SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แสง - ตา และการมองเห็น
                                                                             แสงเปนพลังงานที่ทําใหเกิดการมองเห็น ในทางฟสิกสถือวาแสงเปนคลื่น
                                                                             แมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง เคลื่อนที่ดวยความเร็ว ประมาณ 300,000 กม./
                                                                             วินาที มีคุณสมบัติในการกระจายพลังงานออกมาที่ความยาวคลื่นตางๆ กัน
                                                                             แหลงกําเนิดแสงธรรมชาติ ที่รูจักกันดีคือดวงอาทิตยซึ่งใหพลังงานออกมาที่
                                                                             ความยาวคลื่นตางๆ กวางมากตั้งแตรังสีคอสมิกจนถึงคลื่นวิทยุ ดังรูป




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                          รูปที่ 1.1 สเปคตรัมทั้งหมดของพลังงาน

   แตแถบพลังงานที่มีอิทธิพลตอตาคนเราและทําใหเกิดการมองเห็นเปนเพียง
   ชวงแคบๆ ระหวาง 380 – 780 นาโนเมตร เราเรียกชวงของการกระจายนี้วา
   Visible spectrum


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม
ชวงความยาวคลื่นเหลานี้เราสามารถแยกใหเห็นแถบของการกระจาย
                                                                                                                  พลังงานอยางกวางๆได 7 แถบ แตละแถบของการกระจาย พลังงานเรียกวา
                                                                                                                  Spectrum ชวงการกระจายที่ตางกันทําใหเรามองเห็นสีตางกันดังตาราง
                                                                                                                  ขางลาง




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                                     ราชมงคลลานนา เชียงใหม




       รังสี  รังสี รังสี                        อินฟรา ไมโคร
                          UV                                             TV คลื่นวิทยุ พลังงานไฟฟา
      คอสมิก แกมมา เอกซ                         เรด    เวฟ
 .00001nm .001nm 1nm         10nm                        .0001ft        .01ft   1ft 100ft    1mi   3100mi

             อัลตราไวโอเลต                   แสง                                  อินฟราเรด



            300           400            500      600        700                      1000          1500
                                            ความยาวคลื่น (nm)


                                รูปที่ 1.1 สเปคตรัมทั้งหมดของพลังงาน


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                                     ราชมงคลลานนา เชียงใหม
1.1 ชนิดของการกําาเนิดแสง
                                                                             1.1 ชนิดของการกํ เนิดแสง
                                                                                      ชนิดของการกําเนิดแสงแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

                                                                                     1. การแผรังสีของวัตถุ (Thermatinic radiation)
                                                                                 โดยการเพิ่มอุณหภูมิใหกับวัตถุ
                                                                                 เรียกวา แหลงกําเนิดแสงรอน (hot source) หรือ อินแคนเดสเซนต
                                                                                 (incandescent) เชน หลอดไส การเผาถาน

                                                                                      2. การถายเทประจุไฟฟาในกาซ (Electric gas discharge)
                                                                                 เรียกวา แหลงกําเนิดแสงเย็น (cold source) หรือ ลูมิเนสเซนต
                                                                                (luminescent) เชน หลอดฟลูออเรสเซนต


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                ราชมงคลลานนา เชียงใหม




          1.2 ธรรมชาติแและพฤติกรรมของแสง
           1.2 ธรรมชาติ ละพฤติกรรมของแสง                                                                             GREEN



                   สีตามธรรมชาติเกิดจากการผสมของสี 2 รูปแบบ                                              YELLOW                 CYAN

                                                                                                                    WHITE
                   การผสมของสีปฐมภูมแบบเพิ่มขึน (Additive Primaries)
                                    ิ         ้
                                                                                                      RED           MAGEN                BLUE
                   การผสมของสีปฐมภูมแบบลดลง (Subtractive Primaries)
                                    ิ                                                                                TA




                                                                                                  รูปที่ 1.2 การผสมของสีปฐมภูมิแบบเพิ่มขึ้น


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                ราชมงคลลานนา เชียงใหม
YELLOW


                                                               RED
                                                                                  GREEN

                                                                       BLACK

                                                      MAGEN
                                                                        BLUE              CYAN
                                                       TA




                                                       รูปที่ 1.3 การผสมของสีปฐมภูมิแบบลดลง



ราชมงคลลานนา เชียงใหม   ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                                           พฤติกกรรมของแสง
                                           พฤติ รรมของแสง

                                              - การสะทอน (reflection)
                                              - การหักเห (refraction)
                                              - การกระจายแสง (diffusion)                 มี 5 ลักษณะ
                                              - การทะลุผาน (transmission)
                                              - การดูดกลืน (absorbtion)




ราชมงคลลานนา เชียงใหม   ราชมงคลลานนา เชียงใหม
1. การสะทออน(reflection)
                    1. การสะท น (reflection)



                                       NORMAL
                                  ANGLE OF ANGLE OF
                                 INCIDENCE REFLECTION




                           รูปที่ 1.4 การสะทอนแสงบนวัตถุผิวเรียบและมัน

ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                ราชมงคลลานนา เชียงใหม




           2. การหักกเห(refraction)
            2. การหั เห (refraction)


                                                        GLASS

                                    AIR
                                                                           ANGLE OF
                                                                          REFLECTION
            NORMAL
                               ANGLE OF
                              INCIDENCE


                                      รูปที่ 1.5 การหักเหของแสง

ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                ราชมงคลลานนา เชียงใหม
3. การกระจายแสง (diffusion)
               3. การกระจายแสง (diffusion)




                                      รูปที่ 1.6 การกระจายแสง


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                         ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                          4. การทะลุผผาน(transmission)
                           4. การทะลุ าน (transmission)                                  5. การดูดดกลืน(absorbtion)
                                                                                           5. การดู กลืน (absorbtion)

                                                                                               แสงสีขาว




                                                                                          }
                                                                                              G R B                             R




                                                                                                                         วัตถุสีแดง
                                        รูปที่ 1.7 การทะลุผาน
                                                           
                                                                                                        รูปที่ 1.8 การดูดกลืน

ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                         ราชมงคลลานนา เชียเปนพฤติกรรมของแสงที่ทําใหตาเราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได
                                                                                  งใหม
1.3 ธรรมชาติของการมองเห็น
                                                                                                   1.3 ธรรมชาติของการมองเห็น




     การดูดกลืนแบบเลือกเปนผลของสีวัตถุที่แยกอนุภาคของแสงที่สองสวางวัตถุนั้น
     สวนหนึงของรังสีจะถูกดูดกลืนไว แลวสะทอน สวนที่เหลือออกไป เชนวัตถุที่มีสี
               ่
     เขียวเมื่อถูกสองดวยแสงแดด วัตถุนั้นจะดูดกลืนพลังงานในชวงอื่นไวยกเวนสีเขียว
     และสะทอน แสงสีเขียวเขาตาเรา จึงมองเห็นวัตถุนั้นเปนสีเขียวเปนตน


                                                                                                                     รูปที่ 1.9 สวนประกอบของลูกนัยนตา
ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                                                                                             สววนประกอบของนัยนตาา
                                                                                             ส นประกอบของนัยนต
                                                                                               1. สเคลอโรติค โคต(Sclerotic Coat) เปนเนื้อแข็งเหนียว สีขาวทึบ สวนหนาของ
   เมื่อแสงตกกระทบที่วัตถุใดๆ มันจะสะทอนเขาสูกระบอกตา ผานแกวตา (cornea) มาน           สเคลอโรติค โคตที่เห็นได คือตาขาวนั่นเอง
   ตา (iris) ลูกตา (lens) เรตินา ประสาทตา (retina) และสมองตามลําดับ การควบคุม
   ปริมาณแสงจะอาศัยการทํางานของมานตาคอยควบคุมปริมาณแสงใหเหมาะสมและ                              2. คอรเนีย (Cornea) เปนสวนหนาของ Sclerotic Coat
   ปลอดภัยกับนัยนตา เชน หากเรามองแสงที่มีความสวางมามานตาจะปดตัวลงมาเพื่อรับ                3. แอควัสฮูเมอร(Aqueous Humour) เปนของเหลวใสบรรจุอยูระหวางคอรเนีย
   แสงที่เหมาะสม หรือ เมื่อเรามองในที่มืดสลัวมานจะเปดกวางเพื่อรับแสงไดมากขึ้น           กับเลนสลูกนัยนตา เปนสวนสําคัญที่ชวยใหนยนตามองเห็นไดกวางมาก
                                                                                                                                        ั
   นอกจากนี้แลวนัยนตายังมีกลามเนื้อตาจะทําหนาที่ขยายตัวและหดตัว เพื่อโฟกัสใหคลื่น
   แสงที่มากระทบแกวตาและลูกตาไปตกลงบนเรตินาเพื่อใหไดภาพที่ชัดที่สุด                          4. คอรอยด (Choroides) คือเปลือกชั้นทีสองตอจาก Sclerotic Coat มีสีน้ําตาลแก
                                                                                                                                      ่
                                                                                            ทําหนาที่ปองกันไมใหแสงเขาไปภายในทางดานขางของลูกนัยนตา และปองกันไมให
                                                                                            เกิดการสะทอนแสงภายในลูกนัยนตาได

ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม
5. ไอริส (Iris) ทําหนาที่เปนมานตาสําหรับเปดชองกลมตรงกลางใหใหญหรือ              9. เรตินา (Retina) มีลักษณะ เปนเยื่อสีดํา ผิวภายในเต็มไปดวยปลายประสาท
       เล็ก เพื่อชวยใหแสงผานเขาลูกนัยนตาไดพอเหมาะ                                       ประกอบดวย Rods ซึ่งมีความไวตอแสง และ Cones หากนัยนตาไมมี Cones เลย
          6. ปวปล (Pupil) เปนชองกลมเล็ก ๆ กลางมานตา ใชเปนชองใหแสงผานเขา            ตาก็จะบอดสีทงหมด
                                                                                                             ั้
       เลนสลูกนัยนตา                                                                           10. ออปติค เนอรฟ (Optic nervers) คือมัดฝอยเสนประสาทของ Retina ที่
            7. เลนสนัยนตา (Crystalline) หรือ แกวตา เลนสนัยนตาจะสามารถปองออก             รวมกันโยงไปถึงสมอง
       เพื่อปรับความยาวโฟกัสใหระยะภาพใหตกพอดีบน Retina ได                                       11. เยลโลว สปอต (Yellow spot) เปนหยอมทีไวตอแสงที่สุดของ Retina
                                                                                                                                                ่
           8. ซิลิอารี มัสเซิล (Ciliary muscles) เปนกลามเนื้อเกาะยึดรอบเลนสของ             อยูตรงขามกับเลนสนัยนตา เวลามองดูวัตถุเราตองกลอกลูกนัยนตา เพื่อใหภาพ
       นัยนตา มีหนาที่ทําใหแกวตาปองหรือแฟบที่ตรงกลาง เพื่อเปลี่ยนทางยาวโฟกัส             ของวัตถุนั้นปรากฏบน Yellow spot จึงจะเห็นไดชดเจนที่สด
                                                                                                                                             ั      ุ
       มากนอยตามตองการได


ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                 ราชมงคลลานนา เชียงใหม




         12.โฟวีอา เซนตราลิส(Fovea centralis) เปนสวนนูนเล็ก ๆ กลางหยอมสีเหลือง
    ทีมีไวตอแสงมากที่สุดของYellow spot หากตองการดูวัตถุใหเห็นรายละเอียดสวนใด
      ่
    อยางชัดเจน ตองเพงมองใหแสงจากสวนนั้นของวัตถุตกบน Fovea centralis
          13. ไบลน สปอต (Blind spot) เปนจุดยอดอยูบนกึ่งกลางขั้วมัดประสาท ทีโยง
                                                                                ่
    ไปสูสมอง ี้ซึ่งเปนจุดบอดแสง ถาแสงจากวัตถุตกมาบนจุดนี้แลว จะมองไมเห็นวัตถุนั้น
        
          14. วิตริอัส ฮูเมอร(Vitreous Humour) เปนของเหลวใส เหมือนวุน บรรจุอยู
     เต็มโพรงที่วางภายในลูกนัยนตา ระหวางเลนสกับ Yellow spot ชวยทําใหลูกนัยนตา
     รักษารูปทรงอยูได



ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                 ราชมงคลลานนา เชียงใหม
Retina เปนสวนของเซลรับแสง ประกอบดวยเซลไวแสง 2 ชนิดคือ Cones กับ Rods

                                                 Cones เซลรับแสงที่มีลักษณะเปนแทงทูๆ
                                                 รวมกันอยูอยางหนาแนนบริเวณรอบๆ              Rods เซลรับแสงที่มีลักษณะเปนแทงยาวๆ ไวแสงมาก กระจายอยูบริเวณรอบนอก Fovea มี
                                                 Fovea มีจํานวน 6-7 ลานอันแบงเปน 3          จํานวนประมาณ 100 ลานอัน rods จํานวนหลายพันตัวถูกตออยูกับเสนประสาท 1 เสนจึง
                                                 กลุมมีความไวตอแสงสีตางกันคือไวตอ          ทําใหความคมชัดของการมองเห็นต่ํามาก จะไมปรากฏสีตางๆ ในระบบของ rods จะเห็น
                                                 แสงสีแดง, เขียวและน้ําเงิน                    เปนเพียงขาว-ดําเทานั้น rods จะทํางานเมื่อไดรบแสงสวางนอยๆ คือระหวาง 10-6 - 1 fl.
                                                                                                                                              ั
 Cones จะมีผลตอการมองเห็นแบบ                                                                  การกระจายตัวของเซลรับแสงบนเรตินาแสดงดังรูป
 daylight เทานั้นซึ่งจะเริ่มทํางานเมื่อไดรับ
 แสงประมาณ 1 fl. (foot-Lambert) ขึ้นไป
 การมองเห็นสีตางๆ ขึ้นอยูกับการทํางาน
 ของ Cones ถา Cones ทั้ง 3 กลุมทํางาน
 พรอมกันเทาๆ กันจะมองเห็นเปนแสงสี
 ขาวหรือไมมีสี ถา Cones ตัวใดตัวหนึ่งเสีย
 ไปจะทําใหเกิดตาบอดสี                                  Cones จะทํางานเวลากลางวัน                                                               Rods จะทํางานเวลากลางคืน
ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                   ราชมงคลลานนา เชียงใหม




     โคนจะทําหนาที่ในการแยกรายละเอียดของสิ่งตางๆ และรับความรูสึกทางดานสีของสิ่ง
     ที่เรามองเห็นมองเห็นไดเปนอยางดี โคนจะทําหนาที่ในตอนกลางวันทําใหการมองเห็น
     ภาพตางๆ ไดดี
     รอดสนนชวยในการมองเห็นภาพอยางหยาบๆ ไมสามารถแยกรายละเอียดและสีได มัน
           ั้
     จะทําหนาที่ไดดีในตอนกลางคืน ดังนั้นรอดสจึงไวตอแสงแมเพียงเล็กนอย




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                                   ราชมงคลลานนา เชียงใหม
1. เวลาทีใใชใในการมอง (Exposure Time)
                                                                                                1. เวลาที่ ่ ช นการมอง (Exposure Time)
           1.4 ความสัมพันธธของแสงและการมองเห็น
            1.4 ความสัมพัน ของแสงและการมองเห็น
                    - เวลาที่ใชในการมอง (Exposure Time)
                    - ขนาด (Visual Size)
                    - คอนทราสต (Contract)
                                                            มี 4 อยาง
                    - ความสวาง (Luminance or Brightness)




                                                                                                   รูปที่ 1.10 ความสัมพันธระหวางเวลากับปริมาณแสง

ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                  ราชมงคลลานนา เชียงใหม
2. ขนาด (Visual Size)
              2. ขนาด (Visual Size)




                          รูปที่ 1.11 แสดงการมองวัตถุที่อยูในตําแหนงตางกัน


ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                                                                                             3. คอนทราสต (Contract)
                                                                                            3. คอนทราสต (Contract)




                                                                                              CO             CO             CO             CO            CO      CO

                                                                                                    รูปที่ 1.12 แสดงความแตกตางระหวางความดํา - ขาว(คอนทราสต)




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                                         ราชมงคลลานนา เชียงใหม
4. ความสวาาง(Luminance or Brightness)
                                                                 4. ความสว ง(Luminance or Brightness)

                                                                   คือความสวางของวัตถุที่สามารถสะทอนแสงเขาสูดวงตา ซึ่งจะทําใหการมองเห็นดีขึ้น
                                                                ความสวาง (Luminance) ขึ้นอยูกับปริมาณแสงที่ตกกระทบพื้นผิวใดๆ แลวสะทอนเขาสู
                                                                ตาเราในปริมาณที่เหมาะสม




ราชมงคลลานนา เชียงใหม                                      ราชมงคลลานนา เชียงใหม




                          ปจจัยอื่นๆ ที่มีผลตอการมองเห็น
                                                               1.5 อุณหภูมิสี ี
                                                                1.5 อุณหภูมิส
                                                               เปนคาอุณหภูมิในหนวยเคลวิน (Kelvin) ซึ่งจะบอกใหเรารูวาสีของแหลงกําเนิดแสง
                                                               หนึ่งๆ เปนอยางไร โดยการเปรียบเทียบกับสีของวัตถุดําที่อุณหภูมิเดียวกัน
                                                               คือ เรารูวาสีของวัตถุดําจะเปนสีดําที่อณหภูมหอง เปนสีแดงที่อุณหภูมิ 800 เคลวิน เปนสี
                                                                                                        ุ    ิ
                                                               เหลืองที่อุณหภูมิ 3000 เคลวิน เปนสีขาวที่อุณหภูมิ 5000 เคลวิน และเปนสีฟาที่อุณหภูมิ
                                                               8000 เคลวิน เปนตน เราจึงใชคาอุณหภูมิสีเหลานี้เปนตัวบอกชี้สีของแหลงกําเนิดแสงใดๆ
                                                               เชน ขดลวดทังสเตนมีคาอุณหภูมิสีอยูระหวาง 2600 ถึง 3000 เคลวิน เพราะมันใหแสง
                                                                                                          
                                                               ออกมาเปนสีเหลืองจาเมื่อถูกความรอน นอกจากนั้นอุณหภูมิสียังสามารถกําหนดชือตาม    ่
                                                               อุณหภูมิสไดเปน วอรมไลท คือ แบบวอรม (warm) สีเปลงออกมาเปนสีแดง-สม อุณหภูมิ
                                                                            ี
                                                               สีต่ํากวา 3200 เคลวิน และ แบบคูล (cool) สีเปลงออกมาเปนสีน้ําเงิน-ขาว อุณหภูมิสสง   ี ู
                                                               กวา 3900 เคลวิน และยังสามารถแบงใหละเอียดออกไปอีกหลายแบบแตก็ยังอาศัยทังแบบ       ้
ราชมงคลลานนา เชียงใหม
                                                               วอรมและคูลเปนหลัก
                                                             ราชมงคลลานนา เชียงใหม

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

แสงกับการมองเห็น 1

  • 1. แสง - ตา และการมองเห็น แสงเปนพลังงานที่ทําใหเกิดการมองเห็น ในทางฟสิกสถือวาแสงเปนคลื่น แมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง เคลื่อนที่ดวยความเร็ว ประมาณ 300,000 กม./ วินาที มีคุณสมบัติในการกระจายพลังงานออกมาที่ความยาวคลื่นตางๆ กัน แหลงกําเนิดแสงธรรมชาติ ที่รูจักกันดีคือดวงอาทิตยซึ่งใหพลังงานออกมาที่ ความยาวคลื่นตางๆ กวางมากตั้งแตรังสีคอสมิกจนถึงคลื่นวิทยุ ดังรูป ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม รูปที่ 1.1 สเปคตรัมทั้งหมดของพลังงาน แตแถบพลังงานที่มีอิทธิพลตอตาคนเราและทําใหเกิดการมองเห็นเปนเพียง ชวงแคบๆ ระหวาง 380 – 780 นาโนเมตร เราเรียกชวงของการกระจายนี้วา Visible spectrum ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 2. ชวงความยาวคลื่นเหลานี้เราสามารถแยกใหเห็นแถบของการกระจาย พลังงานอยางกวางๆได 7 แถบ แตละแถบของการกระจาย พลังงานเรียกวา Spectrum ชวงการกระจายที่ตางกันทําใหเรามองเห็นสีตางกันดังตาราง ขางลาง ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม รังสี รังสี รังสี อินฟรา ไมโคร UV TV คลื่นวิทยุ พลังงานไฟฟา คอสมิก แกมมา เอกซ เรด เวฟ .00001nm .001nm 1nm 10nm .0001ft .01ft 1ft 100ft 1mi 3100mi อัลตราไวโอเลต แสง อินฟราเรด 300 400 500 600 700 1000 1500 ความยาวคลื่น (nm) รูปที่ 1.1 สเปคตรัมทั้งหมดของพลังงาน ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 3. 1.1 ชนิดของการกําาเนิดแสง 1.1 ชนิดของการกํ เนิดแสง ชนิดของการกําเนิดแสงแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. การแผรังสีของวัตถุ (Thermatinic radiation) โดยการเพิ่มอุณหภูมิใหกับวัตถุ เรียกวา แหลงกําเนิดแสงรอน (hot source) หรือ อินแคนเดสเซนต (incandescent) เชน หลอดไส การเผาถาน 2. การถายเทประจุไฟฟาในกาซ (Electric gas discharge) เรียกวา แหลงกําเนิดแสงเย็น (cold source) หรือ ลูมิเนสเซนต (luminescent) เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม 1.2 ธรรมชาติแและพฤติกรรมของแสง 1.2 ธรรมชาติ ละพฤติกรรมของแสง GREEN สีตามธรรมชาติเกิดจากการผสมของสี 2 รูปแบบ YELLOW CYAN WHITE การผสมของสีปฐมภูมแบบเพิ่มขึน (Additive Primaries) ิ ้ RED MAGEN BLUE การผสมของสีปฐมภูมแบบลดลง (Subtractive Primaries) ิ TA รูปที่ 1.2 การผสมของสีปฐมภูมิแบบเพิ่มขึ้น ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 4. YELLOW RED GREEN BLACK MAGEN BLUE CYAN TA รูปที่ 1.3 การผสมของสีปฐมภูมิแบบลดลง ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม พฤติกกรรมของแสง พฤติ รรมของแสง - การสะทอน (reflection) - การหักเห (refraction) - การกระจายแสง (diffusion) มี 5 ลักษณะ - การทะลุผาน (transmission) - การดูดกลืน (absorbtion) ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 5. 1. การสะทออน(reflection) 1. การสะท น (reflection) NORMAL ANGLE OF ANGLE OF INCIDENCE REFLECTION รูปที่ 1.4 การสะทอนแสงบนวัตถุผิวเรียบและมัน ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม 2. การหักกเห(refraction) 2. การหั เห (refraction) GLASS AIR ANGLE OF REFLECTION NORMAL ANGLE OF INCIDENCE รูปที่ 1.5 การหักเหของแสง ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 6. 3. การกระจายแสง (diffusion) 3. การกระจายแสง (diffusion) รูปที่ 1.6 การกระจายแสง ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม 4. การทะลุผผาน(transmission) 4. การทะลุ าน (transmission) 5. การดูดดกลืน(absorbtion) 5. การดู กลืน (absorbtion) แสงสีขาว } G R B R วัตถุสีแดง รูปที่ 1.7 การทะลุผาน  รูปที่ 1.8 การดูดกลืน ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียเปนพฤติกรรมของแสงที่ทําใหตาเราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได งใหม
  • 7. 1.3 ธรรมชาติของการมองเห็น 1.3 ธรรมชาติของการมองเห็น การดูดกลืนแบบเลือกเปนผลของสีวัตถุที่แยกอนุภาคของแสงที่สองสวางวัตถุนั้น สวนหนึงของรังสีจะถูกดูดกลืนไว แลวสะทอน สวนที่เหลือออกไป เชนวัตถุที่มีสี ่ เขียวเมื่อถูกสองดวยแสงแดด วัตถุนั้นจะดูดกลืนพลังงานในชวงอื่นไวยกเวนสีเขียว และสะทอน แสงสีเขียวเขาตาเรา จึงมองเห็นวัตถุนั้นเปนสีเขียวเปนตน รูปที่ 1.9 สวนประกอบของลูกนัยนตา ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม สววนประกอบของนัยนตาา ส นประกอบของนัยนต 1. สเคลอโรติค โคต(Sclerotic Coat) เปนเนื้อแข็งเหนียว สีขาวทึบ สวนหนาของ เมื่อแสงตกกระทบที่วัตถุใดๆ มันจะสะทอนเขาสูกระบอกตา ผานแกวตา (cornea) มาน สเคลอโรติค โคตที่เห็นได คือตาขาวนั่นเอง ตา (iris) ลูกตา (lens) เรตินา ประสาทตา (retina) และสมองตามลําดับ การควบคุม ปริมาณแสงจะอาศัยการทํางานของมานตาคอยควบคุมปริมาณแสงใหเหมาะสมและ 2. คอรเนีย (Cornea) เปนสวนหนาของ Sclerotic Coat ปลอดภัยกับนัยนตา เชน หากเรามองแสงที่มีความสวางมามานตาจะปดตัวลงมาเพื่อรับ 3. แอควัสฮูเมอร(Aqueous Humour) เปนของเหลวใสบรรจุอยูระหวางคอรเนีย แสงที่เหมาะสม หรือ เมื่อเรามองในที่มืดสลัวมานจะเปดกวางเพื่อรับแสงไดมากขึ้น กับเลนสลูกนัยนตา เปนสวนสําคัญที่ชวยใหนยนตามองเห็นไดกวางมาก ั นอกจากนี้แลวนัยนตายังมีกลามเนื้อตาจะทําหนาที่ขยายตัวและหดตัว เพื่อโฟกัสใหคลื่น แสงที่มากระทบแกวตาและลูกตาไปตกลงบนเรตินาเพื่อใหไดภาพที่ชัดที่สุด 4. คอรอยด (Choroides) คือเปลือกชั้นทีสองตอจาก Sclerotic Coat มีสีน้ําตาลแก ่ ทําหนาที่ปองกันไมใหแสงเขาไปภายในทางดานขางของลูกนัยนตา และปองกันไมให เกิดการสะทอนแสงภายในลูกนัยนตาได ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 8. 5. ไอริส (Iris) ทําหนาที่เปนมานตาสําหรับเปดชองกลมตรงกลางใหใหญหรือ 9. เรตินา (Retina) มีลักษณะ เปนเยื่อสีดํา ผิวภายในเต็มไปดวยปลายประสาท เล็ก เพื่อชวยใหแสงผานเขาลูกนัยนตาไดพอเหมาะ ประกอบดวย Rods ซึ่งมีความไวตอแสง และ Cones หากนัยนตาไมมี Cones เลย 6. ปวปล (Pupil) เปนชองกลมเล็ก ๆ กลางมานตา ใชเปนชองใหแสงผานเขา ตาก็จะบอดสีทงหมด ั้ เลนสลูกนัยนตา 10. ออปติค เนอรฟ (Optic nervers) คือมัดฝอยเสนประสาทของ Retina ที่ 7. เลนสนัยนตา (Crystalline) หรือ แกวตา เลนสนัยนตาจะสามารถปองออก รวมกันโยงไปถึงสมอง เพื่อปรับความยาวโฟกัสใหระยะภาพใหตกพอดีบน Retina ได 11. เยลโลว สปอต (Yellow spot) เปนหยอมทีไวตอแสงที่สุดของ Retina ่ 8. ซิลิอารี มัสเซิล (Ciliary muscles) เปนกลามเนื้อเกาะยึดรอบเลนสของ อยูตรงขามกับเลนสนัยนตา เวลามองดูวัตถุเราตองกลอกลูกนัยนตา เพื่อใหภาพ นัยนตา มีหนาที่ทําใหแกวตาปองหรือแฟบที่ตรงกลาง เพื่อเปลี่ยนทางยาวโฟกัส ของวัตถุนั้นปรากฏบน Yellow spot จึงจะเห็นไดชดเจนที่สด ั ุ มากนอยตามตองการได ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม 12.โฟวีอา เซนตราลิส(Fovea centralis) เปนสวนนูนเล็ก ๆ กลางหยอมสีเหลือง ทีมีไวตอแสงมากที่สุดของYellow spot หากตองการดูวัตถุใหเห็นรายละเอียดสวนใด ่ อยางชัดเจน ตองเพงมองใหแสงจากสวนนั้นของวัตถุตกบน Fovea centralis 13. ไบลน สปอต (Blind spot) เปนจุดยอดอยูบนกึ่งกลางขั้วมัดประสาท ทีโยง ่ ไปสูสมอง ี้ซึ่งเปนจุดบอดแสง ถาแสงจากวัตถุตกมาบนจุดนี้แลว จะมองไมเห็นวัตถุนั้น  14. วิตริอัส ฮูเมอร(Vitreous Humour) เปนของเหลวใส เหมือนวุน บรรจุอยู เต็มโพรงที่วางภายในลูกนัยนตา ระหวางเลนสกับ Yellow spot ชวยทําใหลูกนัยนตา รักษารูปทรงอยูได ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 9. Retina เปนสวนของเซลรับแสง ประกอบดวยเซลไวแสง 2 ชนิดคือ Cones กับ Rods Cones เซลรับแสงที่มีลักษณะเปนแทงทูๆ รวมกันอยูอยางหนาแนนบริเวณรอบๆ Rods เซลรับแสงที่มีลักษณะเปนแทงยาวๆ ไวแสงมาก กระจายอยูบริเวณรอบนอก Fovea มี Fovea มีจํานวน 6-7 ลานอันแบงเปน 3 จํานวนประมาณ 100 ลานอัน rods จํานวนหลายพันตัวถูกตออยูกับเสนประสาท 1 เสนจึง กลุมมีความไวตอแสงสีตางกันคือไวตอ ทําใหความคมชัดของการมองเห็นต่ํามาก จะไมปรากฏสีตางๆ ในระบบของ rods จะเห็น แสงสีแดง, เขียวและน้ําเงิน เปนเพียงขาว-ดําเทานั้น rods จะทํางานเมื่อไดรบแสงสวางนอยๆ คือระหวาง 10-6 - 1 fl. ั Cones จะมีผลตอการมองเห็นแบบ การกระจายตัวของเซลรับแสงบนเรตินาแสดงดังรูป daylight เทานั้นซึ่งจะเริ่มทํางานเมื่อไดรับ แสงประมาณ 1 fl. (foot-Lambert) ขึ้นไป การมองเห็นสีตางๆ ขึ้นอยูกับการทํางาน ของ Cones ถา Cones ทั้ง 3 กลุมทํางาน พรอมกันเทาๆ กันจะมองเห็นเปนแสงสี ขาวหรือไมมีสี ถา Cones ตัวใดตัวหนึ่งเสีย ไปจะทําใหเกิดตาบอดสี Cones จะทํางานเวลากลางวัน Rods จะทํางานเวลากลางคืน ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม โคนจะทําหนาที่ในการแยกรายละเอียดของสิ่งตางๆ และรับความรูสึกทางดานสีของสิ่ง ที่เรามองเห็นมองเห็นไดเปนอยางดี โคนจะทําหนาที่ในตอนกลางวันทําใหการมองเห็น ภาพตางๆ ไดดี รอดสนนชวยในการมองเห็นภาพอยางหยาบๆ ไมสามารถแยกรายละเอียดและสีได มัน ั้ จะทําหนาที่ไดดีในตอนกลางคืน ดังนั้นรอดสจึงไวตอแสงแมเพียงเล็กนอย ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 10. 1. เวลาทีใใชใในการมอง (Exposure Time) 1. เวลาที่ ่ ช นการมอง (Exposure Time) 1.4 ความสัมพันธธของแสงและการมองเห็น 1.4 ความสัมพัน ของแสงและการมองเห็น - เวลาที่ใชในการมอง (Exposure Time) - ขนาด (Visual Size) - คอนทราสต (Contract) มี 4 อยาง - ความสวาง (Luminance or Brightness) รูปที่ 1.10 ความสัมพันธระหวางเวลากับปริมาณแสง ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 11. 2. ขนาด (Visual Size) 2. ขนาด (Visual Size) รูปที่ 1.11 แสดงการมองวัตถุที่อยูในตําแหนงตางกัน ราชมงคลลานนา เชียงใหม 3. คอนทราสต (Contract) 3. คอนทราสต (Contract) CO CO CO CO CO CO รูปที่ 1.12 แสดงความแตกตางระหวางความดํา - ขาว(คอนทราสต) ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม
  • 12. 4. ความสวาาง(Luminance or Brightness) 4. ความสว ง(Luminance or Brightness) คือความสวางของวัตถุที่สามารถสะทอนแสงเขาสูดวงตา ซึ่งจะทําใหการมองเห็นดีขึ้น ความสวาง (Luminance) ขึ้นอยูกับปริมาณแสงที่ตกกระทบพื้นผิวใดๆ แลวสะทอนเขาสู ตาเราในปริมาณที่เหมาะสม ราชมงคลลานนา เชียงใหม ราชมงคลลานนา เชียงใหม ปจจัยอื่นๆ ที่มีผลตอการมองเห็น 1.5 อุณหภูมิสี ี 1.5 อุณหภูมิส เปนคาอุณหภูมิในหนวยเคลวิน (Kelvin) ซึ่งจะบอกใหเรารูวาสีของแหลงกําเนิดแสง หนึ่งๆ เปนอยางไร โดยการเปรียบเทียบกับสีของวัตถุดําที่อุณหภูมิเดียวกัน คือ เรารูวาสีของวัตถุดําจะเปนสีดําที่อณหภูมหอง เปนสีแดงที่อุณหภูมิ 800 เคลวิน เปนสี ุ ิ เหลืองที่อุณหภูมิ 3000 เคลวิน เปนสีขาวที่อุณหภูมิ 5000 เคลวิน และเปนสีฟาที่อุณหภูมิ 8000 เคลวิน เปนตน เราจึงใชคาอุณหภูมิสีเหลานี้เปนตัวบอกชี้สีของแหลงกําเนิดแสงใดๆ เชน ขดลวดทังสเตนมีคาอุณหภูมิสีอยูระหวาง 2600 ถึง 3000 เคลวิน เพราะมันใหแสง  ออกมาเปนสีเหลืองจาเมื่อถูกความรอน นอกจากนั้นอุณหภูมิสียังสามารถกําหนดชือตาม ่ อุณหภูมิสไดเปน วอรมไลท คือ แบบวอรม (warm) สีเปลงออกมาเปนสีแดง-สม อุณหภูมิ ี สีต่ํากวา 3200 เคลวิน และ แบบคูล (cool) สีเปลงออกมาเปนสีน้ําเงิน-ขาว อุณหภูมิสสง ี ู กวา 3900 เคลวิน และยังสามารถแบงใหละเอียดออกไปอีกหลายแบบแตก็ยังอาศัยทังแบบ ้ ราชมงคลลานนา เชียงใหม วอรมและคูลเปนหลัก ราชมงคลลานนา เชียงใหม