักจริยธรรม
ปัญหาและที่มา


    ข้อเสนอของ Thompson ถูกต่อต้านอย่างหนักจาก
    กลุ่มอนุรักษ์สัตว์และที่นาสนใจคือโรงงานผลิตเนื้อไก่
                             ่
    ในสหรัฐ ก็ต่อต้านด้วย เนื่องจากอาจต้องการแสดงว่า
    ตนเองประพฤติถูกหลักจริยธรรมด้วย ปัญหาของการ
    ผลิตไก่แบบที่ Thompson เสนอคือเป็นการกระทำาที่
    ผิดธรรมชาติ เพราะเป็นการผลิตไก่มาเพื่อเป็น
    เครื่องจักรผลิตเนื้อป้อนตลาดเท่านั้น ไก่ที่เกิดมาแบบ
    นี้จะไม่มีวันใช้ชวิตตาม “ปกติ” ที่คยเขี่ยหาอาหารเอง
                     ี                 ุ้
    ได้
ฟาร์มเลี้ยงไก่ใน
ปัจจุบน
      ั
ปัญหาและที่มา


    อย่างไรก็ตาม เหตุผลของ Thompson ก็คือว่า การ
    เลี้ยงไก่ในฟาร์มขนาดใหญ่อย่างที่เป็นอยู่ เป็นการ
    ทรมานไก่อย่างยิ่ง เพราะไก่อยู่กันอย่างยัดเยียดแออัด
    ในเมื่อเราไม่สามารถล้มเลิกระบบเลี้ยงไก่แบบนี้ได้
    เพราะมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มสูงขึ้นตลอด
    เวลา ก็ต้องอาศัยเทคโนโลยีผลิตไก่ที่ไม่จิกตีกัน ทาง
    เดียวที่ทำาได้คอให้ไก่ตาบอดตั้งแต่กำาเนิด
                   ื
ปัญหาและที่มา


    ข้อเสนอของ Thompson วางอยู่บนปัญหาทาง
    จริยธรรมที่เรียกกันว่า “disenhancement problem”
    หมายถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อทำาให้สิ่งมีชีวิตมีความ
    สามารถน้อยกว่าที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ

    ปัญหานี้เป็นส่วนกลับของปัญหา “enhancement
    problem” ซึ่งเป็นเรื่องของการทำาให้สิ่งมีชวิต (โดย
                                              ี
    มากจะเป็นมนุษย์) มีความสามารถมากกว่าที่เป็นอยู่
    ตามธรรมชาติ
ปัญหาและที่มา


    ข้อเสนอของ Thompson ก็ให้เกิดการถกเถียงและ
    อภิปรายอย่างกว้างขวาง บรรณาธิการของวารสาร
    Nanoethics ได้เชิญให้ อ. โสรัจจ์ เขียนบทความเพื่อ
    วิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอนี้ เพื่อรับการพิจารณาลงตี
    พิมพ์
ผลการวิจัย


    ข้อเสนอของ อ. โสรัจจ์ในบทความ “The
    Disenhancement Problem in Agriculture: A
    Reply to Thompson” ได้แก่ว่าปัญหาทางจริยธรรมที่
    Thompson เสนอมีรากฐานมาจากแนวคิดการเลี้ยง
    ไก่แบบอุตสาหกรรม ต้นตอของปัญหาจึงไม่ใช่การ
    ปรับปรุงยีนของไก่ให้ตาบอด แต่อยู่ที่ระบบการผลิตที่
    เน้นประสิทธิภาพและเน้นการผลิตเนื้อไก่ให้ได้
    ปริมาณมากที่สุดแต่ต้นทุนถูกที่สด
                                   ุ
ผลการวิจัย


    Thompson พูดราวกับว่าสังคมไม่มีทางเลือกอื่น
    นอกจากต้องยอมรับวิธีการเลี้ยงไก่แบบนี้ แต่เรามีทาง
    ที่จะเลี่ยงมิให้ต้องเกิดปัญหาที่เราต้องเลือกระหว่าง
    การผลิตไก่ที่ตาดี (แต่จิกกัน) หรือตาบอด (แต่ไม่จิก
    กัน) ทางเลือกดังกล่าวคือให้การเลี้ยงไก่เป็นกิจกรรม
    ของชุมชนขนาดเล็ก ระดับตำาบลหรือหมูบ้าน แทนที่
                                              ่
    จะเป็นกิจกรรมของโรงงานขนาดใหญ่ระดับข้ามชาติ
    ที่ต้องใช้ทุนและความชำานาญสูงมาก
ผลการวิจัย


    การเลี้ยงไก่ในระดับชุมชนเป็นการสืบเนืองวัฒนธรรม
                                            ่
    การเลี้ยงไก่ที่มีมาเป็นพันๆปี แนวคิดหลักคือให้ไก่มี
    เสรีภาพในการเคลื่อนไหวเพื่อหาอาหารและใช้ชวิต    ี
    ตามปกติธรรมดา เนื้อไก่ที่ได้จะมีผลดีต่อสุขภาพ
    มากกว่า เพราะจะไม่มีไขมันมากเท่า การใช้ยาหรือ
    ฮอร์โมนก็จะน้อยกว่า

    อย่างไรก็ตาม ปัญหาก็คอว่าจะทำาอย่างไรเพื่อให้ได้
                           ื
    เนื้อไก่ปริมาณมากๆที่ราคาพอจะซื้อได้ เพื่อเลี้ยงคนที่
    มีแต่จะมีความต้องการมากขึ้น
ผลการวิจัย


    ทางแก้ปัญหาที่เสนอไว้คือ ให้แต่ละชุมชนรับผิดชอบการผลิตเนื้อ
    ไก่ของตนเอง การทำาเช่นนี้ให้ได้ผลจริงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถี
    ชีวิตของผู้คนในสังคมสมัยใหม่พอสมควร โดยเฉพาะในเมืองใหญ่
    สังคมต้องเลือกว่าจะยอมทำาแบบนี้ หรือจะยอมให้มีการใช้
    เทคโนโลยีผลิตไก่ที่มีสภาพความเป็นไก่น้อยลงเรื่อยๆ และเป็น
    เพียงเครื่องจักรผลิตเนื้อมากขึ้น ภายใต้ข้อเสนอเรื่องไก่ชุมชน
    เนื้อไก่จะต้องแพงขึ้นเพราะปริมาณในตลาดจะน้อยลง ข้อดีคือเรา
    ไม่จำาเป็นต้องบริโภคเนื้อสัตว์ปริมาณมากเท่าที่เราทำาอยู่ มีเหตุผล
    ทางจริยธรรมว่าเหตุใดเราจึงควรบริโภคผักและธัญพืชมากขึ้น
    และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
วิธีการวิจัย


    การวิเคราะห์ทางปรัชญาและการวิจัยเอกสาร

More Related Content

Similar to Disenhancement Problem

ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีnattieboice
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกiooido
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 

Similar to Disenhancement Problem (8)

ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
 
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไรการเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 

More from Soraj Hongladarom

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsSoraj Hongladarom
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsSoraj Hongladarom
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesSoraj Hongladarom
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีSoraj Hongladarom
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นSoraj Hongladarom
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandSoraj Hongladarom
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economySoraj Hongladarom
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsSoraj Hongladarom
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยSoraj Hongladarom
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาSoraj Hongladarom
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนSoraj Hongladarom
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์Soraj Hongladarom
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนSoraj Hongladarom
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการSoraj Hongladarom
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningSoraj Hongladarom
 

More from Soraj Hongladarom (20)

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human Rights
 
Pittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptxPittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptx
 
PAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.pptPAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.ppt
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
 
Introduction to Bioethics
Introduction to BioethicsIntroduction to Bioethics
Introduction to Bioethics
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailand
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economy
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษา
 
Human dignity
Human dignityHuman dignity
Human dignity
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียน
 
Thai science bitec
Thai science   bitecThai science   bitec
Thai science bitec
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการ
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
 

Disenhancement Problem

  • 1. ผลงานวิจยเด่น ั โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ภาควิชาปรัชญาและ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์
  • 2.
  • 3. Soraj Hongladarom, “The Disenhancement Problem in Agriculture: A Reply to Thompson,” Nanoethics 6.1(2012): 47 – 54.
  • 4.
  • 5. ปัญหาและที่มา  นักปรัชญา Paul Thompson ได้ตีพิมพ์บทความเสนอ ประเด็นว่า การใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตา บอด เป็นการกระทำาที่ถูกจริยธรรม เนื่องจากในฟาร์ม ที่เลี้ยงไก่เป็นจำานวนมากๆ ไก่แต่ละตัวเลี้ยงอยู่ติดกัน มาก ทำาให้ไก่จิกตีกันและเกิดความเครียด หากใช้ เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตาบอด และต้องเสียค่า ยาและค่ารักษาพยาบาลมาก ก็จะอยู่ในฟาร์มด้วยกัน ได้อย่างดี ไม่มีการจิกตีกันและไม่เครียด ไก่จะมี “ความสุข” มากกว่า ดังนั้นจึงถูกหลักจริยธรรม
  • 6. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson ถูกต่อต้านอย่างหนักจาก กลุ่มอนุรักษ์สัตว์และที่นาสนใจคือโรงงานผลิตเนื้อไก่ ่ ในสหรัฐ ก็ต่อต้านด้วย เนื่องจากอาจต้องการแสดงว่า ตนเองประพฤติถูกหลักจริยธรรมด้วย ปัญหาของการ ผลิตไก่แบบที่ Thompson เสนอคือเป็นการกระทำาที่ ผิดธรรมชาติ เพราะเป็นการผลิตไก่มาเพื่อเป็น เครื่องจักรผลิตเนื้อป้อนตลาดเท่านั้น ไก่ที่เกิดมาแบบ นี้จะไม่มีวันใช้ชวิตตาม “ปกติ” ที่คยเขี่ยหาอาหารเอง ี ุ้ ได้
  • 8. ปัญหาและที่มา  อย่างไรก็ตาม เหตุผลของ Thompson ก็คือว่า การ เลี้ยงไก่ในฟาร์มขนาดใหญ่อย่างที่เป็นอยู่ เป็นการ ทรมานไก่อย่างยิ่ง เพราะไก่อยู่กันอย่างยัดเยียดแออัด ในเมื่อเราไม่สามารถล้มเลิกระบบเลี้ยงไก่แบบนี้ได้ เพราะมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มสูงขึ้นตลอด เวลา ก็ต้องอาศัยเทคโนโลยีผลิตไก่ที่ไม่จิกตีกัน ทาง เดียวที่ทำาได้คอให้ไก่ตาบอดตั้งแต่กำาเนิด ื
  • 9. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson วางอยู่บนปัญหาทาง จริยธรรมที่เรียกกันว่า “disenhancement problem” หมายถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อทำาให้สิ่งมีชีวิตมีความ สามารถน้อยกว่าที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ  ปัญหานี้เป็นส่วนกลับของปัญหา “enhancement problem” ซึ่งเป็นเรื่องของการทำาให้สิ่งมีชวิต (โดย ี มากจะเป็นมนุษย์) มีความสามารถมากกว่าที่เป็นอยู่ ตามธรรมชาติ
  • 10. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson ก็ให้เกิดการถกเถียงและ อภิปรายอย่างกว้างขวาง บรรณาธิการของวารสาร Nanoethics ได้เชิญให้ อ. โสรัจจ์ เขียนบทความเพื่อ วิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอนี้ เพื่อรับการพิจารณาลงตี พิมพ์
  • 11. ผลการวิจัย  ข้อเสนอของ อ. โสรัจจ์ในบทความ “The Disenhancement Problem in Agriculture: A Reply to Thompson” ได้แก่ว่าปัญหาทางจริยธรรมที่ Thompson เสนอมีรากฐานมาจากแนวคิดการเลี้ยง ไก่แบบอุตสาหกรรม ต้นตอของปัญหาจึงไม่ใช่การ ปรับปรุงยีนของไก่ให้ตาบอด แต่อยู่ที่ระบบการผลิตที่ เน้นประสิทธิภาพและเน้นการผลิตเนื้อไก่ให้ได้ ปริมาณมากที่สุดแต่ต้นทุนถูกที่สด ุ
  • 12. ผลการวิจัย  Thompson พูดราวกับว่าสังคมไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากต้องยอมรับวิธีการเลี้ยงไก่แบบนี้ แต่เรามีทาง ที่จะเลี่ยงมิให้ต้องเกิดปัญหาที่เราต้องเลือกระหว่าง การผลิตไก่ที่ตาดี (แต่จิกกัน) หรือตาบอด (แต่ไม่จิก กัน) ทางเลือกดังกล่าวคือให้การเลี้ยงไก่เป็นกิจกรรม ของชุมชนขนาดเล็ก ระดับตำาบลหรือหมูบ้าน แทนที่ ่ จะเป็นกิจกรรมของโรงงานขนาดใหญ่ระดับข้ามชาติ ที่ต้องใช้ทุนและความชำานาญสูงมาก
  • 13.
  • 14. ผลการวิจัย  การเลี้ยงไก่ในระดับชุมชนเป็นการสืบเนืองวัฒนธรรม ่ การเลี้ยงไก่ที่มีมาเป็นพันๆปี แนวคิดหลักคือให้ไก่มี เสรีภาพในการเคลื่อนไหวเพื่อหาอาหารและใช้ชวิต ี ตามปกติธรรมดา เนื้อไก่ที่ได้จะมีผลดีต่อสุขภาพ มากกว่า เพราะจะไม่มีไขมันมากเท่า การใช้ยาหรือ ฮอร์โมนก็จะน้อยกว่า  อย่างไรก็ตาม ปัญหาก็คอว่าจะทำาอย่างไรเพื่อให้ได้ ื เนื้อไก่ปริมาณมากๆที่ราคาพอจะซื้อได้ เพื่อเลี้ยงคนที่ มีแต่จะมีความต้องการมากขึ้น
  • 15. ผลการวิจัย  ทางแก้ปัญหาที่เสนอไว้คือ ให้แต่ละชุมชนรับผิดชอบการผลิตเนื้อ ไก่ของตนเอง การทำาเช่นนี้ให้ได้ผลจริงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถี ชีวิตของผู้คนในสังคมสมัยใหม่พอสมควร โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ สังคมต้องเลือกว่าจะยอมทำาแบบนี้ หรือจะยอมให้มีการใช้ เทคโนโลยีผลิตไก่ที่มีสภาพความเป็นไก่น้อยลงเรื่อยๆ และเป็น เพียงเครื่องจักรผลิตเนื้อมากขึ้น ภายใต้ข้อเสนอเรื่องไก่ชุมชน เนื้อไก่จะต้องแพงขึ้นเพราะปริมาณในตลาดจะน้อยลง ข้อดีคือเรา ไม่จำาเป็นต้องบริโภคเนื้อสัตว์ปริมาณมากเท่าที่เราทำาอยู่ มีเหตุผล ทางจริยธรรมว่าเหตุใดเราจึงควรบริโภคผักและธัญพืชมากขึ้น และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
  • 16. วิธีการวิจัย  การวิเคราะห์ทางปรัชญาและการวิจัยเอกสาร