SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บ้านจ๊างนัก
           ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะศิลปิ น
ดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป์
ด้านประติมากรรม ที่อยู่ "บ้านจ๊างนัก" บ้านเลขที่ 56/1
หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
    ผลงานของสล่าเพชรทาจาหน่ายในนาม "บ้านจ๊างนัก” ซึ่งเขาเป็ นหัวเรื อใหญ่ในการรวบรวมช่างฝี มือใน
  ท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือกให้เป็ นสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
            ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้าจากชุมชนแห่งนี้กระจายไปอยูทวโลก    ่ ั่
  กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่ องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรี ยนรู้การแกะสลักไม้รูปช้าง กับ
   ครู คาอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่ วมรุ่ นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทางานแกะสลักไม้ตาม
  สถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่ นที่รักความท้าทาย หลังจากเป็ นหนุ่มพเนจรอยูหลายปี จึงหวนคืนสู่บาน
                                                                                       ่                    ้
เกิดที่สนกาแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทามาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์ 5-
         ั
 6 คน ก่อตัวเป็ นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริ งจาหน่าย จนมีผลงานออกมาเป็ นที่รู้จกของคนทัวไปั          ่
 "ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ตูนชื่อดัง เป็ นผูต้งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษา
                                                                                      ้ั
 ถิ่นความหมายว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้บานจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่งเป็ นญาติ
                          ้                ่                ้
  พี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคนหนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้น" สล่าเพชร เล่าความ สาหรับวัตถุดิบสาคัญคือ "ไม้"
       ้                                          ้
     ใช้ได้ท้งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทากันมาโดยตลอดคือ ไม้สก ซึ่งเป็ นไม้เนื้อ
             ั                                                                             ั
 ละเอียดง่ายต่อการนามาแกะสลักเป็ นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์ หรื อต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หา
    ยาก และราคาสูง จึงเลือกใช้ไม้ข้ ีเหล็ก ไม้ฉาฉา และไม้ขนุน ซึ่งในอดีตเป็ นเพียงไม้ทาฟื นของชาวบ้าน
 เท่านั้นเครื่ องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่วหมัก หรื อ สิ่วตัววี (V) ใช้สลักนาเส้นตามแบบงานและใช้แต่งลายเส้น
   ต่างๆ สิ่วแบน ใช้ถากย้าเส้นต่างๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่ตองการออก สิ่วแกะ หรื อ สิ่วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ
                                                                ้
 และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน และ ค้อน อุปกรณ์ที่ตองใช้ตอกสิ่ววิธีแกะสลัก ร่ างแบบงานบนกระดาษ
                                                                  ้
  แข็ง แล้วนามาทาบกับไม้ที่เตรี ยมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ตองการออกให้เหลือแต่โครงสร้างตามแบบที่ร่าง
                                                                    ้
     ไว้ ส่วนความเว้าก็แกะออกจนเป็ นรู ปร่ างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น ลาย
 ผิวหนัง หรื อลายกลีบดอกไม้ ขั้นตอนสุดท้าย ทาสีและขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทาจากผลมะเกลือ ขั้นตอน
คือนาผลมะเกลือมาตา แล้วหมักกับน้ าปูนใส ก่อนใช้น้ าที่หมักทาผลงานให้เป็ นสีดา และทาซ้ าจนกระทังดา       ่
จนพอใจ จึงนาไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัดกากของมะเกลือออก จะได้ชิ้นงานสีดาเทาดูเป็ น
            ธรรมชาติท้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็ นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้าน
                       ั
     ศิลปวัฒนธรรมท้องถินที่สาคัญของ อ.สันกาแพง ช้างที่เขาแกะสลักตอนแรกนั้นสัดส่วนยังไม่ค่อยดีนก
                            ่                                                                             ั
เพราะรู้จกช้างแค่เท่า ๆ กับชาวบ้านทัวไป เมื่อได้คนสอน แนะนาให้ลองไปศึกษาช้างจริ ง ๆ จึงรู้จกช้างมาก
              ั                             ่                                                     ั
ขึ้น จนทาให้สามารถพัฒนาผลงานการแกะสลักช้างออกมาได้สดส่วนเหมือนจริ ง มีอิริยาบถต่าง ๆ และเป็ น
                                                                       ั
     แบบฉบับของตัวเองมากขึ้น” “บ้านจ๊างนัก” ที่แปลว่าบ้านมีชางมากมาย จึงใช้ชื่อนี้เป็ นชื่อบ้าน-ชื่อกลุ่ม
                                                                     ้
  แกะสลักเรื่ อยมา “ผลงานที่ผมทาออกมาเป็ นสิ่งที่ภูมิใจทุกชิ้น เพราะผลงานทุกชิ้นที่ทาออกมานั้นเกิดจาก
การที่เราตั้งใจ ใส่ใจที่จะสร้างสรรค์ออกมา แต่ถาพูดถึงงานที่สร้างความท้าทายที่สุดชิ้นแรกก็เห็นจะเป็ นการ
                                                       ้
                                         แกะสลักช้างไม้ที่ใหญ่เท่าตัวจริ งที่สุด”
  “งานแกะสลักช้างนี่ก็คงจะทาไปเรื่ อย ๆ เพราะเป็ นงานที่รักและชอบที่จะทาตรงนี้ แล้วยังถือว่าเป็ นหน้าที่
ปัจจุบนนี้การแกะสลักช้างให้ผคนได้ชื่นชมชื่นชอบไม่ใช่จิตวิญญาณที่แท้จริ ง แต่ในความเป็ นจริ งคืออยากที่
         ั                            ู้
  จะสะท้อนให้คนไทยทุกคนหันมาให้ความสนใจในเผ่าพันธุของช้างอย่างจริ งจัง อยากให้มีการอนุรักษ์ให้
                                                                   ์
ช้างอยูคู่กบบ้านเมืองเราไปตราบนานเท่านาน สิ่งนี้มนเป็ นสาระสาคัญของผลงานที่ผมทาออกมาทั้งหมด...”
           ่ ั                                              ั
  ก่อนจะเป็ น “ช้างแกะสลัก” “เสกสรรค์งานศิลป์ ถิ่นล้านนา สืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้างไทย” นี่เป็ นคา
 จากัดความหนึ่งของ “บ้านจ๊างนัก” ศูนย์รวมกลุ่มสล่า-ช่างแกะสลักช้างหลายสิบชีวิต ที่นาโดย “สล่าเพชร”
  ซึ่งการแกะสลักช้างของกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนักเป็ นทั้งการสืบสานต่อศิลปะวิธีการแกะสลักช้างที่ทาสืบทอด
 กันมาเป็ นเวลายาวนานใน จ.เชียงใหม่ เป็ นการสร้างรายได้ให้กบคนในท้องถิ่นและช่วยสร้างฝี มือไว้แก่คน
                                                                         ั
 รุ่ นหลังไม่ให้สูญหาย อีกทั้งยังเป็ นการนาวัตถุดิบไม้ที่หาได้ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เพิ่มพูนอย่างสูงสุด
  ทั้งนี้ กับผลงานแกะสลักช้างนั้น นอกจากฝี มือการแกะแล้วก็จาเป็ นต้องมีองค์ประกอบในเชิงช่าง ไม่ว่าจะ
 เป็ นเครื่ องมือที่หลัก ๆ ก็มี... สิ่วหมัก (สิ่วตัว V) มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้สลักนาเส้นตามแบบงานและใช้
      แต่งลายเส้นต่าง ๆ, สิ่วแบน มีหลายขนาด ทั้งใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ถาก ย้าเส้นต่าง ๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่
ต้องการออก, สิ่วแกะ (สิ่วตัว U) ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้แกะ ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน
                    ค้อนใช้ตอกสิ่ว ทาด้วยไม้เนื้อแข็งมีดามจับ มีหลายขนาดและหลายน้ าหนัก
                                                              ้
บ้านถวาย




                                     ชุดโต๊ะเก้ าอีไม้
                                                   ้

                                                  ่
วัสดุ : ทาจากไม้จามจุรี ทนแดด ทนฝน สามารถตั้งอยูพ้ืนที่กลางแจ้งได้ โดยไม่เสี ยหายผุพง
                                                                                    ั
ราคา : โต๊ะและเก้าอี้ ขายเป็ นชุด ชุดละ 15000 บาท
การใช้ งาน : สามารถใช้ในงานภูมิทศน์กลางแจ้งได้ จัดวางเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของสวนที่มีที่
                                     ั
พักผ่อน ประดับสวนที่มีพรรณไม้ร่มรื่ น
บ้านเหมืองกุง




                                             โอ่ ง
วัสดุ : ทาจากเครื่ องปั้นดินเผาแต่ทาลายโอ่งให้แตก เหมือนโอ่งหิ น ทาสี
ราคา : 850 บาท
การใช้ งาน : สามารถใช้ในงานภูมิทศน์กลางแจ้งได้ เป็ นโอ่งน้ าใส่พรรณไม้ เช่น กก หรื อไป
                                    ั
ตกแต่งตามที่ต่างๆของสวน จัดวางเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของสวน ประดับสวนที่มีพรรณไม้ร่ม
รื่ น




                             นางสาวสิริจนทร์ องค์การ รหัส 5219101330 สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์
                                        ั                                              ั

More Related Content

More from PN17

Doc3
Doc3Doc3
Doc3PN17
 
Ddd
DddDdd
DddPN17
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรPN17
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจPN17
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงPN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมPN17
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์PN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หินPN17
 

More from PN17 (13)

Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
Ddd
DddDdd
Ddd
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หิน
 

ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ

  • 1. บ้านจ๊างนัก ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะศิลปิ น ดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม ที่อยู่ "บ้านจ๊างนัก" บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผลงานของสล่าเพชรทาจาหน่ายในนาม "บ้านจ๊างนัก” ซึ่งเขาเป็ นหัวเรื อใหญ่ในการรวบรวมช่างฝี มือใน ท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือกให้เป็ นสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้าจากชุมชนแห่งนี้กระจายไปอยูทวโลก ่ ั่ กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่ องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรี ยนรู้การแกะสลักไม้รูปช้าง กับ ครู คาอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่ วมรุ่ นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทางานแกะสลักไม้ตาม สถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่ นที่รักความท้าทาย หลังจากเป็ นหนุ่มพเนจรอยูหลายปี จึงหวนคืนสู่บาน ่ ้ เกิดที่สนกาแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทามาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์ 5- ั 6 คน ก่อตัวเป็ นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริ งจาหน่าย จนมีผลงานออกมาเป็ นที่รู้จกของคนทัวไปั ่ "ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ตูนชื่อดัง เป็ นผูต้งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษา ้ั ถิ่นความหมายว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้บานจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่งเป็ นญาติ ้ ่ ้ พี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคนหนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้น" สล่าเพชร เล่าความ สาหรับวัตถุดิบสาคัญคือ "ไม้" ้ ้ ใช้ได้ท้งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทากันมาโดยตลอดคือ ไม้สก ซึ่งเป็ นไม้เนื้อ ั ั ละเอียดง่ายต่อการนามาแกะสลักเป็ นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์ หรื อต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หา ยาก และราคาสูง จึงเลือกใช้ไม้ข้ ีเหล็ก ไม้ฉาฉา และไม้ขนุน ซึ่งในอดีตเป็ นเพียงไม้ทาฟื นของชาวบ้าน เท่านั้นเครื่ องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่วหมัก หรื อ สิ่วตัววี (V) ใช้สลักนาเส้นตามแบบงานและใช้แต่งลายเส้น ต่างๆ สิ่วแบน ใช้ถากย้าเส้นต่างๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่ตองการออก สิ่วแกะ หรื อ สิ่วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ ้ และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน และ ค้อน อุปกรณ์ที่ตองใช้ตอกสิ่ววิธีแกะสลัก ร่ างแบบงานบนกระดาษ ้ แข็ง แล้วนามาทาบกับไม้ที่เตรี ยมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ตองการออกให้เหลือแต่โครงสร้างตามแบบที่ร่าง ้ ไว้ ส่วนความเว้าก็แกะออกจนเป็ นรู ปร่ างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น ลาย ผิวหนัง หรื อลายกลีบดอกไม้ ขั้นตอนสุดท้าย ทาสีและขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทาจากผลมะเกลือ ขั้นตอน
  • 2. คือนาผลมะเกลือมาตา แล้วหมักกับน้ าปูนใส ก่อนใช้น้ าที่หมักทาผลงานให้เป็ นสีดา และทาซ้ าจนกระทังดา ่ จนพอใจ จึงนาไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัดกากของมะเกลือออก จะได้ชิ้นงานสีดาเทาดูเป็ น ธรรมชาติท้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็ นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้าน ั ศิลปวัฒนธรรมท้องถินที่สาคัญของ อ.สันกาแพง ช้างที่เขาแกะสลักตอนแรกนั้นสัดส่วนยังไม่ค่อยดีนก ่ ั เพราะรู้จกช้างแค่เท่า ๆ กับชาวบ้านทัวไป เมื่อได้คนสอน แนะนาให้ลองไปศึกษาช้างจริ ง ๆ จึงรู้จกช้างมาก ั ่ ั ขึ้น จนทาให้สามารถพัฒนาผลงานการแกะสลักช้างออกมาได้สดส่วนเหมือนจริ ง มีอิริยาบถต่าง ๆ และเป็ น ั แบบฉบับของตัวเองมากขึ้น” “บ้านจ๊างนัก” ที่แปลว่าบ้านมีชางมากมาย จึงใช้ชื่อนี้เป็ นชื่อบ้าน-ชื่อกลุ่ม ้ แกะสลักเรื่ อยมา “ผลงานที่ผมทาออกมาเป็ นสิ่งที่ภูมิใจทุกชิ้น เพราะผลงานทุกชิ้นที่ทาออกมานั้นเกิดจาก การที่เราตั้งใจ ใส่ใจที่จะสร้างสรรค์ออกมา แต่ถาพูดถึงงานที่สร้างความท้าทายที่สุดชิ้นแรกก็เห็นจะเป็ นการ ้ แกะสลักช้างไม้ที่ใหญ่เท่าตัวจริ งที่สุด” “งานแกะสลักช้างนี่ก็คงจะทาไปเรื่ อย ๆ เพราะเป็ นงานที่รักและชอบที่จะทาตรงนี้ แล้วยังถือว่าเป็ นหน้าที่ ปัจจุบนนี้การแกะสลักช้างให้ผคนได้ชื่นชมชื่นชอบไม่ใช่จิตวิญญาณที่แท้จริ ง แต่ในความเป็ นจริ งคืออยากที่ ั ู้ จะสะท้อนให้คนไทยทุกคนหันมาให้ความสนใจในเผ่าพันธุของช้างอย่างจริ งจัง อยากให้มีการอนุรักษ์ให้ ์ ช้างอยูคู่กบบ้านเมืองเราไปตราบนานเท่านาน สิ่งนี้มนเป็ นสาระสาคัญของผลงานที่ผมทาออกมาทั้งหมด...” ่ ั ั ก่อนจะเป็ น “ช้างแกะสลัก” “เสกสรรค์งานศิลป์ ถิ่นล้านนา สืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้างไทย” นี่เป็ นคา จากัดความหนึ่งของ “บ้านจ๊างนัก” ศูนย์รวมกลุ่มสล่า-ช่างแกะสลักช้างหลายสิบชีวิต ที่นาโดย “สล่าเพชร” ซึ่งการแกะสลักช้างของกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนักเป็ นทั้งการสืบสานต่อศิลปะวิธีการแกะสลักช้างที่ทาสืบทอด กันมาเป็ นเวลายาวนานใน จ.เชียงใหม่ เป็ นการสร้างรายได้ให้กบคนในท้องถิ่นและช่วยสร้างฝี มือไว้แก่คน ั รุ่ นหลังไม่ให้สูญหาย อีกทั้งยังเป็ นการนาวัตถุดิบไม้ที่หาได้ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เพิ่มพูนอย่างสูงสุด ทั้งนี้ กับผลงานแกะสลักช้างนั้น นอกจากฝี มือการแกะแล้วก็จาเป็ นต้องมีองค์ประกอบในเชิงช่าง ไม่ว่าจะ เป็ นเครื่ องมือที่หลัก ๆ ก็มี... สิ่วหมัก (สิ่วตัว V) มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้สลักนาเส้นตามแบบงานและใช้ แต่งลายเส้นต่าง ๆ, สิ่วแบน มีหลายขนาด ทั้งใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ถาก ย้าเส้นต่าง ๆ และตัดไม้ส่วนที่ไม่ ต้องการออก, สิ่วแกะ (สิ่วตัว U) ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้แกะ ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน ค้อนใช้ตอกสิ่ว ทาด้วยไม้เนื้อแข็งมีดามจับ มีหลายขนาดและหลายน้ าหนัก ้
  • 3. บ้านถวาย ชุดโต๊ะเก้ าอีไม้ ้ ่ วัสดุ : ทาจากไม้จามจุรี ทนแดด ทนฝน สามารถตั้งอยูพ้ืนที่กลางแจ้งได้ โดยไม่เสี ยหายผุพง ั ราคา : โต๊ะและเก้าอี้ ขายเป็ นชุด ชุดละ 15000 บาท การใช้ งาน : สามารถใช้ในงานภูมิทศน์กลางแจ้งได้ จัดวางเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของสวนที่มีที่ ั พักผ่อน ประดับสวนที่มีพรรณไม้ร่มรื่ น
  • 4. บ้านเหมืองกุง โอ่ ง วัสดุ : ทาจากเครื่ องปั้นดินเผาแต่ทาลายโอ่งให้แตก เหมือนโอ่งหิ น ทาสี ราคา : 850 บาท การใช้ งาน : สามารถใช้ในงานภูมิทศน์กลางแจ้งได้ เป็ นโอ่งน้ าใส่พรรณไม้ เช่น กก หรื อไป ั ตกแต่งตามที่ต่างๆของสวน จัดวางเป็ นองค์ประกอบหนึ่งของสวน ประดับสวนที่มีพรรณไม้ร่ม รื่ น นางสาวสิริจนทร์ องค์การ รหัส 5219101330 สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์ ั ั