SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
*
*
"เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้
ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน
ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ
เคยอ่านหนังสือ ทาได้..."

พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
*เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราช
 ดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่
 ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ
 พระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain)
 ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการ
 ค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงาน
 ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสาเร็จ
 ของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝน
 หลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็น
 หน่วยงานรองรับโครงการพระราชดาริฝนหลวงต่อไป
* วิธีการทาฝนหลวง
 1. เทคโนโลยีฝนหลวง
* เทคโนโลยีฝนหลวงเป็นเทคนิค หรือ วิชาการที่เกี่ยวกับการดัดแปลง
 สภาพอากาศ โดยเน้นการทาฝน เพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก
*(Rain enhancement) และ/หรือ เพื่อให้ฝนตกกระจายอย่าง
 สม่าเสมอ (Rain redistribution) สาหรับป้องกันหรือบรรเทา
 ภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนั้น เป็นวิชาการที่ใหม่สาหรับ
 ประเทศไทยและของโลก ในระยะแรกเริ่มของการทดลองและวิจัย กรรมวิธี
 การปฏิบัติการฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงติดตามผล
 การวางแผนการทดลองปฏิบัติการ การสังเกตจากรายงานแทบทุกครั้งโดย
 ใกล้ชิด ทรงหาความรู้และประสบการณ์จากนักวิชาการที่ทรงคุณวุฒิทางด้าน
 อุตุนิยมวิทยา
*ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อเมฆ
*       เป็นการดัดแปรสภาพอากาศเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิดเมฆ
 โดยการโปรยสารเคมีผลละเอียดของเกลือโซเดียมคลอไรด์
 (NaCl) ที่ระดับความสูง 7,000 ฟุต ในท้องฟ้าโปร่งใสที่มี
 ความชื้นสัมพัทธ์ไม่น้อยกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ผงของเกลือโซเดียม
 คลอไรด์ ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ดี จะทาหน้าที่เสริม
 ประสิทธิภาพของแกนกลั่นตัวในบรรยากาศ (Cloud
 Condensation Nuclei) เรียกย่อว่า CCN ทาให้
 กระบวนการดูดซับความชื้นในอากาศให้กลายเป็นเม็ดน้าเกิดเร็วขึ้น
 กว่าธรรมชาติ และเกิดกลุ่มเมฆจานวนมาก ซึ่งเมฆเหล่านี้จะ
 พัฒนาเป็นเมฆก้อนใหญ่ในเวลาต่อมา
*ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อ้วน
      เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งหรือเสริมการเพิ่มขนาดของเมฆและ
ขนาดของเม็ดน้าในก้อนเมฆ จะปฏิบัติการเมื่อเมฆที่ก่อตัวจากขั้นตอนที่ 1 หรือ
เมฆเดิมที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ก่อยอดสูงถึงระดับ 10,000 ฟุต โดยการโปรย
สารเคมีผลแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เข้าไปในกลุ่มเมฆที่ระดับ 8,000 ฟุต
ผงแคลเซี่ยมคลอไรด์ซึ่งมีคุณสม
*บัติดูดความชื้นได้ดี จะดูดซับความชื้นและเม็ดน้าขนาดเล็กในก้อนเมฆให้
 กลายเป็นเม็ดน้าขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อน ซึ่ง
 เป็นคุณสมบัติเฉพาะของสารแคลเซี่ยมคลอไรด์เมื่อละลายน้า ความร้อนที่
 เกิดขึ้นจะเพิ่มอัตราเร็วของกระแสอากาศไหล
*ขั้นตอนที่สาม : โจมตี
*         เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งให้เมฆเกิดเป็นฝน ซึ่ง
 สามารถกระทาได้ 3 วิธี ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเมฆ และชนิด
 ของเครื่องบินที่มีอยู่ ดังนี้ วิธที่ 1 "โจมตีเมฆอุ่น แบบแซนด์วิช"
                                  ี
* ถ้าเป็นเมฆอุ่น เมื่อเมฆแก่ตัว ยอดเมฆจะอยู่ที่ระดับ
 10,000 ฟุต หรือสูงกว่าเล็กน้อย และเคลื่อนตัวเข้าสู่พื้นที่
 เป้าหมาย จะทาการโจมตีโดยวิธี Sandwich คือ ใช้เครื่อง
 บิน 2 เครื่อง เครื่องหนึ่งโปรยผงโซเดียมคลอไรด์ (Nacl) ทับ
 ยอดเมฆ หรือไหล่เมฆที่ระดับ 9,000 ฟุต หรือ ไม่เกิน 10,000
 ฟุต อีกเครื่องหนึ่งโปรยผงยูเรีย (Urea) ที่ฐานเมฆ ทามุมเยื้อง
 กัน 45 องศา เมฆจะเริ่มตกเป็นฝนลงสู่พื้นดิน
*วิธีที่ 2 "โจมตีเมฆเย็น แบบธรรมดา"

*       ถ้าเป็นเมฆเย็นและมีเครื่องบินเมฆเย็นเพียงเครื่องเดียว เมื่อเมฆ
 เย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทาการโจมตีโดย
 การยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ยอดเมฆ ที่ระดับความ
 สูงประมาณ 21,500 ฟุต ซึ่งมีอุณหภูมิระหว่าง -8 ถึง 12 องศา
 เซลเซียส มีกระแสอากาศไหลขึ้นสูงกว่า 1,000 ฟุตต่อนาที และมี
 ปริมาณน้าเย็นจัดไม่ตากว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นเงื่อนไข
 เหมาะสม อนุภาคของสาร Agl จะทาหน้าที่เป็นแกนเยือกแข็ง (Ice
 Nuclei)
*วิธีที่ 3 "โจมตีเมฆเย็น แบบซูเปอร์แซนด์วิช"

*       หากเป็นเมฆเย็น และมีเครื่องบินครบทั้งชนิดเมฆอุ่นและเมฆเย็น เมื่อ
 เมฆเย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทาการโจมตีโดย
 การผสมผสานวิธีที่ 1 และ 2 ในเวลาเดียวกัน กล่าวคือ เครื่องบินเมฆเย็นจะ
 ยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ยอดเมฆ ที่ระดับความสูง
 ประมาณ 21,500 ฟุต ส่วนเครื่องบินเมฆอุ่น 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมี
 โซเดียมคลอไรด์ที่ระดับไหล่เมฆ (ประมาณ 9,000 - 10,000 ฟุต) และ
 เครื่องบินเมฆอุ่นอีก 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมีผงยูเรียที่ระดับชิดฐานเมฆ ทา
 มุมเยื้องกัน 45 องศา วิธีการนี้จะทาให้ประสิทธิภาพในการเพิ่มปริมาณน้าฝน
 สูงยิ่งขึ้น และเทคนี้โปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า SUPER
 SANDWICH
*ขั้นตอนที่สี่ : เพิ่มฝน

*          การโจมตีเมฆในขั้นตอนที่ 3 ทั้งสามวิธี อาจจะทาให้ฝนใกล้
 จะตกหรือเริ่มตกแล้ว ขั้นตอนที่ 4 นี้ จะเร่งการตกของฝนและเพิ่ม
 ปริมาณน้าโดยการโปรยเกล็ดน้าแข้งแห้ง (Dry ice) ที่ระดับใต้
 ฐานเมฆประมาณ 1,000 ฟุต เกล็ดน้าแข็งแห้งซึ่งมีอุณหภูมิต่าถึง -
 78 องศาเซลเซียส จะปรับอุณหภูมิของบรรยากาศระหว่างฐานเมฆ
 กับพื้นดินให้เย็นลง ทาให้ฐานเมฆยิ่งลดระดับต่าลง ฝนจะตกในทันที
 หรือที่ตกอยู่แล้ว จะมีอัตราการตกของฝนสูงขึ้น ลดอัตราการระเหย
 ของเม็ดฝนขณะล่วงหล่นลงสู่พื้นดิน และทาให้ฝนตกต่อเนื่องเป็น
 เวลานานขึ้นและหนาแน่นยิ่งขึ้น

More Related Content

What's hot

New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNattanaree
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eveaeef
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงField_28178
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 

What's hot (11)

New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
SMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวงSMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 

โครงการฝนหลวง

  • 1. *
  • 2. * "เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ เคยอ่านหนังสือ ทาได้..." พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
  • 3. *เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราช ดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการ ค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสาเร็จ ของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสานักงานปฏิบัติการฝน หลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็น หน่วยงานรองรับโครงการพระราชดาริฝนหลวงต่อไป
  • 4. * วิธีการทาฝนหลวง 1. เทคโนโลยีฝนหลวง * เทคโนโลยีฝนหลวงเป็นเทคนิค หรือ วิชาการที่เกี่ยวกับการดัดแปลง สภาพอากาศ โดยเน้นการทาฝน เพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก *(Rain enhancement) และ/หรือ เพื่อให้ฝนตกกระจายอย่าง สม่าเสมอ (Rain redistribution) สาหรับป้องกันหรือบรรเทา ภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนั้น เป็นวิชาการที่ใหม่สาหรับ ประเทศไทยและของโลก ในระยะแรกเริ่มของการทดลองและวิจัย กรรมวิธี การปฏิบัติการฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงติดตามผล การวางแผนการทดลองปฏิบัติการ การสังเกตจากรายงานแทบทุกครั้งโดย ใกล้ชิด ทรงหาความรู้และประสบการณ์จากนักวิชาการที่ทรงคุณวุฒิทางด้าน อุตุนิยมวิทยา
  • 5. *ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อเมฆ * เป็นการดัดแปรสภาพอากาศเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิดเมฆ โดยการโปรยสารเคมีผลละเอียดของเกลือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ที่ระดับความสูง 7,000 ฟุต ในท้องฟ้าโปร่งใสที่มี ความชื้นสัมพัทธ์ไม่น้อยกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ผงของเกลือโซเดียม คลอไรด์ ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ดี จะทาหน้าที่เสริม ประสิทธิภาพของแกนกลั่นตัวในบรรยากาศ (Cloud Condensation Nuclei) เรียกย่อว่า CCN ทาให้ กระบวนการดูดซับความชื้นในอากาศให้กลายเป็นเม็ดน้าเกิดเร็วขึ้น กว่าธรรมชาติ และเกิดกลุ่มเมฆจานวนมาก ซึ่งเมฆเหล่านี้จะ พัฒนาเป็นเมฆก้อนใหญ่ในเวลาต่อมา
  • 6. *ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อ้วน เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งหรือเสริมการเพิ่มขนาดของเมฆและ ขนาดของเม็ดน้าในก้อนเมฆ จะปฏิบัติการเมื่อเมฆที่ก่อตัวจากขั้นตอนที่ 1 หรือ เมฆเดิมที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ก่อยอดสูงถึงระดับ 10,000 ฟุต โดยการโปรย สารเคมีผลแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เข้าไปในกลุ่มเมฆที่ระดับ 8,000 ฟุต ผงแคลเซี่ยมคลอไรด์ซึ่งมีคุณสม *บัติดูดความชื้นได้ดี จะดูดซับความชื้นและเม็ดน้าขนาดเล็กในก้อนเมฆให้ กลายเป็นเม็ดน้าขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อน ซึ่ง เป็นคุณสมบัติเฉพาะของสารแคลเซี่ยมคลอไรด์เมื่อละลายน้า ความร้อนที่ เกิดขึ้นจะเพิ่มอัตราเร็วของกระแสอากาศไหล
  • 7. *ขั้นตอนที่สาม : โจมตี * เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งให้เมฆเกิดเป็นฝน ซึ่ง สามารถกระทาได้ 3 วิธี ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเมฆ และชนิด ของเครื่องบินที่มีอยู่ ดังนี้ วิธที่ 1 "โจมตีเมฆอุ่น แบบแซนด์วิช" ี * ถ้าเป็นเมฆอุ่น เมื่อเมฆแก่ตัว ยอดเมฆจะอยู่ที่ระดับ 10,000 ฟุต หรือสูงกว่าเล็กน้อย และเคลื่อนตัวเข้าสู่พื้นที่ เป้าหมาย จะทาการโจมตีโดยวิธี Sandwich คือ ใช้เครื่อง บิน 2 เครื่อง เครื่องหนึ่งโปรยผงโซเดียมคลอไรด์ (Nacl) ทับ ยอดเมฆ หรือไหล่เมฆที่ระดับ 9,000 ฟุต หรือ ไม่เกิน 10,000 ฟุต อีกเครื่องหนึ่งโปรยผงยูเรีย (Urea) ที่ฐานเมฆ ทามุมเยื้อง กัน 45 องศา เมฆจะเริ่มตกเป็นฝนลงสู่พื้นดิน
  • 8. *วิธีที่ 2 "โจมตีเมฆเย็น แบบธรรมดา" * ถ้าเป็นเมฆเย็นและมีเครื่องบินเมฆเย็นเพียงเครื่องเดียว เมื่อเมฆ เย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทาการโจมตีโดย การยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ยอดเมฆ ที่ระดับความ สูงประมาณ 21,500 ฟุต ซึ่งมีอุณหภูมิระหว่าง -8 ถึง 12 องศา เซลเซียส มีกระแสอากาศไหลขึ้นสูงกว่า 1,000 ฟุตต่อนาที และมี ปริมาณน้าเย็นจัดไม่ตากว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นเงื่อนไข เหมาะสม อนุภาคของสาร Agl จะทาหน้าที่เป็นแกนเยือกแข็ง (Ice Nuclei)
  • 9. *วิธีที่ 3 "โจมตีเมฆเย็น แบบซูเปอร์แซนด์วิช" * หากเป็นเมฆเย็น และมีเครื่องบินครบทั้งชนิดเมฆอุ่นและเมฆเย็น เมื่อ เมฆเย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทาการโจมตีโดย การผสมผสานวิธีที่ 1 และ 2 ในเวลาเดียวกัน กล่าวคือ เครื่องบินเมฆเย็นจะ ยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ยอดเมฆ ที่ระดับความสูง ประมาณ 21,500 ฟุต ส่วนเครื่องบินเมฆอุ่น 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมี โซเดียมคลอไรด์ที่ระดับไหล่เมฆ (ประมาณ 9,000 - 10,000 ฟุต) และ เครื่องบินเมฆอุ่นอีก 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมีผงยูเรียที่ระดับชิดฐานเมฆ ทา มุมเยื้องกัน 45 องศา วิธีการนี้จะทาให้ประสิทธิภาพในการเพิ่มปริมาณน้าฝน สูงยิ่งขึ้น และเทคนี้โปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า SUPER SANDWICH
  • 10. *ขั้นตอนที่สี่ : เพิ่มฝน * การโจมตีเมฆในขั้นตอนที่ 3 ทั้งสามวิธี อาจจะทาให้ฝนใกล้ จะตกหรือเริ่มตกแล้ว ขั้นตอนที่ 4 นี้ จะเร่งการตกของฝนและเพิ่ม ปริมาณน้าโดยการโปรยเกล็ดน้าแข้งแห้ง (Dry ice) ที่ระดับใต้ ฐานเมฆประมาณ 1,000 ฟุต เกล็ดน้าแข็งแห้งซึ่งมีอุณหภูมิต่าถึง - 78 องศาเซลเซียส จะปรับอุณหภูมิของบรรยากาศระหว่างฐานเมฆ กับพื้นดินให้เย็นลง ทาให้ฐานเมฆยิ่งลดระดับต่าลง ฝนจะตกในทันที หรือที่ตกอยู่แล้ว จะมีอัตราการตกของฝนสูงขึ้น ลดอัตราการระเหย ของเม็ดฝนขณะล่วงหล่นลงสู่พื้นดิน และทาให้ฝนตกต่อเนื่องเป็น เวลานานขึ้นและหนาแน่นยิ่งขึ้น