SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
" ... โครงการที่ได้ปฏิบัติมาจนถึงเดี๋ยวนี้ก็ได้ใช้ข้าวเป็น
จานวนมาก สาหรับส่งไปสงเคราะห์ในบริเวณชายแดน โดยอาศัย
การส่งไปให้แก่เจ้าหน้าที่เพือที่จะได้แจกจ่ายแก่ผู้ที่ขาดแคลน
                              ่
นอกจากนี้ก็ได้ปฏิบัติอีกวิธีหนึ่ง คือนอกจากจะไปแจกแก่ผู้ที่ขาด
แคลนคือ ได้ไปตั้งเป็นคลัง เป็นฉางข้าวในบางแห่ง คือ บางแห่งมี
ความขาดแคลนข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีที่แล้วก็มีความเดือดร้อน
เพราะว่ามีการขาดน้า ทาให้ข้าวไม่ได้ผลเพียงพอจึงได้ให้ข้าว
จานวนหนึ่งแก่หมู่บ้านและตั้งเป็นฉางข้าว กล่าวคือ ให้ข้าวไว้และก็
ถ้าต่อมาเขามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือปลูกข้าวได้ก็เอามาคืน โดยมี
ดอกเบี้ยเพิ่มเติมเข้ามา ข้าวที่ให้ไปจึงเป็นข้าวที่หมุนเวียนและทา
ให้ประชาชนสามารถที่จะเข้าใจถึงการประหยัดถึงวิธีที่จะร่วมมือ
กัน มีชีวิตเป็นกลุ่ม ..."
โครงการธนาคารข้าว
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผลผลิตข้าวปีละประมาณ ๑๙ ล้านตัน เป็นประเทศส่งออก
 ข้าวรายใหญ่รายหนึ่งของโลก นับเป็นประเทศที่มีธัญพืชและทรัพยากรอุดม
 สมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึ่ง แต่ก็ยังมีผู้คนในชนบทจานวนมาก ภายหลังจาก ที่ได้เก็บ
 เกี่ยวข้าวในนาของตนไปแล้ว กลับขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค หรือใช้ทาพันธุ์ใน
 ฤดูเพาะปลูกครั้งต่อไป
 การขาดแคลนข้าวของชาวนาในชนบทเป็นความเดือดร้อนอย่างยิง
                                                      ่
  ครัวเรือนที่ยากจนมักแก้ไขปัญหา โดยวิธีกู้ยืมจากพ่อค้าคนกลาง ซึ่ง
  อาจจะกู้ยืมเป็นข้าว หรือเป็นเงิน โดยต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราที่สูงมาก
  เฉลี่ยแล้วราวร้อยละ ๓๐-๑๒๐ บาทต่อปี ในบางกรณีก็ต้องกู้ยืมโดย
  วิธีการขายข้าวเขียว ซึ่งเป็นผลให้ผู้กู้เสียเปรียบอย่างมาก ทาให้ผลผลิต
  ข้าวที่ได้ไม่เพียงพอสาหรับการบริโภค และการชาระหนี้ ในที่สุดก็
  กลายเป็นผู้ที่มีหนี้สินพอกพูน ตกอยู่ในสภาพที่ยากจน ล้าหลัง ไม่
  สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็นที่มาของปัญหาการพัฒนาด้านอื่น ๆ
  ต่อไปอีก
 การที่ประเทศเรามีธัญพืชมากพอที่จะเลี้ยงดูคนทั้งประเทศ แต่ก็ยังมีผู้
   ที่ไม่มีข้าวพอกินเป็นสองภาพที่ขัดแย้งกันของชนบทไทย ปรากฏการณ์
   เช่นนี้เกิดขึ้นด้วยปัจจัยหลายประการประกอบกัน นับแต่ความเสื่อม
   โทรมของทรัพยากรดินและน้้า ประสิทธิภาพของการผลิต การควบคุม
   ระบบตลาด กลไกราคา และภาวะการค้าต่างประเทศ แม้ว่า รัฐบาลจะ
   ก้าหนดนโยบายและวางแผนที่จะแก้ไขปัญหาแหล่านี้ด้วยมาตรการต่าง
   ๆ จ้านวนมาก แต่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขก็เป็นเรื่องระยะยาวที่มองไม่
   เห็นผลในทันที
แนวพระราชดาริเกี่ยวกับโครงการ
                ธนาคารข้าว
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ สู่ภูมิภาคต่าง ๆ ในท้องถิ่นชนบทของ
  ประเทศอย่างสม่าเสมอมานับสิบปี ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเห็นสภาพความ
  ยากจน เดือดร้อนและเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่งปัญหา
  พระองค์ทรงริเริ่มและพระราชทานแนวพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาในระดับต่าง
  ๆ อย่างเหมาะสม ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้ประชาชนพึ่งตนเอง ให้พึ่งพาอาศัย
  ปัจจัยภายนอกให้น้อยที่สุด ในบางเรื่องทรงเห็นว่าการจัดสรรทรัพยากรและ
  โครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ๆ จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ในระยะยาวและในบางกรณีก็
  ทรงเห็นว่า จาเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขความเดือนร้อนเฉพาะหน้าของราษฎร
  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องข้าว ทรงพยายามทาทุกวิถีทางในเกษตรกรมีข้าวพอกิน
  อาจกล่าวได้ว่า "ธนาคารข้าว" เป็นผลมาจากพระปรีชาดังกล่าว
 เป็นความพยายามด้านหนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และเป็นพะราช
  ประสงค์โดยตรงทีจะให้ทางราชการไปช่วยเหลือในการจัดตั้งธนาคารข้าว เพื่อ
                   ่
  ประโยชน์แก่เกษตรกรที่ยากจนโดยทัวไป อาจกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงมี
                                      ่
  บทบาทสาคัญยิ่งในการก่อรูป "ธนาคารข้าว" ขึ้น และทาให้ธนาคารข้าว
  กลายเป็นแนวคิดที่แพร่หลาย เป็นนโยบายของรัฐและเป็นแผนงานสาคัญแผน
  หนึ่งของการพัฒนาชนบทยากจนที่ผ่านมา
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้มีการจัดตั้งธนาคารข้าว ขึ้น
  ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เมื่อครั้งทรงเสด็จพระราชดาเนินไปเยียมราษฎรชาวเขา
                                                          ่
  เผากะเหรี่ยง ในเขตอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทาน
  ข้าวเปลือกจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ใหญ่บ้านหลายหมู่บ้าน เพื่อให้เป็นทุนเริ่ม
  ดาเนินกิจการธนาคารข้าว ได้พระราชทานแนวทางดาเนินงานไว้อย่างละเอียด
  ชัดเจน ดังบันทึกดังต่อไปนี้
"ให้มีคณะกรรมการควบคุม ที่คัดเลือกจากราษฎรในหมู่บ้าน
  เป็นผู้เก็บรักษาพิจารณาจานวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน
  ตลอดจนจัดทาบัญชีทาการของธนาคารข้าว ราษฎรที่
  ต้องการข้าวไปใช้บริโภคในยามจาเป็น ให้ลงบัญชียืมข้าวไป
  ใช้จานวนหนึ่ง เมื่อสามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้แล้ว ก็นามาคืน
  ธนาคาร พร้อมด้วยดอกเบี้ยจานวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน
  ซึ่งข้าวที่เป็นดอกเบี้ยดังกล่าวก็จะเก็บรวมไว้ในธนาคาร และ
  ถือเป็นสมบัติของส่วนรวม สาหรับกรรมการควบคุมข้าวนั้น
  มีสิทธิในการขอยืมข้าวเท่ากับราษฎรทุกประการ ต้องอธิบาย
  ให้กรรมการและราษฎรเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ถึงหลักการของ
  ธนาคารข้าว
โดยพยายามชี้แจงอย่างง่าย ๆ แต่ต้องให้แน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจดี
กรรมการและราษฎรก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหลักการ เมื่อยืมข้าวจาก
ธนาคารข้าว ซึ่งเป็นของส่วนรวมไปใช้ และถึงกาหนดเวลาที่สัญญาไว้
ก็ต้องนาข้าวมาคืนพร้อมด้วยดอกเบี้ย นอกจากว่ามีเหตุสุดวิสัย ซึ่งต้องชี้
แจ้งให้กรรมการพิจารณาข้อเท็จจริง ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งที่
แข็งแรง ทั้งนี้หากปฏิบัติตามหลักการที่วางไว้ จานวนข้าวที่หมุนเวียน
ในธนาคารจะไม่มีวันหมด แต่จะค่อยๆ เพิ่มจานวนขึ้น และจะมีข้าว
สาหรับบริโภคตลอดไปจนถึงลูกหลาน ในที่สุดธนาคารข้าวก็จะเป็น
แหล่งที่รักษา ผลประโยชน์ของราษฎรในหมู่บ้าน และเป็นแหล่งอาหาร
สารองของหมู่บ้านด้วย"
สรุป
 รัฐบาลโดยหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับ
  สนองพระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดาเนินงานธนาคารข้าว
  ออกไปอย่างกว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีธนาคารข้าวที่จัดตั้งขึ้น
  ในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ มากกว่า ๔,๓๐๐ แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ ๕๗
  จังหวัด จานวนข้าวหมุนเวียนในธนาคารข้าวมากกว่า ๑๔.๕ ล้าน
  กิโลกรัม หลักการดาเนินงานของธนาคารข้าว ปัจจุบันสามารถปรับใช้ได้
  กับสภาพปัญหาและความจาเป็นที่แตกต่างกันของแต่ละพื้นที่ เช่น
  ลักษณะการให้บริการ ซึ่งมีทั้งให้เปล่า ให้โดยแลกแรงงาน ให้ยืมหรือให้
  กู้สาหรับทุนดาเนินงานนั้น อาจหาทุนได้หลายวิธี เช่น การรับบริจาค
  การเรียกหุ้น ฯลฯ และในกรณีที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทุนเริ่มต้นขี้นมาได้
  เอง ก็อาจเสนอแผนงานเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐได้
       ธนาคารข้าว เป็นโครงการในเชิงการให้สวัสดิการสังคม สิ่งที่เกิดขึ้นเท่ากับเป็นการ
    โอนรายได้ (Transfer income) จากคนรวยไปยังคนจนและเป็นการกระจาย
    รายได้ที่ทุกฝ่ายได้รับประโยชน์ ราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บ้านที่สามารถกู้ยืมไป
    บริโภคหรือทาพันธุ์ โดยเสียดอกเบี้ยในอัตราต่ากว่าอัตราซึ่งต้องเสียให้แก่พ่อค้าคน
    กลางเป็นอันมาก ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการอดอยากขาดแคลน ช่วย
    ยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และระดับรายได้ของเกษตรกรที่ยากจน เป็นการแก้ปัญหา
    ที่ได้ผลและตรงจุดประการหนึ่ง
        สิ่งที่ได้มานอกจากนั้น เป็นเรื่องที่มองไม่เห็นผลโดยตรง แต่เป็นเรื่องที่สาคัญ
    ยิ่ง เพราะเป็นการสร้างพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาสร้างความสมัครสมาน
    สามัคคีของชุมชนในการ ที่จะเรียนรู้และดาเนินการแก้ไขปัญหาของตนซึ่งเป็นสิ่ง
    ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงย้าอยู่เสมอ ในเรื่องความเข้าใจของราษฎร
    ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และความรู้สึกมีส่วนร่วม พระองค์ทรงเห็นว่า สิ่ง
    เหล่านี้ปลูกฝังได้ ธนาคารข้าวอาจทาหน้าที่เป็นโรงเรียนที่ดี ในขณะเดียวกัน ก็
    เป็นตัวชี้ถึงประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน นั้น ๆ ธนาคารข้าวที่
    ประสบความสาเร็จมิได้บรรลุเพียงจุดมุ่งหมายพื้นฐานในการบรรเทาการขาด
    แคลนข้าวเท่านั้น แต่ยังได้สร้างกิจกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนา
    คุณภาพ สร้างการมีส่วนร่วมภาวะผู้นา และความร่วมมือในระดับชุมชนอีกด้วย
กิจกรรมธนาคารข้าวในท้องที่หลายแห่งเป็นที่มาของความคิด
 สร้างสรรค์ต่าง ๆ ของชาวบ้านที่ร่วมใจกันหาวิธีการนาข้าวมา
  เข้ากองทุน และในอีกหลายท้องที่ ผลประโยชน์ที่เพิ่มพูนขึ้น
  จากการดาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ถูกนามาใช้ในการพัฒนา
  ท้องถิ่นของตนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อความสาเร็จที่
  เกิดขึ้นจากการร่วมมือกันใน จุดเล็ก ๆ ที่พร้อมจะเติบโต
  ต่อไป
ผู้จัดทำ
นางสาว ปฏิญญา ปัจจุสนันท์
    ชั้น ม.4/6 เลขที่ 41

More Related Content

Viewers also liked

Interior Decoration Ideas Part II
Interior Decoration Ideas Part IIInterior Decoration Ideas Part II
Interior Decoration Ideas Part IISaptarshi Dutta
 
Five creative ideas for kitchen decoration
Five creative ideas for kitchen decorationFive creative ideas for kitchen decoration
Five creative ideas for kitchen decorationSaptarshi Dutta
 
Seo humor quotes
Seo humor quotesSeo humor quotes
Seo humor quotescredence123
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวPatinya Pajjusanan
 
безопасность детей в интернете
безопасность детей в интернетебезопасность детей в интернете
безопасность детей в интернетеlena1960sel
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตChayaphon yaphon
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตChayaphon yaphon
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริChayaphon yaphon
 
моя визитка
моя визиткамоя визитка
моя визиткаlena1960sel
 
Витамины - элексиры жизни
Витамины - элексиры жизниВитамины - элексиры жизни
Витамины - элексиры жизниlena1960sel
 
Моя визитка
Моя визиткаМоя визитка
Моя визиткаlena1960sel
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริChayaphon yaphon
 

Viewers also liked (14)

Interior Decoration Ideas Part II
Interior Decoration Ideas Part IIInterior Decoration Ideas Part II
Interior Decoration Ideas Part II
 
Five creative ideas for kitchen decoration
Five creative ideas for kitchen decorationFive creative ideas for kitchen decoration
Five creative ideas for kitchen decoration
 
Seo humor quotes
Seo humor quotesSeo humor quotes
Seo humor quotes
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าว
 
безопасность детей в интернете
безопасность детей в интернетебезопасность детей в интернете
безопасность детей в интернете
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
моя визитка
моя визиткамоя визитка
моя визитка
 
Витамины - элексиры жизни
Витамины - элексиры жизниВитамины - элексиры жизни
Витамины - элексиры жизни
 
Моя визитка
Моя визиткаМоя визитка
Моя визитка
 
Iarna
IarnaIarna
Iarna
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
307 dec 12
307 dec 12307 dec 12
307 dec 12
 

โครงการธน..[1]

  • 1. " ... โครงการที่ได้ปฏิบัติมาจนถึงเดี๋ยวนี้ก็ได้ใช้ข้าวเป็น จานวนมาก สาหรับส่งไปสงเคราะห์ในบริเวณชายแดน โดยอาศัย การส่งไปให้แก่เจ้าหน้าที่เพือที่จะได้แจกจ่ายแก่ผู้ที่ขาดแคลน ่ นอกจากนี้ก็ได้ปฏิบัติอีกวิธีหนึ่ง คือนอกจากจะไปแจกแก่ผู้ที่ขาด แคลนคือ ได้ไปตั้งเป็นคลัง เป็นฉางข้าวในบางแห่ง คือ บางแห่งมี ความขาดแคลนข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีที่แล้วก็มีความเดือดร้อน เพราะว่ามีการขาดน้า ทาให้ข้าวไม่ได้ผลเพียงพอจึงได้ให้ข้าว จานวนหนึ่งแก่หมู่บ้านและตั้งเป็นฉางข้าว กล่าวคือ ให้ข้าวไว้และก็ ถ้าต่อมาเขามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือปลูกข้าวได้ก็เอามาคืน โดยมี ดอกเบี้ยเพิ่มเติมเข้ามา ข้าวที่ให้ไปจึงเป็นข้าวที่หมุนเวียนและทา ให้ประชาชนสามารถที่จะเข้าใจถึงการประหยัดถึงวิธีที่จะร่วมมือ กัน มีชีวิตเป็นกลุ่ม ..."
  • 2. โครงการธนาคารข้าว ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผลผลิตข้าวปีละประมาณ ๑๙ ล้านตัน เป็นประเทศส่งออก ข้าวรายใหญ่รายหนึ่งของโลก นับเป็นประเทศที่มีธัญพืชและทรัพยากรอุดม สมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึ่ง แต่ก็ยังมีผู้คนในชนบทจานวนมาก ภายหลังจาก ที่ได้เก็บ เกี่ยวข้าวในนาของตนไปแล้ว กลับขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค หรือใช้ทาพันธุ์ใน ฤดูเพาะปลูกครั้งต่อไป
  • 3.  การขาดแคลนข้าวของชาวนาในชนบทเป็นความเดือดร้อนอย่างยิง ่ ครัวเรือนที่ยากจนมักแก้ไขปัญหา โดยวิธีกู้ยืมจากพ่อค้าคนกลาง ซึ่ง อาจจะกู้ยืมเป็นข้าว หรือเป็นเงิน โดยต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราที่สูงมาก เฉลี่ยแล้วราวร้อยละ ๓๐-๑๒๐ บาทต่อปี ในบางกรณีก็ต้องกู้ยืมโดย วิธีการขายข้าวเขียว ซึ่งเป็นผลให้ผู้กู้เสียเปรียบอย่างมาก ทาให้ผลผลิต ข้าวที่ได้ไม่เพียงพอสาหรับการบริโภค และการชาระหนี้ ในที่สุดก็ กลายเป็นผู้ที่มีหนี้สินพอกพูน ตกอยู่ในสภาพที่ยากจน ล้าหลัง ไม่ สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็นที่มาของปัญหาการพัฒนาด้านอื่น ๆ ต่อไปอีก
  • 4.  การที่ประเทศเรามีธัญพืชมากพอที่จะเลี้ยงดูคนทั้งประเทศ แต่ก็ยังมีผู้ ที่ไม่มีข้าวพอกินเป็นสองภาพที่ขัดแย้งกันของชนบทไทย ปรากฏการณ์ เช่นนี้เกิดขึ้นด้วยปัจจัยหลายประการประกอบกัน นับแต่ความเสื่อม โทรมของทรัพยากรดินและน้้า ประสิทธิภาพของการผลิต การควบคุม ระบบตลาด กลไกราคา และภาวะการค้าต่างประเทศ แม้ว่า รัฐบาลจะ ก้าหนดนโยบายและวางแผนที่จะแก้ไขปัญหาแหล่านี้ด้วยมาตรการต่าง ๆ จ้านวนมาก แต่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขก็เป็นเรื่องระยะยาวที่มองไม่ เห็นผลในทันที
  • 5. แนวพระราชดาริเกี่ยวกับโครงการ ธนาคารข้าว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ สู่ภูมิภาคต่าง ๆ ในท้องถิ่นชนบทของ ประเทศอย่างสม่าเสมอมานับสิบปี ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเห็นสภาพความ ยากจน เดือดร้อนและเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่งปัญหา พระองค์ทรงริเริ่มและพระราชทานแนวพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาในระดับต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้ประชาชนพึ่งตนเอง ให้พึ่งพาอาศัย ปัจจัยภายนอกให้น้อยที่สุด ในบางเรื่องทรงเห็นว่าการจัดสรรทรัพยากรและ โครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ๆ จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ในระยะยาวและในบางกรณีก็ ทรงเห็นว่า จาเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขความเดือนร้อนเฉพาะหน้าของราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องข้าว ทรงพยายามทาทุกวิถีทางในเกษตรกรมีข้าวพอกิน อาจกล่าวได้ว่า "ธนาคารข้าว" เป็นผลมาจากพระปรีชาดังกล่าว
  • 6.  เป็นความพยายามด้านหนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และเป็นพะราช ประสงค์โดยตรงทีจะให้ทางราชการไปช่วยเหลือในการจัดตั้งธนาคารข้าว เพื่อ ่ ประโยชน์แก่เกษตรกรที่ยากจนโดยทัวไป อาจกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงมี ่ บทบาทสาคัญยิ่งในการก่อรูป "ธนาคารข้าว" ขึ้น และทาให้ธนาคารข้าว กลายเป็นแนวคิดที่แพร่หลาย เป็นนโยบายของรัฐและเป็นแผนงานสาคัญแผน หนึ่งของการพัฒนาชนบทยากจนที่ผ่านมา  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้มีการจัดตั้งธนาคารข้าว ขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เมื่อครั้งทรงเสด็จพระราชดาเนินไปเยียมราษฎรชาวเขา ่ เผากะเหรี่ยง ในเขตอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทาน ข้าวเปลือกจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ใหญ่บ้านหลายหมู่บ้าน เพื่อให้เป็นทุนเริ่ม ดาเนินกิจการธนาคารข้าว ได้พระราชทานแนวทางดาเนินงานไว้อย่างละเอียด ชัดเจน ดังบันทึกดังต่อไปนี้
  • 7. "ให้มีคณะกรรมการควบคุม ที่คัดเลือกจากราษฎรในหมู่บ้าน เป็นผู้เก็บรักษาพิจารณาจานวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน ตลอดจนจัดทาบัญชีทาการของธนาคารข้าว ราษฎรที่ ต้องการข้าวไปใช้บริโภคในยามจาเป็น ให้ลงบัญชียืมข้าวไป ใช้จานวนหนึ่ง เมื่อสามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้แล้ว ก็นามาคืน ธนาคาร พร้อมด้วยดอกเบี้ยจานวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน ซึ่งข้าวที่เป็นดอกเบี้ยดังกล่าวก็จะเก็บรวมไว้ในธนาคาร และ ถือเป็นสมบัติของส่วนรวม สาหรับกรรมการควบคุมข้าวนั้น มีสิทธิในการขอยืมข้าวเท่ากับราษฎรทุกประการ ต้องอธิบาย ให้กรรมการและราษฎรเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ถึงหลักการของ ธนาคารข้าว
  • 8. โดยพยายามชี้แจงอย่างง่าย ๆ แต่ต้องให้แน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจดี กรรมการและราษฎรก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหลักการ เมื่อยืมข้าวจาก ธนาคารข้าว ซึ่งเป็นของส่วนรวมไปใช้ และถึงกาหนดเวลาที่สัญญาไว้ ก็ต้องนาข้าวมาคืนพร้อมด้วยดอกเบี้ย นอกจากว่ามีเหตุสุดวิสัย ซึ่งต้องชี้ แจ้งให้กรรมการพิจารณาข้อเท็จจริง ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งที่ แข็งแรง ทั้งนี้หากปฏิบัติตามหลักการที่วางไว้ จานวนข้าวที่หมุนเวียน ในธนาคารจะไม่มีวันหมด แต่จะค่อยๆ เพิ่มจานวนขึ้น และจะมีข้าว สาหรับบริโภคตลอดไปจนถึงลูกหลาน ในที่สุดธนาคารข้าวก็จะเป็น แหล่งที่รักษา ผลประโยชน์ของราษฎรในหมู่บ้าน และเป็นแหล่งอาหาร สารองของหมู่บ้านด้วย"
  • 9. สรุป  รัฐบาลโดยหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับ สนองพระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดาเนินงานธนาคารข้าว ออกไปอย่างกว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีธนาคารข้าวที่จัดตั้งขึ้น ในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ มากกว่า ๔,๓๐๐ แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ ๕๗ จังหวัด จานวนข้าวหมุนเวียนในธนาคารข้าวมากกว่า ๑๔.๕ ล้าน กิโลกรัม หลักการดาเนินงานของธนาคารข้าว ปัจจุบันสามารถปรับใช้ได้ กับสภาพปัญหาและความจาเป็นที่แตกต่างกันของแต่ละพื้นที่ เช่น ลักษณะการให้บริการ ซึ่งมีทั้งให้เปล่า ให้โดยแลกแรงงาน ให้ยืมหรือให้ กู้สาหรับทุนดาเนินงานนั้น อาจหาทุนได้หลายวิธี เช่น การรับบริจาค การเรียกหุ้น ฯลฯ และในกรณีที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทุนเริ่มต้นขี้นมาได้ เอง ก็อาจเสนอแผนงานเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐได้
  • 10. ธนาคารข้าว เป็นโครงการในเชิงการให้สวัสดิการสังคม สิ่งที่เกิดขึ้นเท่ากับเป็นการ โอนรายได้ (Transfer income) จากคนรวยไปยังคนจนและเป็นการกระจาย รายได้ที่ทุกฝ่ายได้รับประโยชน์ ราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บ้านที่สามารถกู้ยืมไป บริโภคหรือทาพันธุ์ โดยเสียดอกเบี้ยในอัตราต่ากว่าอัตราซึ่งต้องเสียให้แก่พ่อค้าคน กลางเป็นอันมาก ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการอดอยากขาดแคลน ช่วย ยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และระดับรายได้ของเกษตรกรที่ยากจน เป็นการแก้ปัญหา ที่ได้ผลและตรงจุดประการหนึ่ง
  • 11. สิ่งที่ได้มานอกจากนั้น เป็นเรื่องที่มองไม่เห็นผลโดยตรง แต่เป็นเรื่องที่สาคัญ ยิ่ง เพราะเป็นการสร้างพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาสร้างความสมัครสมาน สามัคคีของชุมชนในการ ที่จะเรียนรู้และดาเนินการแก้ไขปัญหาของตนซึ่งเป็นสิ่ง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงย้าอยู่เสมอ ในเรื่องความเข้าใจของราษฎร ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และความรู้สึกมีส่วนร่วม พระองค์ทรงเห็นว่า สิ่ง เหล่านี้ปลูกฝังได้ ธนาคารข้าวอาจทาหน้าที่เป็นโรงเรียนที่ดี ในขณะเดียวกัน ก็ เป็นตัวชี้ถึงประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน นั้น ๆ ธนาคารข้าวที่ ประสบความสาเร็จมิได้บรรลุเพียงจุดมุ่งหมายพื้นฐานในการบรรเทาการขาด แคลนข้าวเท่านั้น แต่ยังได้สร้างกิจกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพ สร้างการมีส่วนร่วมภาวะผู้นา และความร่วมมือในระดับชุมชนอีกด้วย
  • 12. กิจกรรมธนาคารข้าวในท้องที่หลายแห่งเป็นที่มาของความคิด สร้างสรรค์ต่าง ๆ ของชาวบ้านที่ร่วมใจกันหาวิธีการนาข้าวมา เข้ากองทุน และในอีกหลายท้องที่ ผลประโยชน์ที่เพิ่มพูนขึ้น จากการดาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ถูกนามาใช้ในการพัฒนา ท้องถิ่นของตนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อความสาเร็จที่ เกิดขึ้นจากการร่วมมือกันใน จุดเล็ก ๆ ที่พร้อมจะเติบโต ต่อไป