SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object]
ส่วนประกอบต่างๆของ  Windows   เมนูโปรแกรม Time Taskbar ปุ่ม  Start
จากรูปภาพหน้าบน คือ หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ   Windows  หน้านี้ เราเรียกว่า  Desktop  ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก  ( กด )  คำสั่งต่าง ๆ ใน  Windows  ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ  ( ไอคอน )  ประกอบ   คำสั่งพิเศษ  :  เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ   Windows  ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งานบ่อยๆ   ส่วนประกอบของ  Windows   1. Start -  คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา     2. Desktop -  บริเวณพื้นที่ของ  Windows  เพื่อแสดงไอคอน หรือ  โปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน     3.Task Bar -  บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่
4.Icons -  รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่  ( บางไอคอนมีเฉพาะใน  Windows 98)   -  My Computer  ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ   -  My Document  เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน -  -  Internet Explorer  เวบบราวเซอร์สำหรับเล่น  WWW -  Recycle Bin  ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ   สามารถกู้คืนกลับมา
-  Outlook Express  โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์   - Network Neighborhood  ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ   การเปิด - ปิด  Windows  1.Open Windows -  เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า  Windows  อัตโนมัติ   2.Close Windows -  ใช้เมาส์คลิกปุ่ม  Start  เลือกคำสั่ง  Shut down  เลือกคำสั่ง   Shut down  อีกครั้ง
ขั้นตอนการเปิด - ปิด  Windows   ,[object Object],[object Object],ภาพตัวอย่าง  Shutdown  ของ  Windows XP ภาพตัวอย่าง  Shutdown  ของ  Windows ME
ขั้นตอนการปิดเครื่องในลักษณะต่าง ๆภาพตัวอย่าง  Shutdown  ของ  Windows XP ภาพตัวอย่าง  Shutdown  ของ  Windows ME คลิกปุ่ม  Start  เลือก  Shutdown  จะได้ดังภาพประกอบ จากภาพประกอบของ  Windows ME  ด้านบน ถ้าเป็น  95, 98  จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้   - Shutdown :  ปิดเครื่องทันที   - Restart :  ให้เริ่มเข้า  windows  ใหม่  ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้  windows)  - Stand by :  ให้เข้าระบบพักเครื่อง   1. หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม  OK 2. รอจนกระทั่ง  Windows  ถูกปิดไป  ( สำหรับเครื่องคอมฯ รุ่นใหม่ ๆ เวลา  Shutdown  เครื่อง ระบบ  power  ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน  Monitor  อาจยังไม่ปิด ดังนั้น ให้ปิดสวิทซ์  Monitor  ด้วย )   3. คำแนะนำ  ::  ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่  Shutdown Windows  ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า  Windows  ได้อีก   4. ยกเว้นกรณีเครื่อง  Hank  หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม  Power  เพื่อทำการปิดได้  ( คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่ )
การปรับแต่งหน้าตาของ  Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ  Windows  ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น  Wallpaper, Screen Saver,  และแม้แต่รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของหน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ  ( Desktop)  จากนั้นเลือกคำสั่ง  Properties
รายละเอียดแต่ละคำสั่งบนแท็ป   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การปรับเปลี่ยน  Background   ,[object Object],[object Object],[object Object]
การปรับเปลี่ยน  Settings   ,[object Object],[object Object],[object Object]
ทำความรู้จัก  Control Panel   ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การจัดการไฟล์ ด้วย  Windows Explorer   ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การปรับแต่งไอคอน บน  Desktop   ,[object Object]
วิธีการปรับแต่งไอคอน 1. เปลี่ยนชื่อไอคอน   ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม  F2  พิมพ์ชื่อใหม่ตามต้องการ สามารถพิมพ์ชื่อภาษาไทยได้ด้วย 2. ลบไอคอน   ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม  Del  3. จัดเรียงไอคอน   ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก  Arrange Icons   ดังภาพประกอบ
จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น  Name, Type, Size, Date  แต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก  Auto Arrange 4. เปลี่ยนไอคอน   ให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก  Properties  เลือก  Change Icon  เลือกรูปแบบที่ต้องการ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทำงานสร้างสรรค์สังคมเพื่อให้ ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น   จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว    การทำงานตลอดจนสังคมและการเมือง    ทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน    แรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์     เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน   แต่ละคนเปรียบเสมือน เป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร การคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทำงานนั้น           ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล    จนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า    พีซี  ( Personal Computer:PC)
การพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม    มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์    ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ     เครือข่ายคอมพิวเตอร์  คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่เรียกว่า   เครื่องให้บริการ  ( Server )  และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงาต่างๆ เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1.   ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.   ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.   ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้ แฟ้มข้อมูล  ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน 4.   ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
7.2   ชนิดของเครือข่าย               เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้  2  ชนิด         -   เครือข่ายแลน  ( Local Area Network : LAN)      -   เครือข่ายแวน  ( Wide Area Network : WAN 7.2.1   เครือข่ายแลน   คอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน    เช่น ภายในอาคาร    หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก    เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ
7.2.2   เครือข่ายแวน           เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล    เช่น    เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด    ระหว่างประเทศ    การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ    เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย     ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม    ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ     7.3   เทคโนโลยีเครือข่ายแลน  การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น    มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกัน   เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น    อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)   โทเก็นริง   (Token Ring)   และ สวิตชิง  ( Switching)
7.3.1   อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)           อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส  ( Bus)    ระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ  ( Hub)    และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที  ( 10 base t)   โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า    สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน  ( Unshielded twisted    pair : UTP)  ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะ แบบดาว
7.3.2   โทเก็นริง      โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น    รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน    โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ    การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้    โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้  
7.3.3   สวิตชิง              สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น      การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง   จะกระทำที่ชุมสายกลาง  ที่เรียกว่า    สวิตชิง    รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว   ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง    แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย    แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น    เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ    ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า    เซล    มีขนาดจำกัด    การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว  
7.4   การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์        เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน   (Workgroup)   แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ    กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร    และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน    ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่    ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 7.4.1   การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน           งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน    ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง    ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้    นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น    เครื่องพิมพ์    เครื่องสแกน    กล้องดิจิตอล    ฯลฯ    การดำเนินงานก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
7.4.2   การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย        เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน    ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน    ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้   7.4.3   สำนักงานอัตโนมัติ         แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่    ก็คือ    ลดการใช้กระดาษ    หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด    ระบบสำนักงานอัตโนมัติ  จึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน    ทำให้เกิดความคล่องตัว    และรวดเร็ว
7.5   ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์   เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง    ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน    เรียกว่า    อินเทอร์เน็ต    7.5.1   อินเทอร์เน็ต     อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ . ศ .  2512   โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำในสหรัฐฯ    เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย    และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน    ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า    อาร์ปาเน็ต    และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง    เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน    โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า     ทีซีพี / ไอพี  ( TCP/IP)   ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน   และแพร่ขยายไปทั่วโลก      71       เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข    เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน    เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ    ku.ac.th   โดย  th  หมายถึงประเทศไทย   ac  หมายถึงสถาบันการศึกษา    และ  ku   หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1.   การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์         เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์    ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร     แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส    ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว   2.   การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน        เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ    และให้บริการ    ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3.   การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล       การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย    ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้       4.   การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร         ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก    ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิคส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน    หรือนำมาพิมพ์  
5.   การอ่านจากกลุ่มข่าว        ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ    แยกตามความสนใจ    แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้    และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้    กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว         6.   การสนทนาบนเครือข่าย   เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง     ในการติดต่อสนทนากันได้    ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ   ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้     7.   การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย         ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี    ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ    7.5.2   อินเตอร์เน็ต        เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย    จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร     โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า    เครือข่ายอินทราเน็ต        การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ  
ขอจบการนำเสนอเพียงเท่านี้จ๊า ^^

More Related Content

What's hot

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
สวัสดีจ้า!!!!!
สวัสดีจ้า!!!!!สวัสดีจ้า!!!!!
สวัสดีจ้า!!!!!Pornchai Chamta
 
Window
WindowWindow
WindowOwat
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ WindowsArrat Krupeach
 
กัน
กันกัน
กันsastraa
 
กัน
กันกัน
กันsastraa
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJoMaZa03
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaluemonPcy
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Suphattra
 

What's hot (13)

ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
สวัสดีจ้า!!!!!
สวัสดีจ้า!!!!!สวัสดีจ้า!!!!!
สวัสดีจ้า!!!!!
 
T
TT
T
 
Window
WindowWindow
Window
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
กัน
กันกัน
กัน
 
กัน
กันกัน
กัน
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to ของกชกร

ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJoMaZa03
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการNaluemonPcy
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มNoomim
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1Paveenut
 

Similar to ของกชกร (20)

ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1
 

More from gotchagon

หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2gotchagon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์gotchagon
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการgotchagon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศgotchagon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1gotchagon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศgotchagon
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์gotchagon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1gotchagon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1gotchagon
 

More from gotchagon (18)

หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2หน่วยประมวลผล2
หน่วยประมวลผล2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

ของกชกร

  • 2.
  • 3.
  • 4. ส่วนประกอบต่างๆของ Windows เมนูโปรแกรม Time Taskbar ปุ่ม Start
  • 5. จากรูปภาพหน้าบน คือ หน้าต่างเริ่มแรกในการเข้าทำงานของ Windows หน้านี้ เราเรียกว่า Desktop ซึ่งประกอบด้วยหลายๆ ส่วน แต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกัน การสั่งงานจะใช้เมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับนอกเหนือจาก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดในการสั่งงาน เราสามารถใช้เมาส์คลิก ( กด ) คำสั่งต่าง ๆ ใน Windows ซึ่งจะมีรูปภาพเล็กๆ ( ไอคอน ) ประกอบ คำสั่งพิเศษ : เราสามารถคลิกเมาส์ปุ่มด้านขวา จะมีเมนูพิเศษของ Windows ซ่อนอยู่ เพื่อใช้สำหรับเรียกใช้คำสั่งที่มักมีการเรียกใช้งานบ่อยๆ ส่วนประกอบของ Windows 1. Start - คลิกปุ่มนี้ จะมีเมนูแสดงขึ้นมา 2. Desktop - บริเวณพื้นที่ของ Windows เพื่อแสดงไอคอน หรือ โปรแกรมที่เราเรียกใช้งาน 3.Task Bar - บริเวณที่แสดงว่ามีโปรแกรมใดทำงานค้างอยู่
  • 6. 4.Icons - รูปภาพแทนคำสั่ง สำหรับไอคอนพื้นฐาน ได้แก่ ( บางไอคอนมีเฉพาะใน Windows 98) - My Computer ไอคอนแสดงดิสก์ไดร์ฟในเครื่องคอมฯของคุณ - My Document เก็บตำแหน่งของเอกสารที่มีการเปิดใช้งาน - - Internet Explorer เวบบราวเซอร์สำหรับเล่น WWW - Recycle Bin ถังขยะสำหรับเก็บไฟล์ที่มีการลบ สามารถกู้คืนกลับมา
  • 7. - Outlook Express โปรแกรมสำหรับรับ - ส่ง อีเมล์ - Network Neighborhood ไอคอนแสดงระบบเครือข่าย หรือกลุ่มคอมพิวเตอร์ของคุณ การเปิด - ปิด Windows 1.Open Windows - เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะเข้า Windows อัตโนมัติ 2.Close Windows - ใช้เมาส์คลิกปุ่ม Start เลือกคำสั่ง Shut down เลือกคำสั่ง Shut down อีกครั้ง
  • 8.
  • 9. ขั้นตอนการปิดเครื่องในลักษณะต่าง ๆภาพตัวอย่าง Shutdown ของ Windows XP ภาพตัวอย่าง Shutdown ของ Windows ME คลิกปุ่ม Start เลือก Shutdown จะได้ดังภาพประกอบ จากภาพประกอบของ Windows ME ด้านบน ถ้าเป็น 95, 98 จะมีปุ่ม ให้คลิกเลือก สำหรับความหมายแต่คำสั่งมีดังนี้ - Shutdown : ปิดเครื่องทันที - Restart : ให้เริ่มเข้า windows ใหม่ ( ใช้กรณีมีปัญหาการใช้ windows) - Stand by : ให้เข้าระบบพักเครื่อง 1. หลังจากเลือกหัวข้อที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม OK 2. รอจนกระทั่ง Windows ถูกปิดไป ( สำหรับเครื่องคอมฯ รุ่นใหม่ ๆ เวลา Shutdown เครื่อง ระบบ power ของเครื่องจะปิดให้อัตโนมัติ ส่วน Monitor อาจยังไม่ปิด ดังนั้น ให้ปิดสวิทซ์ Monitor ด้วย ) 3. คำแนะนำ :: ห้ามปิดเครื่อง โดยไม่ Shutdown Windows ทั้งนี้อาจะทำให้ไม่สามารถเข้า Windows ได้อีก 4. ยกเว้นกรณีเครื่อง Hank หรือ กดปุ่มใด ๆ ไม่ได้ ให้กดปุ่ม Power เพื่อทำการปิดได้ ( คอมพิวเตอร์บางรุ่น จะต้องกดแช่ ค้างไว้ สักครู่ )
  • 10. การปรับแต่งหน้าตาของ Windows เราสามารถปรับแต่งหน้าตาของ Windows ในรูปแบบของเราได้ ไม่ว่าจะเป็น Wallpaper, Screen Saver, และแม้แต่รูปแบบตัวอักษร ตลอดจนขนาดของหน้าตา และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยการเข้าคลิกขวา บริเวณหน้าจอ ( Desktop) จากนั้นเลือกคำสั่ง Properties
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. วิธีการปรับแต่งไอคอน 1. เปลี่ยนชื่อไอคอน ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม F2 พิมพ์ชื่อใหม่ตามต้องการ สามารถพิมพ์ชื่อภาษาไทยได้ด้วย 2. ลบไอคอน ให้คลิกเลือกไอคอน จากนั้นกดปุ่ม Del 3. จัดเรียงไอคอน ให้คลิกขวาบริเวณว่าง ๆ บนหน้าจอ เลือก Arrange Icons ดังภาพประกอบ
  • 20. จากนั้นเลือกว่าจะให้เรียงตามอะไร เช่น Name, Type, Size, Date แต่ถ้าต้องการให้เรียงอัตโนมัติให้คลิก Auto Arrange 4. เปลี่ยนไอคอน ให้คลิกเลือกไอคอนนั้นๆ จากนั้นคลิกขวา เลือก Properties เลือก Change Icon เลือกรูปแบบที่ต้องการ
  • 22. ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทำงานสร้างสรรค์สังคมเพื่อให้ ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น   จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว   การทำงานตลอดจนสังคมและการเมือง   ทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน   แรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์    เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน   แต่ละคนเปรียบเสมือน เป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร การคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทำงานนั้น         ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล   จนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า   พีซี ( Personal Computer:PC)
  • 23. การพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม   มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์   ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่เรียกว่า   เครื่องให้บริการ ( Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงาต่างๆ เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1.  ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน 2.  ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3.  ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้ แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน 4.  ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 24. 7.2  ชนิดของเครือข่าย            เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด      -  เครือข่ายแลน ( Local Area Network : LAN)      -  เครือข่ายแวน ( Wide Area Network : WAN 7.2.1  เครือข่ายแลน คอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน   เช่น ภายในอาคาร   หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก   เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ
  • 25. 7.2.2  เครือข่ายแวน          เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล   เช่น   เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด   ระหว่างประเทศ   การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ   เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย    ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม   ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ    7.3  เทคโนโลยีเครือข่ายแลน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น   มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกัน เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น   อีเทอร์เน็ต ( Ethernet)  โทเก็นริง (Token Ring)  และ สวิตชิง ( Switching)
  • 26. 7.3.1  อีเทอร์เน็ต ( Ethernet)         อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส ( Bus)   ระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ ( Hub)   และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที ( 10 base t)  โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า   สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ( Unshielded twisted    pair : UTP) ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะ แบบดาว
  • 27. 7.3.2  โทเก็นริง   โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น   รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน   โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ   การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้   โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้  
  • 28. 7.3.3  สวิตชิง            สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น     การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง   จะกระทำที่ชุมสายกลาง ที่เรียกว่า   สวิตชิง   รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว   ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง   แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย   แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น   เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ   ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า   เซล   มีขนาดจำกัด   การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว  
  • 29. 7.4  การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์     เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน (Workgroup)  แต่เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ   กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร   และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน   ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่   ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 7.4.1  การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน        งานขององค์กรบางอย่างมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน   ถ้าแต่ละฝ่ายทำการหาหรือรวบรวมข้อมูลเอง   ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้   นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น   เครื่องพิมพ์   เครื่องสแกน   กล้องดิจิตอล   ฯลฯ   การดำเนินงานก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
  • 30. 7.4.2  การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย      เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน   ผู้ใช้ ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ระหว่างกัน   ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 7.4.3  สำนักงานอัตโนมัติ      แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่   ก็คือ   ลดการใช้กระดาษ   หันมาใช้ระบบการทำงาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด   ระบบสำนักงานอัตโนมัติ จึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือน โต๊ะทำงาน   ทำให้เกิดความคล่องตัว   และรวดเร็ว
  • 31. 7.5  ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง   ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน   เรียกว่า   อินเทอร์เน็ต    7.5.1  อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ . ศ . 2512  โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำในสหรัฐฯ   เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย   และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน   ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า   อาร์ปาเน็ต   และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง   เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน   โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า    ทีซีพี / ไอพี ( TCP/IP)  ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน   และแพร่ขยายไปทั่วโลก     71      เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข   เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน   เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ   ku.ac.th  โดย th หมายถึงประเทศไทย   ac หมายถึงสถาบันการศึกษา   และ ku  หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 32. 1.  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์      เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์   ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร    แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส   ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว 2.  การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน      เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ   และให้บริการ   ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3.  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล      การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย   ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้      4.  การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร      ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก   ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิคส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน   หรือนำมาพิมพ์  
  • 33. 5.  การอ่านจากกลุ่มข่าว      ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ   แยกตามความสนใจ   แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้   และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้   กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว       6.  การสนทนาบนเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง    ในการติดต่อสนทนากันได้   ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ   ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้     7.  การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย      ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี   ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ   7.5.2  อินเตอร์เน็ต      เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย   จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร    โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า   เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ