SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่งยืน (Development
of Agricultural Market Through Cooperative System and Enhancing of
Sustainable Competitiveness for Agricultural Cooperatives in Central
Region of Thailand)
โดย เชิญ ไกรนรา
Email: Choen@nesdb.go.th
8 กรกฎาคม 2558
1
การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่งยืน
ภาคเกษตรกรรมยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเนื่องจากยังเป็นแหล่งจ้างงานของ
แรงงานจานวนมาก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาการผลิตและการตลาดทาให้ส่งผลกระทบต่อความ
มั่นคงทางรายได้และคุณภาพชีวิต บทความนี้จึงใคร่ขอนาเสนอบทบาทความสาคัญของธุรกิจสหกรณ์
สถานการณ์การพัฒนาสหกรณ์ในพื้นที่ภาคกลาง แนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์
กรณีศึกษาตัวอย่างสหกรณ์ที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรในพื้นที่ภาคกลาง และ
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่งยืน
1.สหกรณ์คืออะไร สหกรณ์คือองค์การของบรรดาบุคคลซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในการดาเนินวิสาหกิจที่
พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมกันและควบคุมตามหลักประชาธิปไตยเพื่อสนองความต้องการ (อันจาเป็น)
และความหวังร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การดาเนินการของสหกรณ์ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ
หลักการสาคัญ 7 ประการคือ (1) การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง (2) การควบคุมโดยสมาชิกตาม
หลักประชาธิปไตย (3) การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก (4) การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ
(5) การให้การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ (6) ความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ และ (7) ความเอื้ออาทรต่อ
ชุมชน โดยสามารถจาแนกสหกรณ์ออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตรประกอบด้วย สหกรณ์
การเกษตร สหกรณ์ประมงและสหกรณ์นิคม และ (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรประกอบด้วย สหกรณ์
ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์บริการและสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
2.ความสาคัญของสหกรณ์ ปัจจุบันสหกรณ์ได้รับการยอมรับว่าเป็นรูปแบบธุรกิจที่เป็นทางเลือกของคนใน
สังคมเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า เนื่องจากเป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจตั้งแต่การ
ผลิต การจาหน่ายจนถึงการบริโภค หากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพจะเป็นเครื่องมือ
สาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศและสร้างรายได้ประชาชาติให้สูงขึ้น เพราะสหกรณ์มี
บทบาทช่วยกระจายรายได้สู่ประชาชนอย่างยุติธรรม ช่วยลดบทบาทของพ่อค้าคนกลางและนายทุน
นอกจากนี้ยังมีความสาคัญต่อสมาชิกสหกรณ์เนื่องจากเป็นการร่วมแรง รวมปัญญารวมทุน ของบุคคลที่
อ่อนแอทางเศรษฐกิจ โดยการดาเนินการเป็นแบบประชาธิปไตย ยึดหลักการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ มีความเสมอภาค มีความสามารถในการดาเนินการและสิทธิประโยชน์
ยึดหลักการประหยัดรวมทั้งส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดและออมเงินโดยให้บริการรับ-ฝากเงิน การซื้อสินค้าและ
ได้รับเงินออมคืนในรูปเงินปันผล ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นาไปสู่การอยู่ร่วมกัน
อย่างสงบสุขและสังคมมีความเป็นระเบียบ
2
3.สถานการณ์การพัฒนาสหกรณ์ในพื้นที่ภาคกลาง ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ประเทศไทยมีจานวนสหกรณ์
ทุกประเภทรวมทั้งสิ้น 8,173 แห่ง แบ่งออกเป็นสหกรณ์ที่มีสถานะดาเนินการจานวน 6,998 แห่ง และยังไม่
เริ่มดาเนินการจานวน 167 แห่ง ซึ่งเรียกทั้งสองสถานะนี้รวมกันว่าดาเนินการ (Active) เป็นจานวน 7,165
แห่ง และสหกรณ์ที่มีสถานะเลิกสหกรณ์ (Non-Active) จานวน 1,008 แห่ง โดยสามารถจาแนกจานวนสมาชิก
สหกรณ์ออกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรจานวน 3,822 แห่ง (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์) จานวนสมาชิกรวมทั้งสิ้น
6,666,437 คน มีจานวนสมาชิกเฉลี่ย 1,744 คน/สหกรณ์) และสหกรณ์นอกภาคการเกษตรจานวน 3,221
แห่ง (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์) จานวนสมาชิกทั้งสิ้น 4,803,576 คนมีจานวนสมาชิกเฉลี่ย 1,491 คน/สหกรณ์
โดยแนวโน้มทั้งประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 พบว่าสหกรณ์ภาคเกษตรมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ย -0.43 %
ต่อปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจานวนสหกรณ์ภาคการเกษตรมีแนวโน้มลดจานวนลงอย่างช้าๆ เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศที่ภาคเกษตรกรรมมีบทบาทลดลง ในขณะที่สหกรณ์นอกภาค
เกษตรมีแนวโน้มค่อยๆเพิ่มจานวนขึ้นโดยมีอัตราขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.65 ต่อปี
สาหรับพื้นที่ภาคกลางรวมพื้นที่กรุงเทพมหานครมีจานวนสหกรณ์ทุกประเภทรวมทั้งสิ้น 2,435 แห่ง มีจานวน
สมาชิกรวมทั้งสิ้นจานวน 3,945,077 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.39 ของจานวนสมาชิกสหกรณ์ทุกประเภททั่ว
ประเทศ โดยจาแนกออกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรจานวน 687 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 28.21 ของจานวน
สหกรณ์รวมรวมทั้งพื้นที่ภาคกลาง มีจานวนสมาชิก 1,009,984 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 25 ของจานวนสมาชิก
ของสหกรณ์รวมทั้งพื้นที่ภาคกลาง แบ่งออกเป็นสหกรณ์การเกษตรจานวน 613 แห่ง จานวนสมาชิก 945,539
คน หรือคิดเป็นร้อยละ 23.96 ของจานวนสมาชิกสหกรณ์รวมทุกประเภทในพื้นที่ภาคกลาง สหกรณ์ประมง
จานวน 41 แห่ง จานวนสมาชิก 6,931 คน สหกรณ์นิคมจานวน 33 แห่ง จานวนสมาชิก 57,514 คน และ
สหกรณ์นอกภาคเกษตรจานวน 1,748 แห่ง จานวนสมาชิก 2,935,093 คน แบ่งออกเป็นสหกรณ์ออมทรัพย์
จานวน 863 แห่ง จานวนสมาชิก 1,768,107 คน สหกรณ์ร้านค้าจานวน 88 แห่ง จานวนสมาชิก 604,245 คน
สหกรณ์บริการจานวน 608 แห่ง จานวนสมาชิก 210,391 คน และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจานวน 189 แห่ง
จานวนสมาชิก 352,350 คน
4.ปัญหาด้านการการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร แม้ว่าภาคเกษตรกรรมค่อยๆลดบทบาทที่มีต่อระบบ
เศรษฐกิจมหภาคของประเทศลง โดยอัตราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2556 มีสัดส่วนร้อย
ละ 0.10 ของอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศร้อยละ 2.90 อย่างไรก็ตามภาค
เกษตรกรรมยังคงเป็นแหล่งการจ้างงานที่สาคัญของประเทศ เช่น ในปีเพาะปลูก 2556/2557 แรงงานภาค
เกษตรซึ่งมีอายุระหว่าง 15-64 ปี ทั้งประเทศมีจานวนรวมทั้งสิ้น 16.10 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 41.59
ของจานวนประชากรวัยแรงงานรวมทั้งประเทศ แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงประสบปัญหาการผลิตและระบบ
ตลาดซึ่งเป็นส่วนสาคัญของห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรดังนี้
4.1ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมการผลิตหรือกิจกรรมต้นน้า ได้แก่
 เกษตรกรประมาณร้อยละ 90 เป็นเกษตรกรรายย่อยซึ่งมีขนาดที่ดินเฉลี่ย 20 ไร่/ครัวเรือน
3
 เกษตรกรขาดที่ดินเป็นของตนเองและมีภาระหนี้สินจากสถิติของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในปี
เพาะปลูก 2552/2553 ชี้ให้เห็นว่าเกษตรกรไทยมีภาระหนี้สินเฉลี่ย 54,409 บาทต่อครัวเรือน
 เกษตรกรร้อยละ 60 ต้องเช่าที่ดินทากินและจากสถิติเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกองทุนฟื้นฟู
และพัฒนาเกษตรกว่ามีมากกว่า400,000 ราย ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในอาชีพของเกษตรกร
และประสิทธิภาพการผลิต
 ผลิตภาพการผลิตต่าสถิติเปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่ของสินค้าเกษตรบางชนิดในประเทศอยู่ต่ากว่า
ค่าเฉลี่ย สาเหตุเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม โดยมี
ข้อมูลชี้ว่าอัตราการขยายตัวของภาคการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาฉบับที่ 10 มาจากการขยายตัวด้านการใช้
ปัจจัยการผลิตในด้านที่ดินและแรงงานมากกว่าการใช้เทคโนโลยี
 ต้นทุนการผลิตสูงมีสาเหตุจากราคาน้ามันและการใช้สารเคมีในการผลิตในขณะที่ราคาผลผลิตมี
ความผันผวนไม่แน่นอน
 โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกไม่เพียงพอ เช่น แหล่งน้าชลประทาน แหล่งสินเชื่อทาง
การเกษตรที่เกษตรกรเข้าถึง แหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการประกอบอาชีพอย่างเหมาะสมกับ
บริบทของเกษตรกร
 ขาดข้อมูลข่าวสารการตลาดเพื่อการตัดสินใจในการทาการเกษตรอย่างยั่งยืนเกษตรกรส่วนใหญ่มักใช้
ราคาผลผลิตในฤดูกาลนั้นเพื่อการตัดสินใจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการลงทุนและผลิตภาพในการทาเกษตรกรรม
อย่างยั่งยืน
 ขาดโอกาสทางเลือกในการเข้าสู่ระบบการค้าที่เป็นธรรมเนื่องจากโครงสร้างการตลาดที่เป็นอยู่เป็น
ตลาดผู้ซื้อน้อยรายผู้ค้าและผู้รับซื้อผลผลิตจึงมักเอารัดเอาเปรียบเกษตรกรเกี่ยวกับราคาผลผลิตอยู่เสมอ
รวมทั้งได้รับผลกระทบจากนโยบายรัฐบางประการ เช่น กรณีของบัตรเครดิตชาวนาซึ่งส่งผลต่อการสร้างวินัย
ทางการเงินและการสะสมทุนของเกษตรกร
 ขาดการดูแลสุขภาวะ สิ่งแวดล้อมและการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี แผนพัฒนาการเกษตรภายใต้
ช่วงเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ชี้ว่าในช่วงของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8-10
ค่าดัชนีวัดความความผาสุกของเกษตรกรไทยอยู่ในระดับพัฒนาปานกลาง ผลการพัฒนาด้านสุขอนามัยและ
สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดีมาก ด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการศึกษาสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับ
ต้องเร่งแก้ไข
4.2 ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมกลางน้า เช่น
 สถาบันเกษตรกรได้แก่ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น ยังไม่สามารถเป็น
กลไกเกื้อหนุนอาชีพของเกษตรกรอย่างเต็มศักยภาพเนื่องจากสถาบันเกษตรกรยังไม่มีโครงสร้างและระบบ
บริหารจัดการที่สามารถเชื่อมโยงกับการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งระบบบริหารจัดการธุรกิจของ
สถาบันเกษตรกรยังคงอยู่ในระดับกิจกรรมต้นน้าและกลางน้าของห่วงโซ่อุปทาน โดยมีพ่อค้าคนกลางทาหน้าที่
4
กิจกรรมปลายน้าโดยการแปรรูปและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปเพื่อจาหน่ายแก่ผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบันมี
แนวโน้มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารสาเร็จรูปมากขึ้น
 นโยบายของรัฐยังไม่เป็นแนวทางการพัฒนาแบบองค์รวม โดยเฉพาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้ให้ความสาคัญกับการจัดการห่วงโซ่อุปทานของผลผลิตการเกษตรและ
มุ่งเน้นไปยังสถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อย แต่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ภายใต้ภารกิจของ
หน่วยงานของรัฐยังเป็นลักษณะต่างคนต่างทา บางครั้งมีความซ้าซ้อนกันและไม่สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมได้
ตลอดโซ่อุปทาน
 โครงสร้างการตลาดยังเป็นลักษณะของผู้ซื้อน้อยราย ซึ่งทาให้ผู้ประกอบการรายใหญ่มีความได้เปรียบ
ในด้านการตลาดส่วนผู้ประกอบการรายย่อยและสถาบันเกษตรกรไม่มีอานาจการต่อรอง นอกจากนี้เครือข่าย
ความร่วมมือของสถาบันเกษตรกรเป็นลักษณะความร่วมมือตามแนวดิ่งและเป็นกลุ่มตามพื้นที่ แต่ยังไม่
สามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจกับเอกชนได้เนื่องจากมีความไม่คล่องตัวและมีต้นทุนค่าใช้จ่ายการตลาดสูงกว่า
 ปัจจุบันสถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยมีความเสียเปรียบในการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบ
กับผู้ประกอบการเอกชนรายใหญ่เพราะขาดความรู้และทักษะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทั้งการบริหาร
จัดการห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจ
 การซื้อขายสินค้าเกษตรระดับไร่นาส่วนใหญ่ยังไม่มีการคัดเกรดคุณภาพสินค้า ซึ่งพ่อค้าซื้อจาก
เกษตรกรโดยใช้คุณภาพเฉลี่ยหรือราคาเฉลี่ย ทาให้เกษตรกรอาจเกิดการเสียเปรียบทางธุรกิจ
 เกษตรกรรายย่อยส่วนใหญ่มีสินค้าเหลือขายไม่มากและอยู่กระจัดกระจายตามแหล่งผลิตซึ่งห่างไกล
จากแหล่งซื้อขายหลัก และเกษตรกรมักจาหน่ายสินค้าเกษตรทันทีหลังเก็บเกี่ยวทาให้โอกาสที่จะขายได้ตาม
ราคาตลาดในขณะนั้นและตามคุณภาพของสินค้ามีน้อย ตลอดทั้งเกษตรกรบางรายไม่ทราบว่าราคาซื้อขายตาม
ตลาดที่แท้จริงเป็นอย่างไร
4.3 ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมปลายน้า เช่น
 ขาดโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น เช่น ถนน คลังสินค้า ตลาดกลาง ระบบ
ข้อมูลข่าวสารการตลาด องค์ความรู้เรื่องคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และองค์ความรู้ด้านการจัดการห่วงโซ่
อุปทานในธุรกิจ
 ขาดหน่วยที่ใช้ชั่ง ตวง วัดที่เป็นมาตรฐานในตลาดทุกระดับ (เช่น น้าหนักวัดเป็นกิโลกรัม ปริมาตรวัด
เป็นหาบ ถัง หรือลิตร) ทาให้มีผู้ได้เปรียบและผู้เสียเปรียบ
5.แนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการผลิตและการตลาดสินค้า
เกษตรดังกล่าว สถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรกรศาสตร์ได้พัฒนากรอบแนวทางการ
พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2555 ภายใต้กรอบคิดที่สาคัญ 3 ประการคือ คุณค่า
ของสหกรณ์ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้า
เกษตรโดยระบบสหกรณ์ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์คือ
5
5.1 ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้แก่เกษตรกรภายใต้หลักสูตรการเรียนรู้คู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยจัดทา
กรอบการจัดการความรู้สู่เกษตรกรภายใต้หลักสูตรการเรียนรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อยกระดับ
ขีดความสามารถให้แก่เกษตรกร เพื่อการทาการเกษตรอย่างยั่งยืนและมีความสุข มีผลผลิตที่ดีมีคุณภาพสู่
ระบบตลาดสินค้าเกษตรของสหกรณ์ โดยการบูรณาการความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ซึ่งประกอบด้วย
แผนการผลิต การเข้าถึงแหล่งทุนและปัจจัยการผลิต การผลิตและการใช้เทคโนโลยี การจัดการหลังการเก็บ
เกี่ยว การเก็บรักษา การแปรรูป การจาหน่าย การออมและการสะสมทุน เข้ากับกิจกรรมการดาเนินชีวิต
ซึ่งประกอบด้วย แผนการดาเนินชีวิต การอุปโภคและบริโภค สันทนาการ การสืบทอดวัฒนธรรมและประเพณี
การมีส่วนร่วมในสังคม การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ชีวิต/ทรัพย์สินและการดูแลความปลอดภัย โภชนาการและ
การดูแลสุขภาพ และการเรียนรู้และการศึกษา
5.2 ยุทธศาสตร์การจัดการห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจสหกรณ์ ภายใต้กรอบคิดระบบคุณค่าและการค้าที่เป็น
ธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับขีดความสามารถของสหกรณ์การเกษตรเพื่อประกอบธุรกิจภายในห่วงโซ่
อุปทานและการนาประโยชน์สู่สมาชิกอย่างยั่งยืนมี 3 องค์ประกอบหลักคือ (1) การสร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลง
นาการขับเคลื่อนสหกรณ์และองค์กรเพื่อสร้างผู้นาเชิงคุณค่าใน 4 มิติคือ การนาคุณค่าของสหกรณ์มาใช้ การ
ปรับประบวนทัศน์ การยึดมั่นในหลักการ และแนวทางการปฏิบัติที่ดี (2) การยกระดับการดาเนินงานสหกรณ์
หรือกลุ่มองค์กรในทิศทางเชิงคุณค่าและการเชื่อมโยงกับพันธมิตรในห่วงโซ่อุปทาน ประกอบด้วยการจัดทา
แผนกลยุทธ์ การจัดทาแผนปฏิบัติการ การปรับระบบกลไกการดาเนินงาน การประเมินตนเอง การกาหนด
ปณิธานหรือเป้าหมายร่วม การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจากัด (SWOT Analysis) การกาหนด
เป้าหมาย และการจัดทาแผนที่กลยุทธ์ และ (3) การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ เพื่อ
ขับเคลื่อนระบบธุรกิจเชิงคุณค่าและการสร้างอานาจการต่อรอง การแบ่งปันและสร้างสรรค์ธุรกิจ เพื่อนาไปสู่
การเป็นองค์กรสหกรณ์และเครือข่ายที่มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน การนาคุณค่าและประโยชน์ของสหกรณ์สู่
สมาชิกและชุมชนเพื่อการพัฒนาไปสู่การค้าที่เป็นธรรม (Fair Trade)
5.3 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้สหกรณ์เป็นทางเลือกของประชาชน ภายใต้การพัฒนาตัวแบบธุรกิจสหกรณ์
เพื่อการผลิตอาหาร (Food Cooperatives) โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับการพัฒนาและกระจายสินค้าเกษตร
ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยเฉพาะการผลิตสินค้าอาหารธรรมชาติ (Natural
Foods) และการนาส่ง (Delivery) ผลผลิตเกษตรที่มีคุณภาพสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย
6.กรณีศึกษาตัวอย่างสหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นตัวอย่างที่ดี (Best Practice) ในการพัฒนาตลาดสินค้า
เกษตรในพื้นที่ภาคกลาง ประกอบด้วย 2 สหกรณ์การเกษตรคือ
5.1 สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด ตั้งอยู่ที่ 157/57 หมู่ 5 ถ.เพชรเกษม ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด เป็นผู้ส่งออกกล้วยหอมทองปลอดสารพิษซึ่งมีผลผลิตเพื่อการส่งออกตลอดปี
โดยใช้เทคโนโลยีระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability System) ที่ได้มาตรฐานสากลเป็นแห่งแรกใน
ประเทศไทยนอกจากนี้สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด ยังพัฒนาและบริหารจัดการ“ตลาดกลางการเกษตร
6
ท่ายาง”ให้เป็นศูนย์กลางการซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นสินค้าผักและผลไม้ทั้งเพื่อการค้า
ปลีกและค้าส่งจากทั่วประเทศซึ่งผลิตโดยเกษตรกรโดยตรง รวมทั้งเป็นตลาดรับซื้อกล้วยทุกชนิดและมะนาว
โดยมีการคัดเกรดสินค้าจากเกษตรกรผู้ผลิตภายใน จ.เพชรบุรี ตลอดทั้งจาหน่ายสินค้าอุปโภคและบริโภค
ด้วย ตลาดกลางการเกษตรท่ายางตั้งอยู่ติดถนนเพชรเกษมและมีสถานที่กว้างขวางแบ่งออกเป็น อาคารพืช
ไร่ 1-4 อาคารมะนาว 1-3 อาคารผลไม้ อาคารคัดแยกสินค้า 1-2 อาคารตลาดสด โรงอาหาร ร้านค้า
สหกรณ์ ห้องแถวและลานจอดรถ โดยเปิดให้บริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง
5.2 สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ จากัด ตั้งอยู่ที่ 515 ม.5 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ
จ.สุพรรณบุรี ประชากรของ อ.หนองหญ้าไซส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานาและทาไร่อ้อย สหกรณ์การเกษตร
หนองหญ้าไซ จากัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2529 มีสมาชิกแรกตั้ง 374 คนและได้มีการเปิดรับเกษตรกร
เข้าเป็นสมาชิกอย่างต่อเนื่องจนในปัจจุบันมีสมาชิกจานวน 2,846 คน มีทุนดาเนินงาน 173 ล้านบาท ทุนเรือน
หุ้น 41 ล้านบาท ทุนสารอง 10 ล้านบาท เงินรับฝาก 98 ล้านบาท ปริมาณธุรกิจ 522 ล้านบาท กาไรในปีที่
ผ่านมา 8 ล้านบาท ซึ่งสหกรณ์ฯได้นาผลกาไรจัดเป็นทุนสารองร้อยละ 15.8 เป็นเงินปันผลร้อยละ 7.5 จานวน
เงิน 2.8 ล้านบาท เงินเฉลี่ยคืนให้สมาชิก 586,868 บาท จัดสรรทุนศึกษาอบรม 800,000 บาท และจัดไว้เป็น
ทุนสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือสมาชิก 2.8 ล้านบาท สหกรณ์ฯดาเนินธุรกิจแบบครบวงจรเพื่อตอบสนองความ
ต้องการที่หลากหลายของสมาชิกประกอบด้วยการให้บริการสินเชื่อ การรับ-ฝากเงิน การจาหน่ายปัจจัยการ
ผลิตทางการเกษตร การรวบรวมข้าวเปลือก“การบริการตลาดกลางค้าข้าว”และสถานีบริการน้ามัน
ซึ่งสหกรณ์ฯยึดหลักการดาเนินงานโดยเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิก สร้างจิตสานึกการมีส่วนร่วมโดยผ่านการ
ประชุมในระดับต่างๆ จากการประเมินผลเกี่ยวกับความตระหนักถึงความสาคัญและบทบาทของสมาชิกที่มีต่อ
สหกรณ์พบว่าสมาชิกให้ความสนใจและทาธุรกิจสหกรณ์สูงถึงร้อยละ98.07 และสมาชิกยังมีส่วนร่วมกิจกรรม
ต่างๆ กับสหกรณ์ในโอกาสต่างๆ อย่างต่อเนื่องและกว้างขวาง
นอกจากนี้สหกรณ์ฯได้ดาเนินโครงการและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกหลายโครงการ เช่น (1) โครงการ
เพื่อนช่วยเพื่อนโดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อการชาระหนี้ ทาให้สมาชิกลดการกู้ยืมหนี้นอกระบบ รวมทั้งมีเงินออม
เข้าร่วมกองทุนเพิ่มขึ้นทุกๆ ปีส่งผลให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (2) โครงการสอนสมาชิกและเกษตรกรทา
7
บัญชีรับ-จ่ายครัวเรือนและบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพและส่งเสริมการออมระดับครอบครัว (3) โครงการ
ดาเนินการขับเคลื่อนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยได้จัดทากิจกรรมออมทรัพย์ ออมความดีถวายพ่อหลวง
การระดมหุ้นพิเศษการกู้ปุ๋ยปลอดดอกเบี้ย การผลิตข้าวสารหอมจังหวัดบรรจุถุงขายสมาชิกราคาถูกและการ
ขยายเงินกู้ให้สมาชิกปลดหนี้นอกระบบ การส่งเสริมให้สมาชิกปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ เลี้ยงปลา ผลิตน้ายา
ล้างจาน น้ายาซักผ้าสบู่ สาหรับใช้ในครัวเรือนและลดค่าใช้จ่ายและขายเพื่อเพิ่มรายได้ สหกรณ์ฯยังได้ร่วมมือ
กับองค์การบริหารส่วนตาบลหนองโพธิ์จัดทาแปลงสาธิตเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนนา
หลักการความพอเพียงไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ทาให้ได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้เป็น 1 ใน 10
การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
(4) โครงการธนาคารความดี จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ
(5) กิจกรรมสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากความสาเร็จในการบริหารงานดังที่
กล่าวมาแล้วข้างต้นทาให้สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ จากัด ได้รับรางวัลสหกรณ์การเกษตรดีเด่นแห่งชาติ
ของพื้นที่ภาคกลางเมื่อปี พ.ศ.2556
6.ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
สหกรณ์ภาคการเกษตร มีดังนี้
6.1 ส่งเสริมให้เกษตรกรที่ผลิตเพื่อขายได้มีการรวมกลุ่มกันในรูปแบบสหกรณ์ภาคการเกษตรหรือกลุ่ม
เกษตรกรโดยสมัครใจเพื่อปรับปรุงการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร รวมทั้งสนับสนุนสหกรณ์ที่เกิดขึ้น
แล้วให้ปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพสู่การเป็นสหกรณ์เพื่อการผลิตอาหาร (Food Cooperatives) และมี
บทบาทสาคัญในการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรเพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์ภาคการเกษตรมีส่วนร่วมและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันภายในห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร
6.2 หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถาบันเกษตรกรควรให้การสนับสนุนการดาเนินธุรกิจของ
สหกรณ์ภาคการเกษตร ได้แก่ การประสานงานด้านการสนับสนุนการผลิตจนถึงการจาหน่าย รวมทั้งควร
บูรณาการภารกิจระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของสหกรณ์ภาคการเกษตรให้
เข้มแข็ง สนับสนุนให้สหกรณ์ภาคการเกษตรจาหน่ายปุ๋ยเคมีและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพเพื่อจาหน่ายให้แก่
สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรและเกษตรกร โดยสหกรณ์ที่จาหน่ายปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ควรได้รับหนังสือ
รับรองจากห้องปฏิบัติการของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
6.3 หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมให้สหกรณ์ภาคการเกษตรมีบทบาทสาคัญในการควบคุมการผลิตให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานสินค้าที่ผลิตเพื่อรักษาเสถียรภาพ
ของราคา ตลอดทั้งสนับสนุนเงินกู้เพื่อการลงทุนในการผลิตและการตลาดแก่สหกรณ์ภาคการเกษตรในอัตรา
ดอกเบี้ยที่เหมาะสม สนับสนุนระบบข้อมูลข่าวสารด้านการค้า การตลาดและราคาสินค้าให้ทั่วถึงโดยเฉพาะ
พื้นที่ชนบทห่างไกล และสนับสนุนองค์ความรู้ทางวิชาการด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ที่ทันสมัย
8
6.4 เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรเพื่อใช้เป็นกลไกที่สาคัญเพื่อรองรับ
เขตการค้าเสรีอาเซียน การตอบสนองนโยบายด้านความมั่นคงทางอาหารและการแก้ปัญหาของภาค
การเกษตรของไทย
7.บทสรุป การส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชนดารงอยู่ในสังคม
เศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน โดยประชาชนที่ตระหนักในคุณค่าของสหกรณ์ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน จะร่วมมือกันบนพื้นฐานของการพึ่งพาและช่วยเหลือตนเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า โดย
ภาครัฐให้การสนับสนุนอย่างเหมาะสม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรและการพัฒนาชนบทในพื้นที่ภาค
กลางอย่างยั่งยืน และสนับสนุนการดาเนินการที่สอดคล้องกับนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลกของรัฐบาล ตลอดทั้ง
การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคเกษตรเพื่อบูรณาเข้าสู่ระบบการค้าเสรีอาเซียน
และการค้าโลก
เอกสารอ้างอิง
จุฑาทิพย์ ภัทราวาท 2555 การพัฒนาการตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุภัทร คามุงคุณ 2558 ความท้าทายการเปลี่ยนแปลงของแรงงานภาคการเกษตร กลุ่มงานบริการวิชาการ
2 สานักวิชาการสานักงานรัฐสภา
หนังสือพิมพ์มติชน เทคโนโลยีชาวบ้าน เกษตรกรดีเด่น วันที่ 1 พฤษภาคม 2556 ปีที 25 ฉบับที่ 550
บทที่ 4 การพัฒนาปัจจัยขั้นพื้นฐานทางด้านการผลิตและการตลาดในชนบท เข้าถึงจาก
www.nesdb.go.th/portals/0/news/plan/p6/M11_4.doc เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2558
กรมส่งเสริมสหกรณ์ สถิติสหกรณ์ของประเทศไทยปี 2558 เข้าถึงจาก http://www.cpd.go.th/cpd/
cpdinter/ เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2558
สหกรณ์การเกษตรท่ายาง เข้าถึงจาก http://www.thayang.org/otop/travel_detail.php?otop_id
=00000000001เข้าถึงเมื่อ 29 มิถุนายน 2558
สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ เข้าถึงจาก http://www.coopthai.com/hyccoop/main.htmlเข้าถึงเมื่อ
29 มิถุนายน 2558
http://ab.cmcat.ac.th/main/sahakorn/u004.html เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558
http://webhost.cpd.go.th/cpd_sakao/kk2553k105.html เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=18&chap=10&page=t18-10-
infodetail06.htmlเข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558

More Related Content

More from Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

More from Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคก

  • 2. 1 การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่งยืน ภาคเกษตรกรรมยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเนื่องจากยังเป็นแหล่งจ้างงานของ แรงงานจานวนมาก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาการผลิตและการตลาดทาให้ส่งผลกระทบต่อความ มั่นคงทางรายได้และคุณภาพชีวิต บทความนี้จึงใคร่ขอนาเสนอบทบาทความสาคัญของธุรกิจสหกรณ์ สถานการณ์การพัฒนาสหกรณ์ในพื้นที่ภาคกลาง แนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ กรณีศึกษาตัวอย่างสหกรณ์ที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรในพื้นที่ภาคกลาง และ ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์และการเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่งยืน 1.สหกรณ์คืออะไร สหกรณ์คือองค์การของบรรดาบุคคลซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในการดาเนินวิสาหกิจที่ พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมกันและควบคุมตามหลักประชาธิปไตยเพื่อสนองความต้องการ (อันจาเป็น) และความหวังร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การดาเนินการของสหกรณ์ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ หลักการสาคัญ 7 ประการคือ (1) การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง (2) การควบคุมโดยสมาชิกตาม หลักประชาธิปไตย (3) การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก (4) การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ (5) การให้การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ (6) ความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ และ (7) ความเอื้ออาทรต่อ ชุมชน โดยสามารถจาแนกสหกรณ์ออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตรประกอบด้วย สหกรณ์ การเกษตร สหกรณ์ประมงและสหกรณ์นิคม และ (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรประกอบด้วย สหกรณ์ ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์บริการและสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2.ความสาคัญของสหกรณ์ ปัจจุบันสหกรณ์ได้รับการยอมรับว่าเป็นรูปแบบธุรกิจที่เป็นทางเลือกของคนใน สังคมเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า เนื่องจากเป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจตั้งแต่การ ผลิต การจาหน่ายจนถึงการบริโภค หากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพจะเป็นเครื่องมือ สาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศและสร้างรายได้ประชาชาติให้สูงขึ้น เพราะสหกรณ์มี บทบาทช่วยกระจายรายได้สู่ประชาชนอย่างยุติธรรม ช่วยลดบทบาทของพ่อค้าคนกลางและนายทุน นอกจากนี้ยังมีความสาคัญต่อสมาชิกสหกรณ์เนื่องจากเป็นการร่วมแรง รวมปัญญารวมทุน ของบุคคลที่ อ่อนแอทางเศรษฐกิจ โดยการดาเนินการเป็นแบบประชาธิปไตย ยึดหลักการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ มีความเสมอภาค มีความสามารถในการดาเนินการและสิทธิประโยชน์ ยึดหลักการประหยัดรวมทั้งส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดและออมเงินโดยให้บริการรับ-ฝากเงิน การซื้อสินค้าและ ได้รับเงินออมคืนในรูปเงินปันผล ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นาไปสู่การอยู่ร่วมกัน อย่างสงบสุขและสังคมมีความเป็นระเบียบ
  • 3. 2 3.สถานการณ์การพัฒนาสหกรณ์ในพื้นที่ภาคกลาง ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ประเทศไทยมีจานวนสหกรณ์ ทุกประเภทรวมทั้งสิ้น 8,173 แห่ง แบ่งออกเป็นสหกรณ์ที่มีสถานะดาเนินการจานวน 6,998 แห่ง และยังไม่ เริ่มดาเนินการจานวน 167 แห่ง ซึ่งเรียกทั้งสองสถานะนี้รวมกันว่าดาเนินการ (Active) เป็นจานวน 7,165 แห่ง และสหกรณ์ที่มีสถานะเลิกสหกรณ์ (Non-Active) จานวน 1,008 แห่ง โดยสามารถจาแนกจานวนสมาชิก สหกรณ์ออกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรจานวน 3,822 แห่ง (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์) จานวนสมาชิกรวมทั้งสิ้น 6,666,437 คน มีจานวนสมาชิกเฉลี่ย 1,744 คน/สหกรณ์) และสหกรณ์นอกภาคการเกษตรจานวน 3,221 แห่ง (ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์) จานวนสมาชิกทั้งสิ้น 4,803,576 คนมีจานวนสมาชิกเฉลี่ย 1,491 คน/สหกรณ์ โดยแนวโน้มทั้งประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 พบว่าสหกรณ์ภาคเกษตรมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ย -0.43 % ต่อปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจานวนสหกรณ์ภาคการเกษตรมีแนวโน้มลดจานวนลงอย่างช้าๆ เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศที่ภาคเกษตรกรรมมีบทบาทลดลง ในขณะที่สหกรณ์นอกภาค เกษตรมีแนวโน้มค่อยๆเพิ่มจานวนขึ้นโดยมีอัตราขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.65 ต่อปี สาหรับพื้นที่ภาคกลางรวมพื้นที่กรุงเทพมหานครมีจานวนสหกรณ์ทุกประเภทรวมทั้งสิ้น 2,435 แห่ง มีจานวน สมาชิกรวมทั้งสิ้นจานวน 3,945,077 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.39 ของจานวนสมาชิกสหกรณ์ทุกประเภททั่ว ประเทศ โดยจาแนกออกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตรจานวน 687 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 28.21 ของจานวน สหกรณ์รวมรวมทั้งพื้นที่ภาคกลาง มีจานวนสมาชิก 1,009,984 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 25 ของจานวนสมาชิก ของสหกรณ์รวมทั้งพื้นที่ภาคกลาง แบ่งออกเป็นสหกรณ์การเกษตรจานวน 613 แห่ง จานวนสมาชิก 945,539 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 23.96 ของจานวนสมาชิกสหกรณ์รวมทุกประเภทในพื้นที่ภาคกลาง สหกรณ์ประมง จานวน 41 แห่ง จานวนสมาชิก 6,931 คน สหกรณ์นิคมจานวน 33 แห่ง จานวนสมาชิก 57,514 คน และ สหกรณ์นอกภาคเกษตรจานวน 1,748 แห่ง จานวนสมาชิก 2,935,093 คน แบ่งออกเป็นสหกรณ์ออมทรัพย์ จานวน 863 แห่ง จานวนสมาชิก 1,768,107 คน สหกรณ์ร้านค้าจานวน 88 แห่ง จานวนสมาชิก 604,245 คน สหกรณ์บริการจานวน 608 แห่ง จานวนสมาชิก 210,391 คน และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจานวน 189 แห่ง จานวนสมาชิก 352,350 คน 4.ปัญหาด้านการการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร แม้ว่าภาคเกษตรกรรมค่อยๆลดบทบาทที่มีต่อระบบ เศรษฐกิจมหภาคของประเทศลง โดยอัตราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2556 มีสัดส่วนร้อย ละ 0.10 ของอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศร้อยละ 2.90 อย่างไรก็ตามภาค เกษตรกรรมยังคงเป็นแหล่งการจ้างงานที่สาคัญของประเทศ เช่น ในปีเพาะปลูก 2556/2557 แรงงานภาค เกษตรซึ่งมีอายุระหว่าง 15-64 ปี ทั้งประเทศมีจานวนรวมทั้งสิ้น 16.10 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 41.59 ของจานวนประชากรวัยแรงงานรวมทั้งประเทศ แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงประสบปัญหาการผลิตและระบบ ตลาดซึ่งเป็นส่วนสาคัญของห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรดังนี้ 4.1ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมการผลิตหรือกิจกรรมต้นน้า ได้แก่  เกษตรกรประมาณร้อยละ 90 เป็นเกษตรกรรายย่อยซึ่งมีขนาดที่ดินเฉลี่ย 20 ไร่/ครัวเรือน
  • 4. 3  เกษตรกรขาดที่ดินเป็นของตนเองและมีภาระหนี้สินจากสถิติของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในปี เพาะปลูก 2552/2553 ชี้ให้เห็นว่าเกษตรกรไทยมีภาระหนี้สินเฉลี่ย 54,409 บาทต่อครัวเรือน  เกษตรกรร้อยละ 60 ต้องเช่าที่ดินทากินและจากสถิติเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกองทุนฟื้นฟู และพัฒนาเกษตรกว่ามีมากกว่า400,000 ราย ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในอาชีพของเกษตรกร และประสิทธิภาพการผลิต  ผลิตภาพการผลิตต่าสถิติเปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่ของสินค้าเกษตรบางชนิดในประเทศอยู่ต่ากว่า ค่าเฉลี่ย สาเหตุเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม โดยมี ข้อมูลชี้ว่าอัตราการขยายตัวของภาคการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาฉบับที่ 10 มาจากการขยายตัวด้านการใช้ ปัจจัยการผลิตในด้านที่ดินและแรงงานมากกว่าการใช้เทคโนโลยี  ต้นทุนการผลิตสูงมีสาเหตุจากราคาน้ามันและการใช้สารเคมีในการผลิตในขณะที่ราคาผลผลิตมี ความผันผวนไม่แน่นอน  โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกไม่เพียงพอ เช่น แหล่งน้าชลประทาน แหล่งสินเชื่อทาง การเกษตรที่เกษตรกรเข้าถึง แหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการประกอบอาชีพอย่างเหมาะสมกับ บริบทของเกษตรกร  ขาดข้อมูลข่าวสารการตลาดเพื่อการตัดสินใจในการทาการเกษตรอย่างยั่งยืนเกษตรกรส่วนใหญ่มักใช้ ราคาผลผลิตในฤดูกาลนั้นเพื่อการตัดสินใจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการลงทุนและผลิตภาพในการทาเกษตรกรรม อย่างยั่งยืน  ขาดโอกาสทางเลือกในการเข้าสู่ระบบการค้าที่เป็นธรรมเนื่องจากโครงสร้างการตลาดที่เป็นอยู่เป็น ตลาดผู้ซื้อน้อยรายผู้ค้าและผู้รับซื้อผลผลิตจึงมักเอารัดเอาเปรียบเกษตรกรเกี่ยวกับราคาผลผลิตอยู่เสมอ รวมทั้งได้รับผลกระทบจากนโยบายรัฐบางประการ เช่น กรณีของบัตรเครดิตชาวนาซึ่งส่งผลต่อการสร้างวินัย ทางการเงินและการสะสมทุนของเกษตรกร  ขาดการดูแลสุขภาวะ สิ่งแวดล้อมและการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี แผนพัฒนาการเกษตรภายใต้ ช่วงเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ชี้ว่าในช่วงของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8-10 ค่าดัชนีวัดความความผาสุกของเกษตรกรไทยอยู่ในระดับพัฒนาปานกลาง ผลการพัฒนาด้านสุขอนามัยและ สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดีมาก ด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการศึกษาสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับ ต้องเร่งแก้ไข 4.2 ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมกลางน้า เช่น  สถาบันเกษตรกรได้แก่ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น ยังไม่สามารถเป็น กลไกเกื้อหนุนอาชีพของเกษตรกรอย่างเต็มศักยภาพเนื่องจากสถาบันเกษตรกรยังไม่มีโครงสร้างและระบบ บริหารจัดการที่สามารถเชื่อมโยงกับการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งระบบบริหารจัดการธุรกิจของ สถาบันเกษตรกรยังคงอยู่ในระดับกิจกรรมต้นน้าและกลางน้าของห่วงโซ่อุปทาน โดยมีพ่อค้าคนกลางทาหน้าที่
  • 5. 4 กิจกรรมปลายน้าโดยการแปรรูปและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปเพื่อจาหน่ายแก่ผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบันมี แนวโน้มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารสาเร็จรูปมากขึ้น  นโยบายของรัฐยังไม่เป็นแนวทางการพัฒนาแบบองค์รวม โดยเฉพาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้ให้ความสาคัญกับการจัดการห่วงโซ่อุปทานของผลผลิตการเกษตรและ มุ่งเน้นไปยังสถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อย แต่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ภายใต้ภารกิจของ หน่วยงานของรัฐยังเป็นลักษณะต่างคนต่างทา บางครั้งมีความซ้าซ้อนกันและไม่สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมได้ ตลอดโซ่อุปทาน  โครงสร้างการตลาดยังเป็นลักษณะของผู้ซื้อน้อยราย ซึ่งทาให้ผู้ประกอบการรายใหญ่มีความได้เปรียบ ในด้านการตลาดส่วนผู้ประกอบการรายย่อยและสถาบันเกษตรกรไม่มีอานาจการต่อรอง นอกจากนี้เครือข่าย ความร่วมมือของสถาบันเกษตรกรเป็นลักษณะความร่วมมือตามแนวดิ่งและเป็นกลุ่มตามพื้นที่ แต่ยังไม่ สามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจกับเอกชนได้เนื่องจากมีความไม่คล่องตัวและมีต้นทุนค่าใช้จ่ายการตลาดสูงกว่า  ปัจจุบันสถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยมีความเสียเปรียบในการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบ กับผู้ประกอบการเอกชนรายใหญ่เพราะขาดความรู้และทักษะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทั้งการบริหาร จัดการห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจ  การซื้อขายสินค้าเกษตรระดับไร่นาส่วนใหญ่ยังไม่มีการคัดเกรดคุณภาพสินค้า ซึ่งพ่อค้าซื้อจาก เกษตรกรโดยใช้คุณภาพเฉลี่ยหรือราคาเฉลี่ย ทาให้เกษตรกรอาจเกิดการเสียเปรียบทางธุรกิจ  เกษตรกรรายย่อยส่วนใหญ่มีสินค้าเหลือขายไม่มากและอยู่กระจัดกระจายตามแหล่งผลิตซึ่งห่างไกล จากแหล่งซื้อขายหลัก และเกษตรกรมักจาหน่ายสินค้าเกษตรทันทีหลังเก็บเกี่ยวทาให้โอกาสที่จะขายได้ตาม ราคาตลาดในขณะนั้นและตามคุณภาพของสินค้ามีน้อย ตลอดทั้งเกษตรกรบางรายไม่ทราบว่าราคาซื้อขายตาม ตลาดที่แท้จริงเป็นอย่างไร 4.3 ปัญหาและอุปสรรคของกิจกรรมปลายน้า เช่น  ขาดโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น เช่น ถนน คลังสินค้า ตลาดกลาง ระบบ ข้อมูลข่าวสารการตลาด องค์ความรู้เรื่องคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และองค์ความรู้ด้านการจัดการห่วงโซ่ อุปทานในธุรกิจ  ขาดหน่วยที่ใช้ชั่ง ตวง วัดที่เป็นมาตรฐานในตลาดทุกระดับ (เช่น น้าหนักวัดเป็นกิโลกรัม ปริมาตรวัด เป็นหาบ ถัง หรือลิตร) ทาให้มีผู้ได้เปรียบและผู้เสียเปรียบ 5.แนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการผลิตและการตลาดสินค้า เกษตรดังกล่าว สถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรกรศาสตร์ได้พัฒนากรอบแนวทางการ พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2555 ภายใต้กรอบคิดที่สาคัญ 3 ประการคือ คุณค่า ของสหกรณ์ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้า เกษตรโดยระบบสหกรณ์ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์คือ
  • 6. 5 5.1 ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้แก่เกษตรกรภายใต้หลักสูตรการเรียนรู้คู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยจัดทา กรอบการจัดการความรู้สู่เกษตรกรภายใต้หลักสูตรการเรียนรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถให้แก่เกษตรกร เพื่อการทาการเกษตรอย่างยั่งยืนและมีความสุข มีผลผลิตที่ดีมีคุณภาพสู่ ระบบตลาดสินค้าเกษตรของสหกรณ์ โดยการบูรณาการความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ซึ่งประกอบด้วย แผนการผลิต การเข้าถึงแหล่งทุนและปัจจัยการผลิต การผลิตและการใช้เทคโนโลยี การจัดการหลังการเก็บ เกี่ยว การเก็บรักษา การแปรรูป การจาหน่าย การออมและการสะสมทุน เข้ากับกิจกรรมการดาเนินชีวิต ซึ่งประกอบด้วย แผนการดาเนินชีวิต การอุปโภคและบริโภค สันทนาการ การสืบทอดวัฒนธรรมและประเพณี การมีส่วนร่วมในสังคม การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ชีวิต/ทรัพย์สินและการดูแลความปลอดภัย โภชนาการและ การดูแลสุขภาพ และการเรียนรู้และการศึกษา 5.2 ยุทธศาสตร์การจัดการห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจสหกรณ์ ภายใต้กรอบคิดระบบคุณค่าและการค้าที่เป็น ธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับขีดความสามารถของสหกรณ์การเกษตรเพื่อประกอบธุรกิจภายในห่วงโซ่ อุปทานและการนาประโยชน์สู่สมาชิกอย่างยั่งยืนมี 3 องค์ประกอบหลักคือ (1) การสร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลง นาการขับเคลื่อนสหกรณ์และองค์กรเพื่อสร้างผู้นาเชิงคุณค่าใน 4 มิติคือ การนาคุณค่าของสหกรณ์มาใช้ การ ปรับประบวนทัศน์ การยึดมั่นในหลักการ และแนวทางการปฏิบัติที่ดี (2) การยกระดับการดาเนินงานสหกรณ์ หรือกลุ่มองค์กรในทิศทางเชิงคุณค่าและการเชื่อมโยงกับพันธมิตรในห่วงโซ่อุปทาน ประกอบด้วยการจัดทา แผนกลยุทธ์ การจัดทาแผนปฏิบัติการ การปรับระบบกลไกการดาเนินงาน การประเมินตนเอง การกาหนด ปณิธานหรือเป้าหมายร่วม การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจากัด (SWOT Analysis) การกาหนด เป้าหมาย และการจัดทาแผนที่กลยุทธ์ และ (3) การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ เพื่อ ขับเคลื่อนระบบธุรกิจเชิงคุณค่าและการสร้างอานาจการต่อรอง การแบ่งปันและสร้างสรรค์ธุรกิจ เพื่อนาไปสู่ การเป็นองค์กรสหกรณ์และเครือข่ายที่มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน การนาคุณค่าและประโยชน์ของสหกรณ์สู่ สมาชิกและชุมชนเพื่อการพัฒนาไปสู่การค้าที่เป็นธรรม (Fair Trade) 5.3 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้สหกรณ์เป็นทางเลือกของประชาชน ภายใต้การพัฒนาตัวแบบธุรกิจสหกรณ์ เพื่อการผลิตอาหาร (Food Cooperatives) โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับการพัฒนาและกระจายสินค้าเกษตร ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยเฉพาะการผลิตสินค้าอาหารธรรมชาติ (Natural Foods) และการนาส่ง (Delivery) ผลผลิตเกษตรที่มีคุณภาพสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย 6.กรณีศึกษาตัวอย่างสหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นตัวอย่างที่ดี (Best Practice) ในการพัฒนาตลาดสินค้า เกษตรในพื้นที่ภาคกลาง ประกอบด้วย 2 สหกรณ์การเกษตรคือ 5.1 สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด ตั้งอยู่ที่ 157/57 หมู่ 5 ถ.เพชรเกษม ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด เป็นผู้ส่งออกกล้วยหอมทองปลอดสารพิษซึ่งมีผลผลิตเพื่อการส่งออกตลอดปี โดยใช้เทคโนโลยีระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability System) ที่ได้มาตรฐานสากลเป็นแห่งแรกใน ประเทศไทยนอกจากนี้สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด ยังพัฒนาและบริหารจัดการ“ตลาดกลางการเกษตร
  • 7. 6 ท่ายาง”ให้เป็นศูนย์กลางการซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นสินค้าผักและผลไม้ทั้งเพื่อการค้า ปลีกและค้าส่งจากทั่วประเทศซึ่งผลิตโดยเกษตรกรโดยตรง รวมทั้งเป็นตลาดรับซื้อกล้วยทุกชนิดและมะนาว โดยมีการคัดเกรดสินค้าจากเกษตรกรผู้ผลิตภายใน จ.เพชรบุรี ตลอดทั้งจาหน่ายสินค้าอุปโภคและบริโภค ด้วย ตลาดกลางการเกษตรท่ายางตั้งอยู่ติดถนนเพชรเกษมและมีสถานที่กว้างขวางแบ่งออกเป็น อาคารพืช ไร่ 1-4 อาคารมะนาว 1-3 อาคารผลไม้ อาคารคัดแยกสินค้า 1-2 อาคารตลาดสด โรงอาหาร ร้านค้า สหกรณ์ ห้องแถวและลานจอดรถ โดยเปิดให้บริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง 5.2 สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ จากัด ตั้งอยู่ที่ 515 ม.5 ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ประชากรของ อ.หนองหญ้าไซส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานาและทาไร่อ้อย สหกรณ์การเกษตร หนองหญ้าไซ จากัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2529 มีสมาชิกแรกตั้ง 374 คนและได้มีการเปิดรับเกษตรกร เข้าเป็นสมาชิกอย่างต่อเนื่องจนในปัจจุบันมีสมาชิกจานวน 2,846 คน มีทุนดาเนินงาน 173 ล้านบาท ทุนเรือน หุ้น 41 ล้านบาท ทุนสารอง 10 ล้านบาท เงินรับฝาก 98 ล้านบาท ปริมาณธุรกิจ 522 ล้านบาท กาไรในปีที่ ผ่านมา 8 ล้านบาท ซึ่งสหกรณ์ฯได้นาผลกาไรจัดเป็นทุนสารองร้อยละ 15.8 เป็นเงินปันผลร้อยละ 7.5 จานวน เงิน 2.8 ล้านบาท เงินเฉลี่ยคืนให้สมาชิก 586,868 บาท จัดสรรทุนศึกษาอบรม 800,000 บาท และจัดไว้เป็น ทุนสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือสมาชิก 2.8 ล้านบาท สหกรณ์ฯดาเนินธุรกิจแบบครบวงจรเพื่อตอบสนองความ ต้องการที่หลากหลายของสมาชิกประกอบด้วยการให้บริการสินเชื่อ การรับ-ฝากเงิน การจาหน่ายปัจจัยการ ผลิตทางการเกษตร การรวบรวมข้าวเปลือก“การบริการตลาดกลางค้าข้าว”และสถานีบริการน้ามัน ซึ่งสหกรณ์ฯยึดหลักการดาเนินงานโดยเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิก สร้างจิตสานึกการมีส่วนร่วมโดยผ่านการ ประชุมในระดับต่างๆ จากการประเมินผลเกี่ยวกับความตระหนักถึงความสาคัญและบทบาทของสมาชิกที่มีต่อ สหกรณ์พบว่าสมาชิกให้ความสนใจและทาธุรกิจสหกรณ์สูงถึงร้อยละ98.07 และสมาชิกยังมีส่วนร่วมกิจกรรม ต่างๆ กับสหกรณ์ในโอกาสต่างๆ อย่างต่อเนื่องและกว้างขวาง นอกจากนี้สหกรณ์ฯได้ดาเนินโครงการและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกหลายโครงการ เช่น (1) โครงการ เพื่อนช่วยเพื่อนโดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อการชาระหนี้ ทาให้สมาชิกลดการกู้ยืมหนี้นอกระบบ รวมทั้งมีเงินออม เข้าร่วมกองทุนเพิ่มขึ้นทุกๆ ปีส่งผลให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (2) โครงการสอนสมาชิกและเกษตรกรทา
  • 8. 7 บัญชีรับ-จ่ายครัวเรือนและบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพและส่งเสริมการออมระดับครอบครัว (3) โครงการ ดาเนินการขับเคลื่อนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยได้จัดทากิจกรรมออมทรัพย์ ออมความดีถวายพ่อหลวง การระดมหุ้นพิเศษการกู้ปุ๋ยปลอดดอกเบี้ย การผลิตข้าวสารหอมจังหวัดบรรจุถุงขายสมาชิกราคาถูกและการ ขยายเงินกู้ให้สมาชิกปลดหนี้นอกระบบ การส่งเสริมให้สมาชิกปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ เลี้ยงปลา ผลิตน้ายา ล้างจาน น้ายาซักผ้าสบู่ สาหรับใช้ในครัวเรือนและลดค่าใช้จ่ายและขายเพื่อเพิ่มรายได้ สหกรณ์ฯยังได้ร่วมมือ กับองค์การบริหารส่วนตาบลหนองโพธิ์จัดทาแปลงสาธิตเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนนา หลักการความพอเพียงไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ทาให้ได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้เป็น 1 ใน 10 การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (4) โครงการธนาคารความดี จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ (5) กิจกรรมสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากความสาเร็จในการบริหารงานดังที่ กล่าวมาแล้วข้างต้นทาให้สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ จากัด ได้รับรางวัลสหกรณ์การเกษตรดีเด่นแห่งชาติ ของพื้นที่ภาคกลางเมื่อปี พ.ศ.2556 6.ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ สหกรณ์ภาคการเกษตร มีดังนี้ 6.1 ส่งเสริมให้เกษตรกรที่ผลิตเพื่อขายได้มีการรวมกลุ่มกันในรูปแบบสหกรณ์ภาคการเกษตรหรือกลุ่ม เกษตรกรโดยสมัครใจเพื่อปรับปรุงการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร รวมทั้งสนับสนุนสหกรณ์ที่เกิดขึ้น แล้วให้ปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพสู่การเป็นสหกรณ์เพื่อการผลิตอาหาร (Food Cooperatives) และมี บทบาทสาคัญในการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรเพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์ภาคการเกษตรมีส่วนร่วมและมีขีด ความสามารถในการแข่งขันภายในห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรอย่างครบวงจร 6.2 หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถาบันเกษตรกรควรให้การสนับสนุนการดาเนินธุรกิจของ สหกรณ์ภาคการเกษตร ได้แก่ การประสานงานด้านการสนับสนุนการผลิตจนถึงการจาหน่าย รวมทั้งควร บูรณาการภารกิจระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของสหกรณ์ภาคการเกษตรให้ เข้มแข็ง สนับสนุนให้สหกรณ์ภาคการเกษตรจาหน่ายปุ๋ยเคมีและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพเพื่อจาหน่ายให้แก่ สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรและเกษตรกร โดยสหกรณ์ที่จาหน่ายปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ควรได้รับหนังสือ รับรองจากห้องปฏิบัติการของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 6.3 หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมให้สหกรณ์ภาคการเกษตรมีบทบาทสาคัญในการควบคุมการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานสินค้าที่ผลิตเพื่อรักษาเสถียรภาพ ของราคา ตลอดทั้งสนับสนุนเงินกู้เพื่อการลงทุนในการผลิตและการตลาดแก่สหกรณ์ภาคการเกษตรในอัตรา ดอกเบี้ยที่เหมาะสม สนับสนุนระบบข้อมูลข่าวสารด้านการค้า การตลาดและราคาสินค้าให้ทั่วถึงโดยเฉพาะ พื้นที่ชนบทห่างไกล และสนับสนุนองค์ความรู้ทางวิชาการด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ที่ทันสมัย
  • 9. 8 6.4 เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรเพื่อใช้เป็นกลไกที่สาคัญเพื่อรองรับ เขตการค้าเสรีอาเซียน การตอบสนองนโยบายด้านความมั่นคงทางอาหารและการแก้ปัญหาของภาค การเกษตรของไทย 7.บทสรุป การส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชนดารงอยู่ในสังคม เศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน โดยประชาชนที่ตระหนักในคุณค่าของสหกรณ์ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการ พัฒนาอย่างยั่งยืน จะร่วมมือกันบนพื้นฐานของการพึ่งพาและช่วยเหลือตนเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า โดย ภาครัฐให้การสนับสนุนอย่างเหมาะสม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรและการพัฒนาชนบทในพื้นที่ภาค กลางอย่างยั่งยืน และสนับสนุนการดาเนินการที่สอดคล้องกับนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลกของรัฐบาล ตลอดทั้ง การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคเกษตรเพื่อบูรณาเข้าสู่ระบบการค้าเสรีอาเซียน และการค้าโลก เอกสารอ้างอิง จุฑาทิพย์ ภัทราวาท 2555 การพัฒนาการตลาดสินค้าเกษตรโดยระบบสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สุภัทร คามุงคุณ 2558 ความท้าทายการเปลี่ยนแปลงของแรงงานภาคการเกษตร กลุ่มงานบริการวิชาการ 2 สานักวิชาการสานักงานรัฐสภา หนังสือพิมพ์มติชน เทคโนโลยีชาวบ้าน เกษตรกรดีเด่น วันที่ 1 พฤษภาคม 2556 ปีที 25 ฉบับที่ 550 บทที่ 4 การพัฒนาปัจจัยขั้นพื้นฐานทางด้านการผลิตและการตลาดในชนบท เข้าถึงจาก www.nesdb.go.th/portals/0/news/plan/p6/M11_4.doc เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2558 กรมส่งเสริมสหกรณ์ สถิติสหกรณ์ของประเทศไทยปี 2558 เข้าถึงจาก http://www.cpd.go.th/cpd/ cpdinter/ เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2558 สหกรณ์การเกษตรท่ายาง เข้าถึงจาก http://www.thayang.org/otop/travel_detail.php?otop_id =00000000001เข้าถึงเมื่อ 29 มิถุนายน 2558 สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าไซ เข้าถึงจาก http://www.coopthai.com/hyccoop/main.htmlเข้าถึงเมื่อ 29 มิถุนายน 2558 http://ab.cmcat.ac.th/main/sahakorn/u004.html เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558 http://webhost.cpd.go.th/cpd_sakao/kk2553k105.html เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558 http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=18&chap=10&page=t18-10- infodetail06.htmlเข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2558