SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทวไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
ั่
ประวัติความเปนมา
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
อํานาจหนาที่
วิสัยทัศนและพันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues)
สรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับตําแหนงนิตกร
ิ
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายอาญา
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
แนวขอสอบ
ิ
กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับตําแหนงนิตกร
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ.2548
และที่แกไขเพิมเติม
่
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ.2548
และที่แกไขเพิมเติม
่
ิ
พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัตทองถิ่น พ.ศ. 2542
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัตทองถิ่น พ.ศ. 2542
ิ
พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
หรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
หรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 และที่แกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 และที่แกไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติวธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
ิ
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
ิ
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539
แนวขอสอบ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539

4
4
4
5
6
8
60
94
138
176
186
201
209
253
275
278
281
291
301
341
361
383
391
400
3

ประวัตความเปนมา
ิ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน
การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล
การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง
และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่
1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ
ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น
3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ
องคการปกครองสวนทองถิ่น
4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง
สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น
5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ
พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ
ปกครองสวนทองถิ่น
6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
4

7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร
้
่
ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน
8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น
10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม
่
11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ
่
คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน
ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน
ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว
และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม
ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น
กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน
การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ
ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

วิสัยทัศนและพันธกิจ
วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision)
“ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ”
พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)
1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง
2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด
และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย
5

สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ทรัพยสินและสวนของทรัพย
ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน
มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง”
มาตรา 138 “ทรัพยสินหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ
มีราคาและอาจถือเอาได”
จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วัตถุที่มี
รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวัตถุที่มีรปรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตาม
ู
มาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมี

ราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบุไวก็ตาม
“วัตถุมีรูปราง” หมายถึง สิ่งที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถึง
ขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนัก เชน เชื้อโรคแต
หากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว
ประเภทของทรัพย
1.อสังหาริมทรัพย
มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกบ
ั
ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความ
รวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดน หรือทรัพยอนติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน
ิ
ั
เดียวกับทีดินนั้นดวย”
่
สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี
1.1 ที่ดิน คือพืนดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรือดินที่ขุด
้
ขึ้นมาแลว
1.2 ทรัพยอันติดกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก
ก.ทรั พ ย ที่ เ กิ ด หรื อ ติ ด กั บ ที่ ดิ น โดยธรรมชาติ เช น ไม ยื น ต น มี อ ายุ
ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไม
ลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย
6

ข.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยมนุษย เชน การสรางอาคาร
บานเรือน อนุสาวรีย หอนาฬิกา เปนตน
หลั ก ที่ ค วรพิ จ ารณา คื อ การดู ส ภาพและเจตนาเป น สํ า คั ญ โดยไม ส นใจ
ระยะเวลาที่นํามาติด เชน รานคางานกาชาด แมจัดงานเพียง 10 วัน แตตัวอาคารรานคา
คงทนถาวรใชขายสินคาทุกป ก็ถือวาเปนอสังหาริมทรัพยแลว
1.3 ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันหนึ่งอันเดียวกับทีดิน คือ ทรัพยที่เปนสวนหนึ่ง
่
หรือประกอบเปนพื้นดิน เชน แมน้ํา หิน ทราย และแรธาตุซึ่งมีอยูตามธรรมชาติหรือมนุษย
นํามารวมไวกับที่ดินก็ตาม แตไมรวมถึงสังหาริมทรัพยที่ซอนฝงหรือจมอยูในดิน เชน วัตถุ

โบราณ ทอประปา เปนตน
1.4 ทรัพยสินอันเกี่ยวกับที่ดินหรือติดอยูกับที่ดนหรือประกอบเปนอัน
ิ
เดียวกับทีดิน ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน
่
สิทธิเก็บกิน การติดพันในอสังหาริมทรัพย และสิทธิจํานองอันเกี่ยวกับที่ดิน เปนตน
2.สังหาริมทรัพย
มาตรา 140 “สั ง หาริ ม ทรั พ ย หมายความว า ทรั พ ย สิ น อื่ น นอกจาก
อสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้นดวย”
อะไรซึ่ ง ไม ใ ช อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย ต อ งเป น สั ง หาริ ม ทรั พ ย เ สมอไป และเป น
สังหาริมทรัพยหรือไม ถาไมเขาหลักเกณฑอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 139 ตอบไดทันทีวา
เปนสังหาริมทรัพย
สามารถแยกออกไดเปน 2 กรณี
2.1 ทรัพยสินอืนนอกจากอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนไหวได เชน
่
รถยนต แกว แหวน เงินทอง เปนตน
2.2 สิทธิอันเกียวกับทรัพยสิน คือการเนนตัวสิทธิ ซึ่งเปนนามธรรมที่เกี่ยวกับตัว
่
ทรัพยที่เปนรูปธรรม แตไมไดใชคําวา ทรัพยสิทธิ จึงเปนคนละกรณี สวนในตอนทายใชคําวา
ทรัพยสิน แสดงวาสิทธิตัวนี้ รวมทังทรัพยที่มีรปราง และไมมีรูปราง ซึงอาจมีราคา และอาจ
้
ู
่
ถือเอาไดดวย เชน กรรมสิทธิ์รถยนต เปนตน
สิทธิในสังหาริมทรัพยทไมมีรูปราง ตองเปนสิทธิที่กฎหมายใหการรับรองแลว เชน
ี่
ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน
7

นอกจากนี้ สิทธิอื่นๆ ที่ เปนนามธรรมที่กฎหมายใหการรับรอง เช น สิทธิตาม
สัญญา สิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูละเมิด สิทธิเรียกรองคาชดเชยของ
ลูกจาง หรือ สิทธิการเชารถยนต จึงเปนสังหาริมทรัพย
สังหาริมทรัพย

อสังหาริมทรัพย
-

ตองมีเจาของเสมอ
จํานองได
การโอนตองทําตามแบบ
มีแดนกรรมสิทธิ์
การครอบครองปรปกษ 10 ป

-

จะมีหรือไมมีก็ได
จํานําได
ไมนิยมกําหนดแบบเพียงสงมอบก็
พอแลว
ไมมีแดนกรรมสิทธิ์
การครอบครองปรปกษ 5 ป

สวนของทรัพย
เนื่องจากการเกิดความสัมพันธระหวางทรัพยหลายสิ่งในรูปลักษณะตาง ๆ จึงไดมี
การกําหนดสิ่งเหลานี้ ไดแก สวนควบ อุปกรณและดอกผลใหเปนสวนของทรัพยตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยดวย
1. สวนควบ
มาตรา 144 วรรคแรกบัญญัติวา “สวนควบของทรัพย หมายความวา สวน
ซึ่งโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่นเปนสาระสําคัญในความ
เปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจแยกกันไดนอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลายหรือทํา
ใหทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป เจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ในสวน
ควบของทรัพยนั้น”
หลักเกณฑองคประกอบของการเปนสวนควบ มี 2 ประการ ดังนี้
1. ตองเปนสาระสําคัญแหงความเปนอยูของตัวทรัพยนั้นไมวา
1.1โดยสภาพแหงทรัพ ย ไดแก ตั วถังรถ ล อ และ เครื่องยนต เปน
สาระสําคัญของรถยนตโดยสภาพ หรือแวนตา ก็ถือวาเลนสหรือกระจกเปนสาระสําคัญ เปน
ตน
8

1.2โดยจารีตประเพณี ไดแก บานที่ปลูกลงบนที่ดินก็ถือวาบานเปน
สวนควบของที่ดินตามจารีตประเพณีแลว หรือครัวถือวาเปนสาระสําคัญของตัวบานโดยจารีต
ประเพณี (คําพิพากษาฎีกาที่ 86/2493)
2. ต อ งไม ส ามารถแยกจากกั น ได นอกจากจะทํ า ลาย ทํ า บุ บ สลายหรื อ
เปลี่ยนแปลงรูปทรง
ขอสังเกต
ตองเปนทรัพยตั้งแต 2 สิ่งขึ้นไปมารวมกัน โดจะเปนสังหาริมทรัพยหรือ
อสังหาริมทรัพยก็ได และสวนควบนันจะเปนทรัพยของคนเดียวกันหรือตางเจาของกันก็ได
้
ลักษณะของการรวมกันโดยสภาพ อาจเปนการกระทําของบุคคล เชน บาน
เรือน โตะ เกาอี้ และรถยนต หรืออาจเปนการรวมสภาพโดยธรรมชาติก็ได เชน ทีงอกริมตลิ่ง
่
(มาตรา 1308) ซึ่งตองงอกติดตอเปนแปลงเดียวจากที่ดินเดิม จึงจะเปนสวนควบหากมีถนน
หรือทางหลวงคั่น หรือแมแตมีลําทางน้ําไหลคั่น หรือหากเปนการงอกมาจากกลางน้ําเขาหา
ฝง หาใชสวนควบของทีดินแปลงนั้นไม
่
กรณีสําหรับเครื่องสุขภัณฑ เชน อางลางหนา อางอาบน้ํา ทอประปา และโคม
ไฟ มิใชสวนควบของโรงเรือน และกรณีเครื่องปรับอากาศที่ติดกับอาคารไมเปนสาระสําคัญ
ในความเปนอยูของอาคารอันไมอาจแยกออกไดนอกจากทําใหอาคารเสียรูปทรง ถือวาไม
เปนสวนควบของอาคาร น้ํามันกับรถยนต ก็ไมถือวาเปนสวนควบ เพราะสิ่งเหลานี้สามารถ
แยกจากกันไดโดยมิตองทําลาย ทําบุบสลายหรือเปลี่ยนแปลงรูปทรงแตอยางใด
ฝากั้นหองแมจะมีสภาพไมอาจแยกจากตัวบานได และหากรื้อทําใหบุบสลาย
ไปก็ตาม แตตามปกติยอมไมถือวาเปนสาระสําคัญของตัวบาน เวนแตจะนําสืบใหเห็นวามี
จารีตประเพณีเชนนั้น เห็นวาเอาฝากั้นหองออกสภาพบานก็ยังมีอยูแตถาเอาฝาบานออก
เหลือแตหลังคา อาจจะขัดกับจารีตประเพณีได
ขอยกเวนที่ไมเปนสวนควบ มี 3 กรณี
1. ไมลมลุกหรือธัญชาติ (มาตรา 145)เชน ตนกลวย, ตนขาว เปนตน
2. ทรัพยที่ติดกับโรงเรือนหรือที่ดินเพียงชั่วคราว (มาตรา 146) เชน ปลูก
อาคารเพื่อแสดงมหกรรมสินคา เมื่อเสร็จก็จะรื้อไป หรือ แมปลูกไมยืนตน แตมีเจตนาเพื่อตัด
ขาย อันเปนการปลูกมีระยะเวลาชั่วคราว ไมถือวาเปนสวนควบ
9

สรุปสาระสําคัญกฎหมายอาญา
ความผิด
เกี่ยวกับทรัพย
หมวด 1 ความผิดฐานหลักทรัพยและวิ่งราวทรัพย
ความผิดตามหมวด 1 นี้มี 2 ฐานความผิด คือ ความผิดฐานลักทรัพยและ
ความผิดฐานวิ่งราวทรัพยมี 5 มาตราดวยกัน
มาตรา 334 ความผิดฐานลักทรัพย
ตัวบท
ผูใดเอาทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต ผูนั้น
กระทําความผิดฐานลักทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปและปรับไมเกินหกพันบาท
องคประกอบความผิด มาตรา 334 มีองคประกอบความผิดดังนี้
1. เอาไป
2. ทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอนเปนเจาของรวมอยูดวย
ื่
3. โดยเจตนา
4. โดยทุจริต
คําอธิบาย
เอาไป หมายความวา เอาไปจากการครอบครองของผูอื่น ทั้งนี้จะเปนการที่
เจาของทรัพยครอบครองทรัพยนั้นเองหรือครอบครองโดยใหผูอื่นยึดถือทรัพยนั้นไวแทนก็ได
การเอาไปจะเอาไปดวยวิธอยางใดก็ไดแตตองเปนการทําใหทรัพยนั้นเคลื่อนที่
ี
ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาเอาไปได
การเอาไปนี้ตองเปนการเอาไปอยางถาวรในลักษณะเปนการตัดสิทธิของเจา
ทรั พ ย มิ ใ ช เ ป น การเอาไปชั่ ว คราว ปกติ ท รั พ ย ที่ ผู ก ระทํ า ผิ ด เอาไปโดยทุ จ ริ ต นั้ น เป น
สังหาริมทรัพย แตการเอาไปซึ่งอสังหาริมทรัพยก็อาจมีการเอาไปได เชน ขุด เอาดินไป รื้อ
เอาฝาบานไป เปนตน
10

การลักทรัพย เปนเรืองการเอาทรัพยของผูอนหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยู
่
ื่
ดวยไปจากการครอบครองของผูอนโดยทุจริต
ื่
การครอบครองทรัพย หมายถึงการยึดถือทรัพยโดยมีเจตนาที่จะยึดถือไว
เพื่อตนเองและผูครอบครองมีฐานะเปนผูมีอํานาจเหนือทรัพยนั้นอยางแทจริง
ทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย หมายความวาทรัพยที่เอา
ไปนั้นตองเปนทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย
ตัวอยางที่ 1 แดงเอาหนังสือซึ่งอยูในการครอบครองของดําไปโดยทุจริตแดงมี
ความผิดฐานลักทรัพย
ตัวอยางที่ 2ดํากับแดงเขาหุนกันซื้อหนังสือเลมหนึ่ง ขณะดําครอบครองหนังสือ
เลมนั้นอยู แดงเอาหนังสือนั้นไปโดยทุจริต แดงก็มีความผิดฐานลักทรัพยเชนกัน แมแดงจะ
มีสวนรวมเปนเจาของในหนังสือเลมนั้นอยูดวยก็ตาม
ขอสังเกต ตามตัวอยางที่ 2 ถาแดงเอาหนังสือเลมนั้นไปโดยทุจริตระหวางที่หนังสือ
เลมนั้นอยูในความครอบครองของแดง แดงมีความผิดฐานยักยอก ตามมาตรา 352
โดยเจตนา หมายความวาผูกระทําตองมีเจตนาตามมาตีรา 59 วรรคสอง
โดยทุจริต หมายความวาเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรได โดยชอบดวยกฎหมาย
สําหรับผูกระทําเองหรือผูอื่น
ตัวอยางคําพิพากษาฎีกา
1. คําพิพากษาฎีกาที่ 535/2500 โคของผูเสียหายติดรวมอยูในฝูงโคของจําเลย
ผูเสียหายแยกออกไมไดจึงพูดสั่งใหจําเลยดูไวใหดวยเดี๋ยวจะมาเอา จําเลยรับคําแลวพาฝูงโค
ไปบานและพาโคของผูเสียหายไป เปนความผิดฐานลักทรัพย
2. คําพิพากษาฎีกาที่ 519/2502 จําเลยเก็บกระเปาเงินของเจาทรัพยซึ่งเหน็บ
ไวที่เอวแลวเลื่อนหลุดไปจากเอวในขณะที่ดูภาพยนตรใกลกัน ถือวาทรัพยยังคงอยูในความ
ยึดถือของเจาทรัพยไมใชทรัพยที่อยูในสภาพของตกหาย เมื่อจําเลยเอาไปเสียยอมเปน
ความผิดฐานลักทรัพยมิใชยักยอกเก็บของตก
3. คําพิพากษาฎีกาที่ 179/2509 จําเลยลอบเปดกระเปาถือที่ผูเสียหายฝาก
จําเลยใหดูช่วคราว แลวเอาสรอยกับธนบัตรไป เปนความผิดฐานลักทรัพยไมใชยักยอก
ั
4. คําพิพากษาฎีกาที่ 1403/2510 คนราย 3 คน รวมกันลักรถยนตจิ๊ป โดยคน
หนึ่งทําหนาที่ขับรถ กําลังตอสายไฟใหเครื่องยนตติด อีก 2 คนชวยกันเข็นใหเครื่องยนตติด
รถเคลื่อนไป 3 เมตร แตเครื่องยนตไมติดและเจาพนักงานตํารวจพบการกระทําผิดเสียกอน
11

แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ

พ.ศ.2540
3. ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะ
เป น ข อ มู ล ข า วสารเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น งานของรั ฐ หรื อ ข อ มู ล ข า วสารเกี่ ย วกั บ เอกชน
หมายความถึงขอใด
ก. ขอมูลขาวสาร
ข. ขอมูลขาวสารของราชการ
ค. ขอมูลราชการ
ง. ขอมูลหนวยงาน
4. ขอใดหมายถึง หนวยงานของรัฐ
ก. ราชการสวนกลาง
ค. ราชการสวนทองถิ่น

ข. ราชการสวนภูมิภาค
ง. ถูกทุกขอ

5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล
ก. ลายพิมพนิ้วมือ
ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน

ข. ประวัติอาชญากรรม
ง. ถูกทุกขอ

6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว
ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย
7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา

ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน
12

ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน
ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ
ง. ถูกทุกขอ
9. ขอมูลขาวสารของราชการที่จะเปดเผยมิได คือขอใด
ก. ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย
ข. ขอมูลขาวสารที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ
ค. ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะทําใหกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
ง. ถูกทุกขอ
10. คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยผูใดเปนประธาน
ก. รัฐมนตรี
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
11. ผูใดไมใชคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร
ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ
12. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมี
จํานวนกี่คน
ก. หาคน
ข. เจ็ดคน
ค. เกาคน
ง. สิบเอ็ดคน
13. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร คณะหนึ่งประกอบดวยใครบาง
ก. บุคคลไมนอยกวาหนึ่งคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ข. บุคคลไมนอยกวาสองคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ค. บุคคลไมนอยกวาสามคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ง. บุคคลไมนอยกวาสี่คน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
13

แน อสอ การเลือกตัง
นวข อบ
งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือ บริหาร
้
ก
อผู า
ทองถิน พ.ศ. 2 และแกไขเพ่มเติม
่
2545
พิ
5.องคก หารสวนทองถิ่น หมายความถึงขอใด
การบริ ส
ก. องคการ หารสวน งหวัด
รบริ
นจั
ข. เทศบาล
ล
ค. องคการ หารสวน าบล
รบริ
นตํ
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"องคกรปกครองสวนทองถิ่น" หม
ท
มายความวา องคการบริิหารสวนจังหวัด เทศบาล
จั
องคการ หารสวน าบล กรุง
รบริ
นตํ
งเทพมหาน เมืองพััทยา และอง กรปกคร วนทองถิ่นอื่น
นคร
งค
รองส
ง
ที่มีกฎห
หมายจัดตั้ง
6.ผูบริห องถิ่น หมายถึงใค
หารท
คร
ก. ปลัดองคการบริหาร วนจังหวััด
ค
รส
ข. สมาชิกส องถิ่น
สภาท
ค. คณะผูบ หารทองถิ่น
บริ

ถิ
ง. ปลัดองคการบริหาร วนตําบล
ค
รส
ตอบ ค. ค บริห องถิ่น
คณะผู หารท
"ผูบริหารทองถิ่น" หมายความรวมถึง คณะผูบริหารทอง ่น
ผู
งถิ
น
นส
ใคร
7.หัวหนาพนักงาน วนทองถิ่น หมายถึงใ
ก. ปลัดองคการบริหาร วนจังหวััด
ค
รส
ข. สมาชิกส องถิ่น
สภาท
ค. คณะผูบ หารทองถิ่น
บริ

ถิ
ง. ปลัดองคการบริหาร วนตําบล
ค
รส
ตอบ ก. ป ดองคกา หารสวนจังหวัด
ปลั
ารบริ ส
"หัวหนาพนกงานสวน องถิ่น" หมายความวา ปลัดองคการบริหาร วนจังหวัด
นั
นท
ว
ค
รส
ปลัดเทศบาล ปลัด การบริหารสวนตํา ปลัดกรงเทพมหานคร ปลัดเมืองพัทยา และ
ดองค
ริ
าบล
รุ
มื
หัวหนา กงานหรืือหัวหนาขาราชการข
าพนั
ข
ขององคกรป
ปกครองสวน องถินอืน
นท ่ ่
8.“นายอําเภอ” หม งใคร
มายถึ
ก. ผูอํานวย
ยการเขต
ค. นายกอง การบริหา วนตําบล
งค
ารส
ตอบ ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และ ขอ ข.
ข

ข. ปลัดอําเ
เภอ
ง. ถูกเฉพา อ ก. แล ขอ ข.
าะข
ละ
14

41.เมื่อไดมีประกาศใหมีการเลือกตังในเขตใดแลว มิใหนํากฎหมายใดมาใช
้
ก. กฎหมายวาดวยการรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของ
บานเมือง
ข. กฎหมายวาดวยความมั่นคง
ค. กฎหมายวาดวยความปลอดภัย
ง. มิไดมีการยกเลิกกฎหมายใด
ตอบ ก. กฎหมายวาดวยการรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบ
เรียบรอยของบานเมือง
42.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง กระทําตั้งแตเวลาใด
ก. 08.00 น. – 12.00 น.
ข. 08.30 น. -15.30 น.
ค. 08.00 น. – 15.00 น.
ง. 08.30 น. – 17.00 น.
ตอบ ค. 08.00 น. – 15.00 น.
พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถินหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2545 มาตรา 67 ใน
่
วันเลือกตั้งใหเปดการลงคะแนนเลือกตั้งตั้งแตเวลา 08.00 นาฬิกา ถึงเวลา 15.00 นาฬิกา
43.เมื่อทําเครื่องหมายลงในบัตรเลือกตั้ง แลวใหทําอยางไร
ก. มวนลงไปในหีบเลือกตั้ง
ข. หยอนลงไปในหีบเลือกตั้งเลย
ค. พับบัตรเลือกตั้งแลวหยอนลงไปในหีบเลือกตั้ง
ง. วิธีการใดกอได
ตอบ ค. พับบัตรเลือกตั้งแลวหยอนลงไปในหีบเลือกตั้ง
พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถินหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2545 มาตรา 73 เมื่อ
่
ผูมีสิทธิเลือกตั้งทําเครื่องหมายลงในบัตรเลือกตั้งแลว ใหพับบัตรเลือกตั้งเพื่อมิใหผูอนทราบ
ื่
ไดวาลงคะแนนเลือกตั้งใหแกผูสมัครใด แลวใหนําบัตรเลือกตังนั้นใสลงในหีบบัตรเลือกตั้ง
้
ดวยตนเองตอหนากรรมการประจําหนวยเลือกตั้ง
44.ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น งดการลงคะแนนเลือกตั้งนั้นจะเปนไดในกรณีใด
ก. เหตุจลาจล
ข. อุทกภัย
ค. อัคคีภัย
ง. ถูกทุกขอ
15

แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอด

ถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542
4. พรบ.วาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น
บัญญัติใหอํานาจหนาที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
ในตางจังหวัด เปนอํานาจหนาที่ของใคร
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. ปลัดอําเภอ
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทย
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
5. พรบ.วาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น
บัญญัติใหอํานาจหนาที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
ในกรุงเทพมหานคร เปนอํานาจหนาที่ของใคร
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. ปลัดอําเภอ
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ตอบ ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัดในการ
ดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทอง ถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ถา
เป น การดํ า เนิ น การในเขตกรุ ง เทพมหานครให เ ป น อํ า นาจหน า ที่ ข องรั ฐ มนตรี ว า การ
กระทรวงมหาดไทย
6. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินหนึ่งแสนคนแตไมเกินหาแสนคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการ
จังหวัดเพื่อดํ าเนินการให มีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิ กสภาทองถิ่นไม น อยกว า
เทาใดของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
ข. หนึ่งหมื่นคน
ก. หาพันคน
ค. สองหมื่นคน
ง. สองหมื่นหาพันคน
ตอบ ค. สองหมื่นคน
การเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการจังหวัดเพื่อดําเนินการใหมีการลง คะแนนเสียงถอด
ถอนสมาชิกสภาทองถิ่นผูใดหรือผูบริหารทองถิ่นผูใดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
16

เพราะเหตุที่ไมสมควรดํารงตําแหนงตอไปใหถือเกณฑจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง ขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นแตละแหง ดังนี้
ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินหนึ่งแสนคนแตไมเกินหาแสนคนตองมีผูเขาชื่อไม นอยกวาสอง
หมื่นคนของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
7. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหาแสนคนแตไมเกินหนึ่งลานคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวา
ราชการจังหวัดเพื่อดําเนินการใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นไม นอย
กวาเทาใดของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
ข. หนึ่งหมื่นคน
ก. หาพันคน
ค. สองหมื่นคน
ง. สองหมื่นหาพันคน
ตอบ ง. สองหมื่นหาพันคน
ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหาแสนคนแตไมเกินหนึ่งลานคนตองมีผูเขา ชื่อไมนอยกวา
สองหมื่นหาพันคนของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
8. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหนึ่งลานคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการจังหวัดเพื่อ
ดํา เนิ น การให มี ก ารลงคะแนนเสี ย งถอดถอนสมาชิ ก สภาท อ งถิ่ น ไม น อ ยกว า เท า ใดของ
จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
ก. หาพันคน
ข. หนึ่งหมื่นคน
ง. สามหมื่นคน
ค. สองหมื่นคน
ตอบ ง. สามหมื่นคน
ผูมี สิท ธิเ ลื อ กตั้ง เกิน กว า หนึ่ ง ล า นคนต อ งมี ผูเ ข า ชื่ อ ไม น อ ยกว า สาม หมื่ น คนของ
จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
9. สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นที่ถูกยื่นคํารองขอใหถอดถอน ผูนั้นตองจัดทําคํา
ชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาตามคํารองยื่นตอผูวาราชการจังหวัดภายในกี่วันนับแต
วันที่ไดรับแจงคํารองจากผูวาราชการจังหวัด
ก. เจ็ดวัน
ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน
ง. สี่สิบหาวัน
ตอบ ค. สามสิบวัน
เมื่อ ผูวาราชการจังหวัดได รับคํ าร อง ใหดําเนินการจั ดสง คํารองไปใหสมาชิกสภา
ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผู ที่ถูกรองขอใหลงคะแนนเสียงถอดถอนภายในเจ็ดวันนับแต
17

วันที่ผูวาราชการจังหวัดไดรับคํารอง และใหสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูนั้น
จัดทําคําชี้แจงขอเท็จ จริงเพื่อแกขอกลาวหาตามคํารองยื่นตอผูวาราชการจังหวัดภายใน
สามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจงคํารองจากผูวาราชการจังหวัด
10.เมื่ อ ผู วา ราชการจั ง หวั ด ได รั บ คํ าชี้ แ จงข อ เท็ จ จริ ง เพื่ อ แก ขอ กล า วหาของสมาชิ ก สภา
ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหผูวาราชการจังหวัดแจงใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบ
ภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับคําชี้แจงหรือวันครบกําหนด
ก. หาวัน
ข. เจ็ดวัน
ค. สิบหาวัน
ง. สามสิบวัน
ตอบ ข. เจ็ดวัน
เมื่อผูวาราชการจังหวัดไดรับคําชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาของสมาชิกสภา
ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหผูวาราชการจังหวัดแจงใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบ
ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคําชี้แจงหรือวันครบกําหนด แลวแตกรณี เพื่อดําเนินการจัด
ใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นตอไป พรอมทั้ง
จัดสงคํารอง และคําชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาถาหากมีไปดวย
11. ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งจัดใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
หรือผูบริหารทองถิ่นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น โดยใหประกาศกําหนดวันลงคะแนน
เสียงไมเกินกี่วันนับแตวันที่ไดรับแจงจากผูวาราชการจังหวัด
ก. สามสิบวัน
ข. สี่สิบหาวัน
ค. หกสิบวัน
ง. เกาสิบวัน
ตอบ ง. เกาสิบวัน
คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น
หรือผูบริหารทองถิ่นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น โดยใหประกาศกําหนดวันลงคะแนน
เสียงไมเกินเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงจากผูวาราชการจังหวัด
12.การกําหนดที่ลงคะแนนเสียงของหนวยลงคะแนนเสียงนั้น ใหคํานึงถึงสิ่งใด
ก.จํานวนผูมีสิทธิลงคะแนนเสียง
ข.ความสะดวกในการเดินทางไปใชสิทธิลงคะแนนเสียง
ค. ถูกทั้งขอ ก. และขอ ข.
18

แนวขอสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจาหนาที่
3. ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ผูเสียหายสามารถ
ฟองหนวยงานใดได
ก. กระทรวงการคลัง
ข.กระทรวงกลาโหม
ค. กระทรวงยุติธรรม
ง. กระทรวงมหาดไทย
ตอบ ก. กระทรวงการคลัง
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ เปนพระราชบัญญัติที่กําหนดให
หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการ
ปฏิบัติหนาที่ ซึ่งผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานของรัฐซึ่งเจาหนาที่ดังกลาวสังกัดอยูได
โดยตรง ไมสามารถฟองเจาหนาที่ได (มาตรา 5 วรรคหนึ่ง) ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่
ซึ่ ง ไม ได สัง กั ดหน ว ยงานของรั ฐแห งใด ผู เ สี ย หายสามารถฟ อ งกระทรวงการคลั งให เป น
หนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดได (มาตรา 5 วรรคสอง)
4. ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกให
อีกฝายหนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมกําหนดอายุความกี่ปนับแตวันที่หนวยงานของ
ี
รัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้นแกผูเสียหาย
ก. หนึ่งป
ข. หาป
ค. สิบป
ง. ยี่สิบป
ตอบ ก. หนึ่งป
ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียก
ให อี ก ฝ า ยหนึ่ ง ชดใช ค า สิ น ไหมทดแทนแก ต นให มี กํ า หนดอายุ ค วาม หนึ่ ง ป นั บ แต วั น ที่
หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้น แกผูเสียหาย (มาตรา 9)
5. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ คือใคร
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม
19

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

More Related Content

More from บ.ชีทราม จก.

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

More from บ.ชีทราม จก. (8)

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นิติกร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อสอบกรมการปกครองท้องถิ่น ป

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา ความรูทวไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ั่ ประวัติความเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อํานาจหนาที่ วิสัยทัศนและพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) สรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับตําแหนงนิตกร ิ สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายอาญา สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง สรุปสาระสําคัญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แนวขอสอบ ิ กฎหมายที่ควรรูเกี่ยวกับตําแหนงนิตกร พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ.2548 และที่แกไขเพิมเติม ่ แนวขอสอบ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ.2548 และที่แกไขเพิมเติม ่ ิ พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัตทองถิ่น พ.ศ. 2542 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัตทองถิ่น พ.ศ. 2542 ิ พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 และที่แกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 และที่แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 ิ แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 ิ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 4 4 4 5 6 8 60 94 138 176 186 201 209 253 275 278 281 291 301 341 361 383 391 400
  • 3. 3 ประวัตความเปนมา ิ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ อํานาจหนาที่ 1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ องคการปกครองสวนทองถิ่น 4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น 5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ ปกครองสวนทองถิ่น 6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
  • 4. 4 7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร ้ ่ ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน 8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น 9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น 10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม ่ 11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ ่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา วิสัยทัศนและพันธกิจ วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision) “ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ” พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission) 1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง 2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย
  • 5. 5 สรุปสาระสําคัญประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ทรัพยสินและสวนของทรัพย ความหมายของทรัพยสินและทรัพยสิน มาตรา 137 “ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง” มาตรา 138 “ทรัพยสินหมายความรวมทั้ง ทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจ มีราคาและอาจถือเอาได” จากบทบัญญัติดังกลาว สามารถแยกวิเคราะหศัพท คําวา “ทรัพย” คือ วัตถุที่มี รูปราง สวนคําวา “ทรัพยสิน” คือวัตถุที่มีรปรางหรือไมมีรูปรางก็ได ฉะนั้น ทรัพยตาม ู มาตรา 137 จึงเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินตามมาตรา 138 ตองนําองคประกอบที่วา “อาจมี  ราคาและอาจถือเอาได” มาใชดวยแมจะมิไดระบุไวก็ตาม “วัตถุมีรูปราง” หมายถึง สิ่งที่มองเห็นดวยตา จับตองสัมผัสได ไมตองคํานึงถึง ขนาดทรัพยบางอยางจึงไมอาจมองเห็นดวยตาเปลา หรือสัมผัสไดถนัดนัก เชน เชื้อโรคแต หากใชเครื่องมือขยายไดดวยกลองจุลทรรศน และมีรูปรางในตัวเองโดยลําพังก็ใชไดแลว ประเภทของทรัพย 1.อสังหาริมทรัพย มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกบ ั ที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความ รวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดน หรือทรัพยอนติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอัน ิ ั เดียวกับทีดินนั้นดวย” ่ สามารถแยกอธิบายลักษณะสําคัญได 4 กรณี 1.1 ที่ดิน คือพืนดินบนโลกหรือพื้นดินทั่วๆ ไป แตไมรวมถึงพื้นน้ํา หรือดินที่ขุด ้ ขึ้นมาแลว 1.2 ทรัพยอันติดกับที่ดิน โดยมีลักษณะติดตรึงตราแนนหนา และถาวรไดแก ก.ทรั พ ย ที่ เ กิ ด หรื อ ติ ด กั บ ที่ ดิ น โดยธรรมชาติ เช น ไม ยื น ต น มี อ ายุ ยาวนานกวา 3 ป นั้นมีลักษณะติดถาวรและเปนสวนควบ จึงเปนอสังหาริมทรัพย สวนตนไม ลมลุกและธัญชาติที่มีอายุต่ํากวา 3 ป เชน ตนขาวตาง ๆ จึงเปนสังหาริมทรัพย
  • 6. 6 ข.ทรัพยที่เกิดหรือติดกับที่ดินโดยมนุษย เชน การสรางอาคาร บานเรือน อนุสาวรีย หอนาฬิกา เปนตน หลั ก ที่ ค วรพิ จ ารณา คื อ การดู ส ภาพและเจตนาเป น สํ า คั ญ โดยไม ส นใจ ระยะเวลาที่นํามาติด เชน รานคางานกาชาด แมจัดงานเพียง 10 วัน แตตัวอาคารรานคา คงทนถาวรใชขายสินคาทุกป ก็ถือวาเปนอสังหาริมทรัพยแลว 1.3 ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันหนึ่งอันเดียวกับทีดิน คือ ทรัพยที่เปนสวนหนึ่ง ่ หรือประกอบเปนพื้นดิน เชน แมน้ํา หิน ทราย และแรธาตุซึ่งมีอยูตามธรรมชาติหรือมนุษย นํามารวมไวกับที่ดินก็ตาม แตไมรวมถึงสังหาริมทรัพยที่ซอนฝงหรือจมอยูในดิน เชน วัตถุ  โบราณ ทอประปา เปนตน 1.4 ทรัพยสินอันเกี่ยวกับที่ดินหรือติดอยูกับที่ดนหรือประกอบเปนอัน ิ เดียวกับทีดิน ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน ่ สิทธิเก็บกิน การติดพันในอสังหาริมทรัพย และสิทธิจํานองอันเกี่ยวกับที่ดิน เปนตน 2.สังหาริมทรัพย มาตรา 140 “สั ง หาริ ม ทรั พ ย หมายความว า ทรั พ ย สิ น อื่ น นอกจาก อสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้นดวย” อะไรซึ่ ง ไม ใ ช อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย ต อ งเป น สั ง หาริ ม ทรั พ ย เ สมอไป และเป น สังหาริมทรัพยหรือไม ถาไมเขาหลักเกณฑอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 139 ตอบไดทันทีวา เปนสังหาริมทรัพย สามารถแยกออกไดเปน 2 กรณี 2.1 ทรัพยสินอืนนอกจากอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนไหวได เชน ่ รถยนต แกว แหวน เงินทอง เปนตน 2.2 สิทธิอันเกียวกับทรัพยสิน คือการเนนตัวสิทธิ ซึ่งเปนนามธรรมที่เกี่ยวกับตัว ่ ทรัพยที่เปนรูปธรรม แตไมไดใชคําวา ทรัพยสิทธิ จึงเปนคนละกรณี สวนในตอนทายใชคําวา ทรัพยสิน แสดงวาสิทธิตัวนี้ รวมทังทรัพยที่มีรปราง และไมมีรูปราง ซึงอาจมีราคา และอาจ ้ ู ่ ถือเอาไดดวย เชน กรรมสิทธิ์รถยนต เปนตน สิทธิในสังหาริมทรัพยทไมมีรูปราง ตองเปนสิทธิที่กฎหมายใหการรับรองแลว เชน ี่ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน
  • 7. 7 นอกจากนี้ สิทธิอื่นๆ ที่ เปนนามธรรมที่กฎหมายใหการรับรอง เช น สิทธิตาม สัญญา สิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูละเมิด สิทธิเรียกรองคาชดเชยของ ลูกจาง หรือ สิทธิการเชารถยนต จึงเปนสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพย - ตองมีเจาของเสมอ จํานองได การโอนตองทําตามแบบ มีแดนกรรมสิทธิ์ การครอบครองปรปกษ 10 ป - จะมีหรือไมมีก็ได จํานําได ไมนิยมกําหนดแบบเพียงสงมอบก็ พอแลว ไมมีแดนกรรมสิทธิ์ การครอบครองปรปกษ 5 ป สวนของทรัพย เนื่องจากการเกิดความสัมพันธระหวางทรัพยหลายสิ่งในรูปลักษณะตาง ๆ จึงไดมี การกําหนดสิ่งเหลานี้ ไดแก สวนควบ อุปกรณและดอกผลใหเปนสวนของทรัพยตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยดวย 1. สวนควบ มาตรา 144 วรรคแรกบัญญัติวา “สวนควบของทรัพย หมายความวา สวน ซึ่งโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่นเปนสาระสําคัญในความ เปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจแยกกันไดนอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลายหรือทํา ใหทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป เจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ในสวน ควบของทรัพยนั้น” หลักเกณฑองคประกอบของการเปนสวนควบ มี 2 ประการ ดังนี้ 1. ตองเปนสาระสําคัญแหงความเปนอยูของตัวทรัพยนั้นไมวา 1.1โดยสภาพแหงทรัพ ย ไดแก ตั วถังรถ ล อ และ เครื่องยนต เปน สาระสําคัญของรถยนตโดยสภาพ หรือแวนตา ก็ถือวาเลนสหรือกระจกเปนสาระสําคัญ เปน ตน
  • 8. 8 1.2โดยจารีตประเพณี ไดแก บานที่ปลูกลงบนที่ดินก็ถือวาบานเปน สวนควบของที่ดินตามจารีตประเพณีแลว หรือครัวถือวาเปนสาระสําคัญของตัวบานโดยจารีต ประเพณี (คําพิพากษาฎีกาที่ 86/2493) 2. ต อ งไม ส ามารถแยกจากกั น ได นอกจากจะทํ า ลาย ทํ า บุ บ สลายหรื อ เปลี่ยนแปลงรูปทรง ขอสังเกต ตองเปนทรัพยตั้งแต 2 สิ่งขึ้นไปมารวมกัน โดจะเปนสังหาริมทรัพยหรือ อสังหาริมทรัพยก็ได และสวนควบนันจะเปนทรัพยของคนเดียวกันหรือตางเจาของกันก็ได ้ ลักษณะของการรวมกันโดยสภาพ อาจเปนการกระทําของบุคคล เชน บาน เรือน โตะ เกาอี้ และรถยนต หรืออาจเปนการรวมสภาพโดยธรรมชาติก็ได เชน ทีงอกริมตลิ่ง ่ (มาตรา 1308) ซึ่งตองงอกติดตอเปนแปลงเดียวจากที่ดินเดิม จึงจะเปนสวนควบหากมีถนน หรือทางหลวงคั่น หรือแมแตมีลําทางน้ําไหลคั่น หรือหากเปนการงอกมาจากกลางน้ําเขาหา ฝง หาใชสวนควบของทีดินแปลงนั้นไม ่ กรณีสําหรับเครื่องสุขภัณฑ เชน อางลางหนา อางอาบน้ํา ทอประปา และโคม ไฟ มิใชสวนควบของโรงเรือน และกรณีเครื่องปรับอากาศที่ติดกับอาคารไมเปนสาระสําคัญ ในความเปนอยูของอาคารอันไมอาจแยกออกไดนอกจากทําใหอาคารเสียรูปทรง ถือวาไม เปนสวนควบของอาคาร น้ํามันกับรถยนต ก็ไมถือวาเปนสวนควบ เพราะสิ่งเหลานี้สามารถ แยกจากกันไดโดยมิตองทําลาย ทําบุบสลายหรือเปลี่ยนแปลงรูปทรงแตอยางใด ฝากั้นหองแมจะมีสภาพไมอาจแยกจากตัวบานได และหากรื้อทําใหบุบสลาย ไปก็ตาม แตตามปกติยอมไมถือวาเปนสาระสําคัญของตัวบาน เวนแตจะนําสืบใหเห็นวามี จารีตประเพณีเชนนั้น เห็นวาเอาฝากั้นหองออกสภาพบานก็ยังมีอยูแตถาเอาฝาบานออก เหลือแตหลังคา อาจจะขัดกับจารีตประเพณีได ขอยกเวนที่ไมเปนสวนควบ มี 3 กรณี 1. ไมลมลุกหรือธัญชาติ (มาตรา 145)เชน ตนกลวย, ตนขาว เปนตน 2. ทรัพยที่ติดกับโรงเรือนหรือที่ดินเพียงชั่วคราว (มาตรา 146) เชน ปลูก อาคารเพื่อแสดงมหกรรมสินคา เมื่อเสร็จก็จะรื้อไป หรือ แมปลูกไมยืนตน แตมีเจตนาเพื่อตัด ขาย อันเปนการปลูกมีระยะเวลาชั่วคราว ไมถือวาเปนสวนควบ
  • 9. 9 สรุปสาระสําคัญกฎหมายอาญา ความผิด เกี่ยวกับทรัพย หมวด 1 ความผิดฐานหลักทรัพยและวิ่งราวทรัพย ความผิดตามหมวด 1 นี้มี 2 ฐานความผิด คือ ความผิดฐานลักทรัพยและ ความผิดฐานวิ่งราวทรัพยมี 5 มาตราดวยกัน มาตรา 334 ความผิดฐานลักทรัพย ตัวบท ผูใดเอาทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต ผูนั้น กระทําความผิดฐานลักทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปและปรับไมเกินหกพันบาท องคประกอบความผิด มาตรา 334 มีองคประกอบความผิดดังนี้ 1. เอาไป 2. ทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอนเปนเจาของรวมอยูดวย ื่ 3. โดยเจตนา 4. โดยทุจริต คําอธิบาย เอาไป หมายความวา เอาไปจากการครอบครองของผูอื่น ทั้งนี้จะเปนการที่ เจาของทรัพยครอบครองทรัพยนั้นเองหรือครอบครองโดยใหผูอื่นยึดถือทรัพยนั้นไวแทนก็ได การเอาไปจะเอาไปดวยวิธอยางใดก็ไดแตตองเปนการทําใหทรัพยนั้นเคลื่อนที่ ี ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาเอาไปได การเอาไปนี้ตองเปนการเอาไปอยางถาวรในลักษณะเปนการตัดสิทธิของเจา ทรั พ ย มิ ใ ช เ ป น การเอาไปชั่ ว คราว ปกติ ท รั พ ย ที่ ผู ก ระทํ า ผิ ด เอาไปโดยทุ จ ริ ต นั้ น เป น สังหาริมทรัพย แตการเอาไปซึ่งอสังหาริมทรัพยก็อาจมีการเอาไปได เชน ขุด เอาดินไป รื้อ เอาฝาบานไป เปนตน
  • 10. 10 การลักทรัพย เปนเรืองการเอาทรัพยของผูอนหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยู ่ ื่ ดวยไปจากการครอบครองของผูอนโดยทุจริต ื่ การครอบครองทรัพย หมายถึงการยึดถือทรัพยโดยมีเจตนาที่จะยึดถือไว เพื่อตนเองและผูครอบครองมีฐานะเปนผูมีอํานาจเหนือทรัพยนั้นอยางแทจริง ทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย หมายความวาทรัพยที่เอา ไปนั้นตองเปนทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย ตัวอยางที่ 1 แดงเอาหนังสือซึ่งอยูในการครอบครองของดําไปโดยทุจริตแดงมี ความผิดฐานลักทรัพย ตัวอยางที่ 2ดํากับแดงเขาหุนกันซื้อหนังสือเลมหนึ่ง ขณะดําครอบครองหนังสือ เลมนั้นอยู แดงเอาหนังสือนั้นไปโดยทุจริต แดงก็มีความผิดฐานลักทรัพยเชนกัน แมแดงจะ มีสวนรวมเปนเจาของในหนังสือเลมนั้นอยูดวยก็ตาม ขอสังเกต ตามตัวอยางที่ 2 ถาแดงเอาหนังสือเลมนั้นไปโดยทุจริตระหวางที่หนังสือ เลมนั้นอยูในความครอบครองของแดง แดงมีความผิดฐานยักยอก ตามมาตรา 352 โดยเจตนา หมายความวาผูกระทําตองมีเจตนาตามมาตีรา 59 วรรคสอง โดยทุจริต หมายความวาเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรได โดยชอบดวยกฎหมาย สําหรับผูกระทําเองหรือผูอื่น ตัวอยางคําพิพากษาฎีกา 1. คําพิพากษาฎีกาที่ 535/2500 โคของผูเสียหายติดรวมอยูในฝูงโคของจําเลย ผูเสียหายแยกออกไมไดจึงพูดสั่งใหจําเลยดูไวใหดวยเดี๋ยวจะมาเอา จําเลยรับคําแลวพาฝูงโค ไปบานและพาโคของผูเสียหายไป เปนความผิดฐานลักทรัพย 2. คําพิพากษาฎีกาที่ 519/2502 จําเลยเก็บกระเปาเงินของเจาทรัพยซึ่งเหน็บ ไวที่เอวแลวเลื่อนหลุดไปจากเอวในขณะที่ดูภาพยนตรใกลกัน ถือวาทรัพยยังคงอยูในความ ยึดถือของเจาทรัพยไมใชทรัพยที่อยูในสภาพของตกหาย เมื่อจําเลยเอาไปเสียยอมเปน ความผิดฐานลักทรัพยมิใชยักยอกเก็บของตก 3. คําพิพากษาฎีกาที่ 179/2509 จําเลยลอบเปดกระเปาถือที่ผูเสียหายฝาก จําเลยใหดูช่วคราว แลวเอาสรอยกับธนบัตรไป เปนความผิดฐานลักทรัพยไมใชยักยอก ั 4. คําพิพากษาฎีกาที่ 1403/2510 คนราย 3 คน รวมกันลักรถยนตจิ๊ป โดยคน หนึ่งทําหนาที่ขับรถ กําลังตอสายไฟใหเครื่องยนตติด อีก 2 คนชวยกันเข็นใหเครื่องยนตติด รถเคลื่อนไป 3 เมตร แตเครื่องยนตไมติดและเจาพนักงานตํารวจพบการกระทําผิดเสียกอน
  • 11. 11 แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ  พ.ศ.2540 3. ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะ เป น ข อ มู ล ข า วสารเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น งานของรั ฐ หรื อ ข อ มู ล ข า วสารเกี่ ย วกั บ เอกชน หมายความถึงขอใด ก. ขอมูลขาวสาร ข. ขอมูลขาวสารของราชการ ค. ขอมูลราชการ ง. ขอมูลหนวยงาน 4. ขอใดหมายถึง หนวยงานของรัฐ ก. ราชการสวนกลาง ค. ราชการสวนทองถิ่น ข. ราชการสวนภูมิภาค ง. ถูกทุกขอ 5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล ก. ลายพิมพนิ้วมือ ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน ข. ประวัติอาชญากรรม ง. ถูกทุกขอ 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย 7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา  ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน
  • 12. 12 ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ 9. ขอมูลขาวสารของราชการที่จะเปดเผยมิได คือขอใด ก. ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย ข. ขอมูลขาวสารที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ ค. ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะทําใหกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ ง. ถูกทุกขอ 10. คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยผูใดเปนประธาน ก. รัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 11. ผูใดไมใชคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 12. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมี จํานวนกี่คน ก. หาคน ข. เจ็ดคน ค. เกาคน ง. สิบเอ็ดคน 13. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร คณะหนึ่งประกอบดวยใครบาง ก. บุคคลไมนอยกวาหนึ่งคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ข. บุคคลไมนอยกวาสองคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ค. บุคคลไมนอยกวาสามคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ง. บุคคลไมนอยกวาสี่คน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
  • 13. 13 แน อสอ การเลือกตัง นวข อบ งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือ บริหาร ้ ก อผู า ทองถิน พ.ศ. 2 และแกไขเพ่มเติม ่ 2545 พิ 5.องคก หารสวนทองถิ่น หมายความถึงขอใด การบริ ส ก. องคการ หารสวน งหวัด รบริ นจั ข. เทศบาล ล ค. องคการ หารสวน าบล รบริ นตํ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "องคกรปกครองสวนทองถิ่น" หม ท มายความวา องคการบริิหารสวนจังหวัด เทศบาล จั องคการ หารสวน าบล กรุง รบริ นตํ งเทพมหาน เมืองพััทยา และอง กรปกคร วนทองถิ่นอื่น นคร งค รองส ง ที่มีกฎห หมายจัดตั้ง 6.ผูบริห องถิ่น หมายถึงใค หารท คร ก. ปลัดองคการบริหาร วนจังหวััด ค รส ข. สมาชิกส องถิ่น สภาท ค. คณะผูบ หารทองถิ่น บริ  ถิ ง. ปลัดองคการบริหาร วนตําบล ค รส ตอบ ค. ค บริห องถิ่น คณะผู หารท "ผูบริหารทองถิ่น" หมายความรวมถึง คณะผูบริหารทอง ่น ผู งถิ น นส ใคร 7.หัวหนาพนักงาน วนทองถิ่น หมายถึงใ ก. ปลัดองคการบริหาร วนจังหวััด ค รส ข. สมาชิกส องถิ่น สภาท ค. คณะผูบ หารทองถิ่น บริ  ถิ ง. ปลัดองคการบริหาร วนตําบล ค รส ตอบ ก. ป ดองคกา หารสวนจังหวัด ปลั ารบริ ส "หัวหนาพนกงานสวน องถิ่น" หมายความวา ปลัดองคการบริหาร วนจังหวัด นั นท ว ค รส ปลัดเทศบาล ปลัด การบริหารสวนตํา ปลัดกรงเทพมหานคร ปลัดเมืองพัทยา และ ดองค ริ าบล รุ มื หัวหนา กงานหรืือหัวหนาขาราชการข าพนั ข ขององคกรป ปกครองสวน องถินอืน นท ่ ่ 8.“นายอําเภอ” หม งใคร มายถึ ก. ผูอํานวย ยการเขต ค. นายกอง การบริหา วนตําบล งค ารส ตอบ ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และ ขอ ข. ข ข. ปลัดอําเ เภอ ง. ถูกเฉพา อ ก. แล ขอ ข. าะข ละ
  • 14. 14 41.เมื่อไดมีประกาศใหมีการเลือกตังในเขตใดแลว มิใหนํากฎหมายใดมาใช ้ ก. กฎหมายวาดวยการรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยของ บานเมือง ข. กฎหมายวาดวยความมั่นคง ค. กฎหมายวาดวยความปลอดภัย ง. มิไดมีการยกเลิกกฎหมายใด ตอบ ก. กฎหมายวาดวยการรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบ เรียบรอยของบานเมือง 42.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง กระทําตั้งแตเวลาใด ก. 08.00 น. – 12.00 น. ข. 08.30 น. -15.30 น. ค. 08.00 น. – 15.00 น. ง. 08.30 น. – 17.00 น. ตอบ ค. 08.00 น. – 15.00 น. พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถินหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2545 มาตรา 67 ใน ่ วันเลือกตั้งใหเปดการลงคะแนนเลือกตั้งตั้งแตเวลา 08.00 นาฬิกา ถึงเวลา 15.00 นาฬิกา 43.เมื่อทําเครื่องหมายลงในบัตรเลือกตั้ง แลวใหทําอยางไร ก. มวนลงไปในหีบเลือกตั้ง ข. หยอนลงไปในหีบเลือกตั้งเลย ค. พับบัตรเลือกตั้งแลวหยอนลงไปในหีบเลือกตั้ง ง. วิธีการใดกอได ตอบ ค. พับบัตรเลือกตั้งแลวหยอนลงไปในหีบเลือกตั้ง พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถินหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2545 มาตรา 73 เมื่อ ่ ผูมีสิทธิเลือกตั้งทําเครื่องหมายลงในบัตรเลือกตั้งแลว ใหพับบัตรเลือกตั้งเพื่อมิใหผูอนทราบ ื่ ไดวาลงคะแนนเลือกตั้งใหแกผูสมัครใด แลวใหนําบัตรเลือกตังนั้นใสลงในหีบบัตรเลือกตั้ง ้ ดวยตนเองตอหนากรรมการประจําหนวยเลือกตั้ง 44.ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น งดการลงคะแนนเลือกตั้งนั้นจะเปนไดในกรณีใด ก. เหตุจลาจล ข. อุทกภัย ค. อัคคีภัย ง. ถูกทุกขอ
  • 15. 15 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอด  ถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น พ.ศ. 2542 4. พรบ.วาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น บัญญัติใหอํานาจหนาที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น ในตางจังหวัด เปนอํานาจหนาที่ของใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. ปลัดอําเภอ ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทย ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด 5. พรบ.วาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น บัญญัติใหอํานาจหนาที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น ในกรุงเทพมหานคร เปนอํานาจหนาที่ของใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. ปลัดอําเภอ ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ตอบ ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัดในการ ดําเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทอง ถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ถา เป น การดํ า เนิ น การในเขตกรุ ง เทพมหานครให เ ป น อํ า นาจหน า ที่ ข องรั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงมหาดไทย 6. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินหนึ่งแสนคนแตไมเกินหาแสนคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการ จังหวัดเพื่อดํ าเนินการให มีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิ กสภาทองถิ่นไม น อยกว า เทาใดของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ข. หนึ่งหมื่นคน ก. หาพันคน ค. สองหมื่นคน ง. สองหมื่นหาพันคน ตอบ ค. สองหมื่นคน การเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการจังหวัดเพื่อดําเนินการใหมีการลง คะแนนเสียงถอด ถอนสมาชิกสภาทองถิ่นผูใดหรือผูบริหารทองถิ่นผูใดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น
  • 16. 16 เพราะเหตุที่ไมสมควรดํารงตําแหนงตอไปใหถือเกณฑจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง ขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นแตละแหง ดังนี้ ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินหนึ่งแสนคนแตไมเกินหาแสนคนตองมีผูเขาชื่อไม นอยกวาสอง หมื่นคนของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น 7. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหาแสนคนแตไมเกินหนึ่งลานคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวา ราชการจังหวัดเพื่อดําเนินการใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นไม นอย กวาเทาใดของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ข. หนึ่งหมื่นคน ก. หาพันคน ค. สองหมื่นคน ง. สองหมื่นหาพันคน ตอบ ง. สองหมื่นหาพันคน ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหาแสนคนแตไมเกินหนึ่งลานคนตองมีผูเขา ชื่อไมนอยกวา สองหมื่นหาพันคนของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น 8. ผูมีสิทธิเลือกตั้งเกินกวาหนึ่งลานคนตองมีผูเขาชื่อรองขอตอผูวาราชการจังหวัดเพื่อ ดํา เนิ น การให มี ก ารลงคะแนนเสี ย งถอดถอนสมาชิ ก สภาท อ งถิ่ น ไม น อ ยกว า เท า ใดของ จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ก. หาพันคน ข. หนึ่งหมื่นคน ง. สามหมื่นคน ค. สองหมื่นคน ตอบ ง. สามหมื่นคน ผูมี สิท ธิเ ลื อ กตั้ง เกิน กว า หนึ่ ง ล า นคนต อ งมี ผูเ ข า ชื่ อ ไม น อ ยกว า สาม หมื่ น คนของ จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น 9. สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นที่ถูกยื่นคํารองขอใหถอดถอน ผูนั้นตองจัดทําคํา ชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาตามคํารองยื่นตอผูวาราชการจังหวัดภายในกี่วันนับแต วันที่ไดรับแจงคํารองจากผูวาราชการจังหวัด ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. สี่สิบหาวัน ตอบ ค. สามสิบวัน เมื่อ ผูวาราชการจังหวัดได รับคํ าร อง ใหดําเนินการจั ดสง คํารองไปใหสมาชิกสภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผู ที่ถูกรองขอใหลงคะแนนเสียงถอดถอนภายในเจ็ดวันนับแต
  • 17. 17 วันที่ผูวาราชการจังหวัดไดรับคํารอง และใหสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูนั้น จัดทําคําชี้แจงขอเท็จ จริงเพื่อแกขอกลาวหาตามคํารองยื่นตอผูวาราชการจังหวัดภายใน สามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจงคํารองจากผูวาราชการจังหวัด 10.เมื่ อ ผู วา ราชการจั ง หวั ด ได รั บ คํ าชี้ แ จงข อ เท็ จ จริ ง เพื่ อ แก ขอ กล า วหาของสมาชิ ก สภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหผูวาราชการจังหวัดแจงใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบ ภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับคําชี้แจงหรือวันครบกําหนด ก. หาวัน ข. เจ็ดวัน ค. สิบหาวัน ง. สามสิบวัน ตอบ ข. เจ็ดวัน เมื่อผูวาราชการจังหวัดไดรับคําชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาของสมาชิกสภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหผูวาราชการจังหวัดแจงใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบ ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคําชี้แจงหรือวันครบกําหนด แลวแตกรณี เพื่อดําเนินการจัด ใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นตอไป พรอมทั้ง จัดสงคํารอง และคําชี้แจงขอเท็จจริงเพื่อแกขอกลาวหาถาหากมีไปดวย 11. ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งจัดใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น โดยใหประกาศกําหนดวันลงคะแนน เสียงไมเกินกี่วันนับแตวันที่ไดรับแจงจากผูวาราชการจังหวัด ก. สามสิบวัน ข. สี่สิบหาวัน ค. หกสิบวัน ง. เกาสิบวัน ตอบ ง. เกาสิบวัน คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น โดยใหประกาศกําหนดวันลงคะแนน เสียงไมเกินเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงจากผูวาราชการจังหวัด 12.การกําหนดที่ลงคะแนนเสียงของหนวยลงคะแนนเสียงนั้น ใหคํานึงถึงสิ่งใด ก.จํานวนผูมีสิทธิลงคะแนนเสียง ข.ความสะดวกในการเดินทางไปใชสิทธิลงคะแนนเสียง ค. ถูกทั้งขอ ก. และขอ ข.
  • 18. 18 แนวขอสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ 3. ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ผูเสียหายสามารถ ฟองหนวยงานใดได ก. กระทรวงการคลัง ข.กระทรวงกลาโหม ค. กระทรวงยุติธรรม ง. กระทรวงมหาดไทย ตอบ ก. กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ เปนพระราชบัญญัติที่กําหนดให หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการ ปฏิบัติหนาที่ ซึ่งผูเสียหายสามารถฟองหนวยงานของรัฐซึ่งเจาหนาที่ดังกลาวสังกัดอยูได โดยตรง ไมสามารถฟองเจาหนาที่ได (มาตรา 5 วรรคหนึ่ง) ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ ซึ่ ง ไม ได สัง กั ดหน ว ยงานของรั ฐแห งใด ผู เ สี ย หายสามารถฟ อ งกระทรวงการคลั งให เป น หนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดได (มาตรา 5 วรรคสอง) 4. ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกให อีกฝายหนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมกําหนดอายุความกี่ปนับแตวันที่หนวยงานของ ี รัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้นแกผูเสียหาย ก. หนึ่งป ข. หาป ค. สิบป ง. ยี่สิบป ตอบ ก. หนึ่งป ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียก ให อี ก ฝ า ยหนึ่ ง ชดใช ค า สิ น ไหมทดแทนแก ต นให มี กํ า หนดอายุ ค วาม หนึ่ ง ป นั บ แต วั น ที่ หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนนั้น แกผูเสียหาย (มาตรา 9) 5. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ คือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม