SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การนับเวลาแบบไทย  บูรณาการกับวิชาสังคมศึกษา โดย นางสาว  ศศิธร  ไพชยนต์ เลขที่  26  ชั้น  ม. 5/1 เสนอ  อาจารย์  สันติชัย  บุญรักษ์   โรงเรียนสงวนหญิง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
ก สาระสำคัญ เนื้อหาหลักภายในหนังสือ  ebook
ข จุดประสงค์การเรียนรู้ แสดงจุดประสงค์  ประมาณ1-3ข้อ 1.เพื่อ
ค สารบัญ แสดงสารบัญ ในหนังสือ  E-book
ง แบบทดสอบก่อนเรียน
1 การนับเวลาทางประวัติศาสตร์ ความหมาย คือการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มักนิยมใช้การระบุช่วงเวลาเพื่อให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบ
2 คำถามชวนคิด
3 การนับเวลาทางประวัติศาสตร์ ประเภทของการนับเวลา การนับเวลาแบบไทย การนับเวลาแบบสากล
4 การนับเวลาแบบไทย ในประวัติศาสตร์ไทย จะมีการบันทึกเรื่องราวต่างๆ โดยมีการอ้างอิงถึงการนับช่วงเวลาแตกต่างกันไป ตามแต่ละท้องถิ่นดังนี้
5 พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โดยเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1 ทั้งนี้ประเทศไทยจะนิยมใช้การนับเวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนมาเป็นที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 6) ในปีพุทธศักราช 2455
6 มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย และอยุธยาตอนต้นโดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย  (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งพ่อค้าอินเดียและพวกพราหมณ์นำเข้ามาเผยแพร่ในเวลาติดต่อการค้ากับไทยในสมัยโบราณ จะมีปรากฏในศิลาจาลึกเพื่อบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชที่1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
7 จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช 1181โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยา เพื่อการคำนวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช้
8 รัตนโกสินทร์ศก ( ร.ศ. ) การนับเวลาแบบนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5)ทรงตั้งขึ้นในปีพุทธศักราช2432โดยกำหนดให้กำหนดให้นับปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีพุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่1 เมษายน  ร.ศ. 108 (พ.ศ.2432) เป็นต้นมา
9 การนับเวลาแบบสากล
10 คำถามชวนคิด
11 คำถามชวนคิด

More Related Content

Viewers also liked

Източна Германия
Източна Германия Източна Германия
Източна Германия Frenskata
 
Soalan Perdagangan Bab 1
Soalan Perdagangan Bab 1Soalan Perdagangan Bab 1
Soalan Perdagangan Bab 1scs
 
Унгарско въстание - 1956
Унгарско въстание - 1956Унгарско въстание - 1956
Унгарско въстание - 1956Frenskata
 
T1 cuaca dan iklim
T1 cuaca dan iklimT1 cuaca dan iklim
T1 cuaca dan iklimscs
 
How Can I Use Social Media For Social Good?
How Can I Use Social Media For Social Good?How Can I Use Social Media For Social Good?
How Can I Use Social Media For Social Good?James Young
 

Viewers also liked (6)

My Resume
My ResumeMy Resume
My Resume
 
Източна Германия
Източна Германия Източна Германия
Източна Германия
 
Soalan Perdagangan Bab 1
Soalan Perdagangan Bab 1Soalan Perdagangan Bab 1
Soalan Perdagangan Bab 1
 
Унгарско въстание - 1956
Унгарско въстание - 1956Унгарско въстание - 1956
Унгарско въстание - 1956
 
T1 cuaca dan iklim
T1 cuaca dan iklimT1 cuaca dan iklim
T1 cuaca dan iklim
 
How Can I Use Social Media For Social Good?
How Can I Use Social Media For Social Good?How Can I Use Social Media For Social Good?
How Can I Use Social Media For Social Good?
 

Ebook 50126