SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓)



คณะนิติศาสตร,

                                       น.๗๘๓
                ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร
                                       ๓ หนวยกิต


                     เคาโครงการศึกษา–ภาค ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๓




ผูบรรยาย
    ชื่อ:                 ชาคริต สิทธิเวช
    สำนักงาน:             หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร
    โทรศัพท:             ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓
    อีเมล:               schacrit@tu.ac.th
    บล็อก:                www.sustainableclasses.net
    เฟสบุค:              www.facebook.com/schacrit



                                                                                   1
ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓)
      ขอตอนรับนักศึกษาสูวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ดวยความยินดี
      วิชา น.๗๘๓ กฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร เปนวิชาเลือกวิชาหนึ่งตามหลักสูตรนิติศาสตรมหา
บัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร1

คำบรรยายรายวิชา
               ศึกษาปญหาเกี่ยวกับการเกษตรและสถาบันการเกษตร ตลอดจนกฎหมายที่มีผลกระทบถึง “กรรมสิทธิ์” ที่ดินที่ใช
        [ใน]การเกษตร การควบคุมการใชที่ดิน การพัฒนาที่ดินและการปฏิรูปที่ดิน2

วัตถุประสงคของการศึกษา
           การศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร มีวัตถุประสงคหลักเจ็ดประการ
  คือ
         ๑. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการทำความเขาใจและทำความคุนเคยกับปญหากฎหมายเกี่ยวกับ
  การเกษตรและสถาบันการเกษตร
         ๒. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษากฎหมายเพื่อวิเคราะหและแกไขปญหากฎหมายเกี่ยวกับ
  การเกษตรและสถาบันการเกษตร
         ๓. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการผลิตงานเขียนวิชาการคุณภาพสูง เชน บทความหรือรายงานการ
  ศึกษา
         ๔. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการสื่อสาร การแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเสนอผลงาน
  วิชาการ การรวมและการควบคุมการประชุม การอภิปรายหรือการสัมมนาวิชาการ
         ๕. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษาหรือคนควาขอมูลหรือขาวสารคุณภาพสูง จากแหลงและใน
  รูปแบบตาง ๆ เชน ตำรา หนังสือ บทความ เอกสารประเภทอื่น ๆ หรือขาว ทั้งที่จัดพิมพบนกระดาษและที่เผย
  แพรบนอินเตอรเน็ต
         ๖. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการรวบรวมหรือจัดเก็บขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม
  ๕. อยางเปนระบบ
         ๗. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการนำขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. หรือที่
  รวบรวมหรือจัดเก็บไวตาม ๖. มาใชอยางมีประสิทธิภาพ

เอกสารประกอบการศึกษา
       ในปจจุบัน ยังไมมีหนังสือหรือตำราวาดวยปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร โดยเฉพาะ
อยางไรก็ตาม หนังสือและเอกสารดังมีรายชื่อตอไปนี้เปนเอกสารที่นาจะเปนประโยชนในการศึกษาวิชา น.๗๘๓
ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ในเบื้องตน
       ๑. ตัวอยางหนังสือที่นักศึกษาควรศึกษา เชน
Yair Mundlan, Agriculture and economic growth: theory and measurement (2000).
John B Penson Jr, Oral Capps Jr and C Parr Rosson III, Introduction to agricultural economics (3rd ed, 2002).

1 โปรดดูคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, “หลักสูตรนิติศาสตมหาบัณฑิต: หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๔” ในคูมือการศึกษาหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. ๒๕๕๐ (เดือนตุลา) หนา ๑๐๒-๑๓๒.
2 อางแลว หนา ๑๓๑.

                                                                                                                                     2
ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓)
François Molle and Thippawal Srijantr (eds), Thailand’s rice bowl: perspective on agriculture and social change
      in the Chao Phraya Delta (White Lotus, 2003).
      นักศึกษาสามารถยืมหนังสือดังกลาวมานี้ไดจากหองสมุดปวย อึ๊งภากรณ
      ๒. นอกจากนั้น ยังมีบทความในวารสารกฎหมายตาง ๆ ที่นักศึกสามารถคนควาไดจากระบบหองสมุดหรือ
อินเตอรเน็ต

กำหนดการศึกษา
      เพื่อประโยชนของนักศึกษาเอง นักศึกษาควรศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของดวยตนเองกอนรวมการศึกษาแตละครั้ง
      การศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร แตละครั้ง จัดขึ้นทุกวันศุกร
ระหวางเวลา ๑๗.๓๐ น. และเวลา ๒๐.๓๐ น. ณ หอง ๓๒๑
      การศึกษามีทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง เริ่มตั้งแตวันศุกรที่ ๑๘ มิถุนายน จนถึงวันศุกรที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓
      รายละเอียดการศึกษาแตละครั้งเฉพาะในความรับผิดชอบของชาคริต สิทธิเวช มีดังนี้
 ครั้งที่    วันที่                                      เรื่อง                                  หมายเหตุ
       ๑    ๑๘ มิ.ย.   กำหนดเคาโครงการศึกษา
      ๒     ๒๕ มิ.ย.   ...
       ๓    ๒ ก.ค.     ...
       ๔     ๙ ก.ค.    ...
      ๕     ๑๖ ก.ค.    นักศึกษาเสนอเคาโครงบทความ (๑)
       ๖    ๒๓ ก.ค.    นักศึกษาเสนอเคาโครงบทความ (๒)
      ๗     ๓๐ ก.ค.    ...
       ๘     ๖ ส.ค.    ...
       ๙    ๑๓ ส.ค.    ...
     ๑๐     ๒๐ ส.ค.    ...
     ๑๑     ๒๗ ส.ค.    ...
    ๑๒       ๓ ก.ย.    ...
    ๑๓      ๑๐ ก.ย.    ...
    ๑๔      ๑๗ ก.ย.    นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๑)
    ๑๕      ๒๔ ก.ย.    นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๒)
     ๑๖      ๑ ต.ค.    • นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๓)
                       • สรุปและประเมินผลการศึกษา

                                                                                                             3
ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓)

การใหคำปรึกษา
         นักศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ที่ตองการคำปรึกษาจากผูบรรยาย
นอกเหนือไปจากการรวมการศึกษาตามกำหนดการศึกษาดังกลาวขางตน สามารถพบผูบรรยายตลอดภาคการศึกษา
นี้ไดที่หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร ทุกวันพฤหัสบดี ระหวางเวลา ๙.๐๐ น. และเวลา ๑๒.๐๐ น. นอกจากนั้น
นักศึกษายังสามารถติดตอผูบรรยายทางโทรศัพทไดที่ ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓ หรือทางอีเมลไดที่ schacrit@tu.ac.th หรือ
ทางเฟสบุคไดที่ www.facebook.com/schacrit หรือทางบล็อกไดที่ www.sustainableclasses.net

บล็อกและเฟสบุค
      เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาและเพื่อเพิ่มทักษะการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสใหเปนประโยชนแกการศึกษาของ
นักศึกษา รวมทั้งการประกอบอาชีพของนักศึกษาในอนาคต ผูบรรยายไดจัดทำบล็อกสำหรับวิชา น.๗๘๓ ปญหา
กฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ขึ้นที่ www.sustainableclasses.net ทั้งนี้ ผูบรรยายจักใชบล็อกแหงนี้
ประกอบกับเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit เผยแพรขอมูลและขาวสารที่เปนประโยชนในการศึกษาวิชานี้แก
นักศึกษาตลอดภาคการศึกษา ดังนั้น ผูบรรยายขอเชิญชวนใหนักศึกษาใชทั้งบล็อกและเฟสบุคดังกลาวมานี้เปน
ศูนยกลางในการติดตอสื่อสารและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือขอมูลกับผูบรรยายหรือระหวางนักศึกษาดวยกันเอง

การวัดผลการศึกษา
       การวัดผลการศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ประกอบดวย
       ๑. การมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษา มีน้ำหนักรอยละ ๓๐ และ
       ๒. การเสนอและผลิตตนฉบับบทความ มีน้ำหนักรอยละ ๗๐
       ในการวัดผลการมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษาตาม ๑. ผูบรรยายพิจารณาจากความพรอมของนักศึกษา
ในการศึกษา เชน เขาศึกษาลาชาเปนประจำหรือไม คุณภาพของการเตรียมตนเองเพื่อการเขาศึกษา รวมทั้งคุณภาพ
และปริมาณในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือการทำกิจกรรมในการศึกษาเปนอยางไร
       สำหรับการวัดผลในการเสนอและผลิตตนฉบับบทความของนักศึกษาตาม ๒. นั้น ผูบรรยายพิจารณาจาก
คุณภาพของเคาโครงบทความและการเสนอเคาโครงบทความดังกลาวตอผูบรรยายและนักศึกษาคนอื่น ๆ ในวันที่
กำหนดตามกำหนดการศึกษาดังกลาวมาแลวขางตน รวมทั้งคุณภาพของตนฉบับบทความที่นักศึกษาสงตอนปลาย
ภาคการศึกษา
       นักศึกษาตองสงตนฉบับบทความตอสำนักงานบัณฑิตศึกษาไมชากวาเวลา ๑๖.๓๐ น. ของวันศุกรที่ ๒๙
ตุลาคม ๒๕๕๓
       เวนแตไดรับอนุญาตจากชาคริต สิทธิเวช นักศึกษาที่สงตนฉบับบทความตอสำนักงานบัณฑิตศึกษาลาชากวา
วันที่กำหนดจะถูกหักคะแนนรอยละ ๑๐ ของคะแนนตาม ๒. สำหรับแตละวันที่สงตนฉบับบทความตอสำนักงาน
บัณฑิตศึกษาลาชานั้น




                                                                                                           4

More Related Content

Viewers also liked

Infertility 101 with fertility partnership
Infertility 101 with fertility partnershipInfertility 101 with fertility partnership
Infertility 101 with fertility partnership
Fertility Partnership
 
Technologies used evaluation
Technologies used evaluationTechnologies used evaluation
Technologies used evaluation
KatieConnorMike
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
faceise
 

Viewers also liked (17)

Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
 
Infertility 101 with fertility partnership
Infertility 101 with fertility partnershipInfertility 101 with fertility partnership
Infertility 101 with fertility partnership
 
Technologies used evaluation
Technologies used evaluationTechnologies used evaluation
Technologies used evaluation
 
16rb.05.1 les loisirs
16rb.05.1 les loisirs16rb.05.1 les loisirs
16rb.05.1 les loisirs
 
Week 10 class (16 august 2010) slideshow
Week 10 class (16 august 2010) slideshowWeek 10 class (16 august 2010) slideshow
Week 10 class (16 august 2010) slideshow
 
February look at teaching
February look at teachingFebruary look at teaching
February look at teaching
 
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
 
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
2553 la201 week 2 class (21 june 2010) slideshow
 
04 02-1 aimer + activités
04 02-1 aimer + activités04 02-1 aimer + activités
04 02-1 aimer + activités
 
09-06-2 ce cette
09-06-2 ce cette09-06-2 ce cette
09-06-2 ce cette
 
Dance Tunes Special Meeting Presentation English
Dance Tunes Special Meeting Presentation EnglishDance Tunes Special Meeting Presentation English
Dance Tunes Special Meeting Presentation English
 
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมบทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
บทบาทของภาครัฐในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
 
2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshow2553 la786 week 1 class slideshow
2553 la786 week 1 class slideshow
 
01 02b.04.1 boissons au café
01 02b.04.1 boissons au café01 02b.04.1 boissons au café
01 02b.04.1 boissons au café
 
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
 
Wl interpretive reading nov 30th v6
Wl interpretive reading nov 30th v6Wl interpretive reading nov 30th v6
Wl interpretive reading nov 30th v6
 

More from Chacrit Sitdhiwej

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
 
The public face
The public faceThe public face
The public face
 
the many faces
the many facesthe many faces
the many faces
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมาย
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)
 
environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัย
 
Edm
EdmEdm
Edm
 

Draft 2553 la783 course outline

  • 1. ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓) คณะนิติศาสตร, น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ๓ หนวยกิต เคาโครงการศึกษา–ภาค ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๓ ผูบรรยาย ชื่อ: ชาคริต สิทธิเวช สำนักงาน: หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร โทรศัพท: ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓ อีเมล: schacrit@tu.ac.th บล็อก: www.sustainableclasses.net เฟสบุค: www.facebook.com/schacrit 1
  • 2. ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓) ขอตอนรับนักศึกษาสูวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ดวยความยินดี วิชา น.๗๘๓ กฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร เปนวิชาเลือกวิชาหนึ่งตามหลักสูตรนิติศาสตรมหา บัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร1 คำบรรยายรายวิชา ศึกษาปญหาเกี่ยวกับการเกษตรและสถาบันการเกษตร ตลอดจนกฎหมายที่มีผลกระทบถึง “กรรมสิทธิ์” ที่ดินที่ใช [ใน]การเกษตร การควบคุมการใชที่ดิน การพัฒนาที่ดินและการปฏิรูปที่ดิน2 วัตถุประสงคของการศึกษา การศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร มีวัตถุประสงคหลักเจ็ดประการ คือ ๑. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการทำความเขาใจและทำความคุนเคยกับปญหากฎหมายเกี่ยวกับ การเกษตรและสถาบันการเกษตร ๒. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษากฎหมายเพื่อวิเคราะหและแกไขปญหากฎหมายเกี่ยวกับ การเกษตรและสถาบันการเกษตร ๓. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการผลิตงานเขียนวิชาการคุณภาพสูง เชน บทความหรือรายงานการ ศึกษา ๔. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการสื่อสาร การแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเสนอผลงาน วิชาการ การรวมและการควบคุมการประชุม การอภิปรายหรือการสัมมนาวิชาการ ๕. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษาหรือคนควาขอมูลหรือขาวสารคุณภาพสูง จากแหลงและใน รูปแบบตาง ๆ เชน ตำรา หนังสือ บทความ เอกสารประเภทอื่น ๆ หรือขาว ทั้งที่จัดพิมพบนกระดาษและที่เผย แพรบนอินเตอรเน็ต ๖. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการรวบรวมหรือจัดเก็บขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. อยางเปนระบบ ๗. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการนำขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. หรือที่ รวบรวมหรือจัดเก็บไวตาม ๖. มาใชอยางมีประสิทธิภาพ เอกสารประกอบการศึกษา ในปจจุบัน ยังไมมีหนังสือหรือตำราวาดวยปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร โดยเฉพาะ อยางไรก็ตาม หนังสือและเอกสารดังมีรายชื่อตอไปนี้เปนเอกสารที่นาจะเปนประโยชนในการศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ในเบื้องตน ๑. ตัวอยางหนังสือที่นักศึกษาควรศึกษา เชน Yair Mundlan, Agriculture and economic growth: theory and measurement (2000). John B Penson Jr, Oral Capps Jr and C Parr Rosson III, Introduction to agricultural economics (3rd ed, 2002). 1 โปรดดูคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, “หลักสูตรนิติศาสตมหาบัณฑิต: หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๔” ในคูมือการศึกษาหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. ๒๕๕๐ (เดือนตุลา) หนา ๑๐๒-๑๓๒. 2 อางแลว หนา ๑๓๑. 2
  • 3. ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓) François Molle and Thippawal Srijantr (eds), Thailand’s rice bowl: perspective on agriculture and social change in the Chao Phraya Delta (White Lotus, 2003). นักศึกษาสามารถยืมหนังสือดังกลาวมานี้ไดจากหองสมุดปวย อึ๊งภากรณ ๒. นอกจากนั้น ยังมีบทความในวารสารกฎหมายตาง ๆ ที่นักศึกสามารถคนควาไดจากระบบหองสมุดหรือ อินเตอรเน็ต กำหนดการศึกษา เพื่อประโยชนของนักศึกษาเอง นักศึกษาควรศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของดวยตนเองกอนรวมการศึกษาแตละครั้ง การศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร แตละครั้ง จัดขึ้นทุกวันศุกร ระหวางเวลา ๑๗.๓๐ น. และเวลา ๒๐.๓๐ น. ณ หอง ๓๒๑ การศึกษามีทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง เริ่มตั้งแตวันศุกรที่ ๑๘ มิถุนายน จนถึงวันศุกรที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ รายละเอียดการศึกษาแตละครั้งเฉพาะในความรับผิดชอบของชาคริต สิทธิเวช มีดังนี้ ครั้งที่ วันที่ เรื่อง หมายเหตุ ๑ ๑๘ มิ.ย. กำหนดเคาโครงการศึกษา ๒ ๒๕ มิ.ย. ... ๓ ๒ ก.ค. ... ๔ ๙ ก.ค. ... ๕ ๑๖ ก.ค. นักศึกษาเสนอเคาโครงบทความ (๑) ๖ ๒๓ ก.ค. นักศึกษาเสนอเคาโครงบทความ (๒) ๗ ๓๐ ก.ค. ... ๘ ๖ ส.ค. ... ๙ ๑๓ ส.ค. ... ๑๐ ๒๐ ส.ค. ... ๑๑ ๒๗ ส.ค. ... ๑๒ ๓ ก.ย. ... ๑๓ ๑๐ ก.ย. ... ๑๔ ๑๗ ก.ย. นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๑) ๑๕ ๒๔ ก.ย. นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๒) ๑๖ ๑ ต.ค. • นักศึกษาเสนอตนฉบับบทความ (๓) • สรุปและประเมินผลการศึกษา 3
  • 4. ราง (๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๓) การใหคำปรึกษา นักศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ที่ตองการคำปรึกษาจากผูบรรยาย นอกเหนือไปจากการรวมการศึกษาตามกำหนดการศึกษาดังกลาวขางตน สามารถพบผูบรรยายตลอดภาคการศึกษา นี้ไดที่หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร ทุกวันพฤหัสบดี ระหวางเวลา ๙.๐๐ น. และเวลา ๑๒.๐๐ น. นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถติดตอผูบรรยายทางโทรศัพทไดที่ ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓ หรือทางอีเมลไดที่ schacrit@tu.ac.th หรือ ทางเฟสบุคไดที่ www.facebook.com/schacrit หรือทางบล็อกไดที่ www.sustainableclasses.net บล็อกและเฟสบุค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาและเพื่อเพิ่มทักษะการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสใหเปนประโยชนแกการศึกษาของ นักศึกษา รวมทั้งการประกอบอาชีพของนักศึกษาในอนาคต ผูบรรยายไดจัดทำบล็อกสำหรับวิชา น.๗๘๓ ปญหา กฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ขึ้นที่ www.sustainableclasses.net ทั้งนี้ ผูบรรยายจักใชบล็อกแหงนี้ ประกอบกับเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit เผยแพรขอมูลและขาวสารที่เปนประโยชนในการศึกษาวิชานี้แก นักศึกษาตลอดภาคการศึกษา ดังนั้น ผูบรรยายขอเชิญชวนใหนักศึกษาใชทั้งบล็อกและเฟสบุคดังกลาวมานี้เปน ศูนยกลางในการติดตอสื่อสารและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือขอมูลกับผูบรรยายหรือระหวางนักศึกษาดวยกันเอง การวัดผลการศึกษา การวัดผลการศึกษาวิชา น.๗๘๓ ปญหากฎหมายการเกษตรและสถาบันการเกษตร ประกอบดวย ๑. การมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษา มีน้ำหนักรอยละ ๓๐ และ ๒. การเสนอและผลิตตนฉบับบทความ มีน้ำหนักรอยละ ๗๐ ในการวัดผลการมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษาตาม ๑. ผูบรรยายพิจารณาจากความพรอมของนักศึกษา ในการศึกษา เชน เขาศึกษาลาชาเปนประจำหรือไม คุณภาพของการเตรียมตนเองเพื่อการเขาศึกษา รวมทั้งคุณภาพ และปริมาณในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือการทำกิจกรรมในการศึกษาเปนอยางไร สำหรับการวัดผลในการเสนอและผลิตตนฉบับบทความของนักศึกษาตาม ๒. นั้น ผูบรรยายพิจารณาจาก คุณภาพของเคาโครงบทความและการเสนอเคาโครงบทความดังกลาวตอผูบรรยายและนักศึกษาคนอื่น ๆ ในวันที่ กำหนดตามกำหนดการศึกษาดังกลาวมาแลวขางตน รวมทั้งคุณภาพของตนฉบับบทความที่นักศึกษาสงตอนปลาย ภาคการศึกษา นักศึกษาตองสงตนฉบับบทความตอสำนักงานบัณฑิตศึกษาไมชากวาเวลา ๑๖.๓๐ น. ของวันศุกรที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เวนแตไดรับอนุญาตจากชาคริต สิทธิเวช นักศึกษาที่สงตนฉบับบทความตอสำนักงานบัณฑิตศึกษาลาชากวา วันที่กำหนดจะถูกหักคะแนนรอยละ ๑๐ ของคะแนนตาม ๒. สำหรับแตละวันที่สงตนฉบับบทความตอสำนักงาน บัณฑิตศึกษาลาชานั้น 4