SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 4 วิเคราะห์สังเคราะห์ เพื่อหาคำจำกัดความและความหมาย โดย นาย วราวัฒน์  โสภารัตน์   523050252-1 นาย สรยุทธ    เดือนฉาย   523050257-7
1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ SDLC คือวงจรการพัฒนาระบบซอฟแวร์เพื่อใช้สำหรับวางแผนงานในธุรกิจต่างๆ มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน  1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition)  2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)  3. วิเคราะห์ (Analysis)  4. ออกแบบ (Design)  5. สร้าง หรือพัฒนา (Construction)  6. การติดตั้งหรือการปรับเปลี่ยน (Installation, Conversion)  7. บำรุงรักษา (Maintenance)
1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ    โดยขั้นตอนที่สำคัญๆ จะมีอยู่ 4 ขั้นตอน คือ ด้านการวางแผน (Planning Phase)   ด้านการวิเคราะห์ (Analysis Phase)   ด้านการออกแบบ (Design Phase)   ด้านการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)ตัวอย่าง การวางแผนระบบเครือข่ายของโทรศัพท์ 1. เข้าใจปัญหา  (Problem Recognition)  วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ที่ใช้ระบบเครือข่ายของบริษัทและวิเคราะห์ผู้ใช้ของบริษัทอื่นเพื่อหาสาเหตุว่าทำไมถึงเลือกใช้ของอีกบริษัท
1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)  ทดลองให้กลุ่มตัวอย่างใช้ และดูผลตอบรับว่าดีมากน้อยเพียงใด  3. วิเคราะห์ (Analysis)  รอผล  feedback กลับมา ถ้าผู้ใช้ยังไม่ค่อยพึงพอใจ ควรวิเคราะห์ไหม่ ถ้าพึงพอใจแล้ว ก็อาจจะเสริมอะไรที่บริษัทคิดว่าน่าจะทำได้เข้าไป 4. ออกแบบ (Design)  เริ่มออกแบบวางแผนระบบให้ครอบคลุมและได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการหรือตามที่บริษัทได้ตั้งเป้าหมายไว้
1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ 5. สร้าง หรือพัฒนา (Construction)  เริ่มการสร้างโปรแกรมาขึ้นมา 6. การติดตั้งหรือการปรับเปลี่ยน (Installation, Conversion)  เริ่มให้ผู้ใช้ได้ลองใช้จริง 7. บำรุงรักษา (Maintenance) ตรวจสอบข้อผิดพลาดหลังจากที่ผู้ใช้ได้ลองใช้และปรับปรุงข้อผิดพลาด
2. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาะระบบ (Tools) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างและภาพประกอบให้มากที่สุด  เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ คือ เครื่องมือที่นำมาใช้งาน หรือนำมาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวนี้ จะช่วยให้การพัฒนาระบบสารสนเทศนั้นมีความรวดเร็วและมีคุณภาพยิ่งขึ้น
 ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 1. เครื่องมือสร้างแผนภาพหรือไดอะแกรม 	เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวาดไดอะแกรมหรือแบบจำลองระบบ (System Model) ตามที่ต้องการ หรือใช้สำหรับสร้างแบบจำลองตามกรรมวิธีของการพัฒนาระบบ (System Development Methodologies) ซึ่งแบบจำลองที่วาดนั้นสามารถลิงก์ไปยังแบบจำลองอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น แผนภาพ UML Diagram, Data Flow Diagram หรือ ER Diagram เป็นต้น 2. เครื่องมือจัดทำคำอธิบาย เป็นเครื่องมือที่ใช้บันทึกคำอธิบายและรายละเอียดของระบบ ซึ่งมักใช้งานเพื่อประกอบคำอธิบายของแบบจำลองหรือไดอะแกรมที่สร้างขึ้นในขณะนั้น
 ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 3. เครื่องมือสร้างหรือจัดทำต้นแบบ	เป็นเครื่องมือในการสร้างส่วนประกอบของระบบ ซึ่งประกอบไปด้วยอินพุตและเอาต์พุต โดยอินพุตและเอาต์พุตเหล่านี้สามารถนำไปรวมเข้ากับแบบจำลองระบบ และคำอธิบายรายละเอียดระบบทั้งสองได้  4. เครื่องมือจัดการด้านคุณภาพ 	เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวิเคราะห์แบบจำลอง คำอธิบายรายละเอียด และต้นแบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ ความถูกต้องตรงกัน เพื่อเป็นไปตามกรรมวิธีที่ถูกต้องและยอมรับ 
 ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 5. เครื่องมือจัดทำเอกสาร 	เป็นเครื่องมือที่ทำการรวบรวม และจัดทำเอกสารในรูปของรายงานของแบบจำลองระบบ คำอธิบายรายละเอียด และระบบต้นแบบ เพื่อให้สามารถนำเอกสารรายงานเหล่านี้ไปเสนอแก่เจ้าของระบบ ผู้ใช้งาน นักออกแบบ หรือนักพัฒนา  6. เครื่องมือการออกแบบและแปลรหัส 	เป็นเครื่องมือในการแปลงหรือการ Generate โดยอัตโนมัติ เช่น ได้ทำการออกแบบแผนภาพ ER ไดอะแกรม และให้ทำการแปลงเป็นฐานข้อมูลตามที่ต้องการโดยอัตโนมัติ และรวมถึงการแปลงโมเดลให้เป็นรหัสโปรแกรม เป็นต้น
3. แบบจำลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างและภาพประกอบให้มากที่สุด 	แบบจำลอง (Model) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการจำลองข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบจำลองข้อมูล (Data Model) หรือขั้นตอนการทำงานของระบบ (Process Model) ได้แก่ 	Context Diagram 	Flowchart 	E-R Diagram 	Report 	Form Source Code
Flowchart Structure Chart Data Flow Diagram (DFD) Use Case Diagram Class Diagram Entity Relationship Diagram (ERD)
Sequence Diagram Organization Hierarchy Chart PERT Chart
4. สร้างตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และOOD&D
4. สร้างตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D
4. สร้างตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D
5. UML คืออะไร และ CASE TOOL คืออะไร UML (Unified Modeling Language) เป็น graphical notation มาตรฐานที่กำหนดโดย Object Management Group (OMG) ที่ใช้ในการโมเดลระบบ โดยประกอบไปด้วยไดอะแกรมในสามหมวดหลัก คือ 1. ไดอะแกรมที่แสดงโครงสร้างโปรแกรม ได้แก่ Class Diagram, Object Diagram, Component Diagram, and Deployment Diagram2. ไดอะแกรมที่แสดงพฤติกรรมระบบ ได้แก่ Use Case Diagram, Sequence Diagram, Activity Diagram, Collaboration Diagram, and Statechart Diagram3. ไดอะแกรมที่แสดงการจัดการโมเดล ได้แก่ Packages, Subsystems, and Models UMLไม่สามารถทำ การสร้างโปรแกรมได้ (Code Generation) แต่ทว่าผลพวงภายหลังจากการออกแบบมีรูปแบบหรือหน้าตาที่โปรแกรมเมอร์สามารถที่จะดำ เนินการพัฒนาโปรแกรม (Coding) ได้อย่างเร็วและง่ายดายมากUML มององค์ประกอบต่างๆ ของซอฟต์แวร์ที่จะทำ การพัฒนาขึ้นมาในรูปของออบเจ็คต์ (Object) และออบเจ็คต์แต่ละตัวนั้นมีความเกี่ยวข้องกันโดยอาศัยความสัมพันธ์(Relationships) เป็นตัวเชื่อมโยง อีกทั้งออบเจ็คต์เหล่านั้นสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ การติดต่อสื่อสารกันระหว่างออบเจ็คต์นี้เองเป็นกลไกภายในซอฟต์แวร์ที่ทำ ให้ซอฟต์แวร์ทำ งานตามที่ผู้ใช้ต้องการได้จากการมองซอฟต์แวร์เป็นออบเจ็คต์ นี่เองUML จึงช่วยให้การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object-Oriented Programming) เป็นไปได้ง่ายเพราะการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุก็มององค์ประกอบของซอฟต์แวร์เป็นออบเจ็คต์เช่นเดียวกัน
5. UML คืออะไร และ CASE TOOL คืออะไร CASE TOOL เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ  ซึ่งมีความสามารถหลัก ๆ   คือ  ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA)  ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ   เช่น  ใช้สร้างแผนภาพบริบท (Context)    แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow diagram)  ออกแบบเชิง UML  หรือแผนภาพต่าง ๆ  ( Diagram)  ที่เกี่ยวข้อง  นอกจากนี้ CASE Tools  ยังมีความสามารถในการใช้พัฒนาระบบและช่วยในการจัดการงาน  ถ้า CASE Tools  ที่มีความสามารถ Upper CASE  จะช่วย  SA  ในการวิเคราะห์ระบบ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน    Planning, Analysis  และ  Design   ตามกระบวนการ SDLC    ส่วน  CASE  Tools  ที่มีความสามารถ  Lower CASE  จะช่วยในการวาดแผนภาพ (manages diagrams)  และสร้างโปรแกรม  (code generation)  ซึ่งอยู่ระหว่างการทำงานในขั้นตอน Design   และ  Implementation ของกระบวนการ SDLC  นอกจากนี้ยังมี  CASE Tools  บางชนิดที่รวมความสามารถ Upper CASE   และ  Lower CASE  ไว้ด้วยกัน  งานวิเคราะห์และออกแบบจัดว่าเป็นงานที่น่าเบื่อ  สามารถใช้  CASE  tools  เป็นเครื่องมือช่วยในการประหยัดแรงและย่นระยะเวลาการทำงานให้เร็วขึ้น  เนื่องจากเป็นเครื่องมือช่วยในการออกแบบพัฒนาระบบทั่ว ๆ ไป และจัดเป็นเครื่องมือด้าน IT และที่มี Function  การใช้งานเพียบพร้อม
6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case 		Upper-CASE 1. Rational Rose : ใช้สำหรับวาด UML  Design  for  OO(Object Oriented)  และ  generate code 2.Visible Analyst:  ใช้สำหรับวาด Context Diagram และ Data flow diagram 3. Visual Studio : ทำออกแบบและสร้าง  web 4. Paradigm  Plus  5. Oracle  Enterprise  Development Suite 6. Logic Works Suite 7. AxiomSysand AxiomDsn 8. V32 & X32
6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case Lower-CASE 1.phpMyAdmin 3.4.3.2 เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาโดยใช้ภาษา PHP เพื่อใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล Mysqlแทนการคีย์คำสั่ง 2.TopStyle 4.0.0.91   เป็นซอฟท์แวร์ช่วยเขียนเว็บไซต์ให้ตรงตามมาตราฐานเว็บ 3.Notepad++ 5.9.3 คือโปรแกรม text editor ที่ดีที่สุด ด้วยความสามารถที่เทียบเท่าและดีกว่าโปรแกรม Edit plus ที่นักพัฒนาทุกคนเคยใช้มาในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการแก้ไข source code ซึ่งรองรับ syntax ในรูปแบบโปรแกรมได้หลากหลาย หรือแม้แต่กระทั่งจะนำมาใช้แทนโปรแกรม Notepad แบบธรรมดาในโปรแกรม windows ก็สามารถทำได้เลย 4.Wireshark 1.6.1 (32-bit)   เป็นโปรแกรมจำพวก packet sniffer ชนิดหนึ่งซึ่งประกอบไปด้วยส่วนของ Packet Capture และ Packet Analyzer โดยทำหน้าที่ในการวิเคราะห์ระบบ Network โดย Wiresharkนั้นสามารถทำงานได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ Linux, window และ OSX สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลบนเครือข่ายได้หลากหลายรูปแบบ และที่สำคัญ Wiresharkนั้นเป็นซอฟต์แวร์แบบ Open Source  
6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case Lower-CASE 5. VirtualBox 4.0.12.72916 คือโปรแกรมจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่อง ไว้ในเครื่องคอมที่เราใช้งานอยู่ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) นั่นเอง VirtualBoxช่วยให้นักพัฒนาสามารถทดลองติดตั้งและทดสอบระบบปฎิบัติการ โปรแกรมนี้เป็นโอเพ่นซอร์ด (Opensource) ที่ใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 6. Python 3.2.1  คือชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งที่มีความสามารถสูง ไม่แพ้ภาษาอื่นๆ ที่มีอยู่ในตอนนี้ Python นั้นเป็นภาษาที่ Open Source ทำให้ทุกคนสามารถที่จะนำ Python มาพัฒนาโปรแกรมของเราได้ฟรีๆโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และความเป็น Open Source ทำให้มีคนเข้ามาช่วยกันพัฒนาให้ Python มีความสามารถสูงขึ้น และใช้งานได้ครบคุมกับทุกลักษณะงาน 7. TortoiseSVN 1.6.16 เป็นโปรแกรมใช้จัดการ subversion ที่เป็น Version Control System ใช้ควบคุม source code ของซอฟแวร์ การทำงานคล้ายกับ CVS หรือ Version Control ของ SourceForge.net แต่กำจัดจุดด้อยของ CVS ที่ใช้ TCP/IP port เฉพาะ (2401) ที่ไม่ใช่ 80 (HTTP) หรือ 443 (HTTPS) ที่ทำให้ผู้ใช้งานบางกลุ่มไม่สามารถใช้งานได้
7. จากการที่ศึกษา CASE มาท่านจะเลือกใช้ Tool โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด จากการที่ได้ศึกษา CASE มานั้น ข้าพเจ้าเลือกที่จะใช้ Business Process Reengineering  เป้าประสงค์ของการใช้เครื่องมือฯ นี้ ก็เพื่อลดต้นทุนและรอบเวลาผลิตโดยการขจัดกิจกรรมใด ๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และพนักงานผู้ที่สร้างกิจกรรมนั้น ๆ ขึ้นมา การจัดองค์กรแบบกลุ่มทำงานที่มีสมาชิกแบบข้ามสายงานจะทำให้ลดลำดับชั้นการบริหารลง ก่อให้เกิดการเร่งการไหลของสารสนเทศ ลดข้อผิดพลาดและการแก้ไขอันเกิดจากการส่งต่องาน และอีกอย่างก็ปรับปรุงคุณภาพโดยการลดงานที่กระจายการทำงานออกเป็นส่วนย่อย ๆ ก่อให้เกิดเจ้าของกระบวนการอย่างชัดเจน ผู้ทำงานสนองตอบต่อผลลัพธ์งานได้มากขึ้นและสามารถวัดประสิทธิภาพของเขาได้ชัดเจน

More Related Content

What's hot (17)

System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
SDLC
SDLCSDLC
SDLC
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Task004
Task004Task004
Task004
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 

Similar to Activitiy-4 (14)

work
workwork
work
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Ssadm
SsadmSsadm
Ssadm
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
Soft were
Soft wereSoft were
Soft were
 
com
comcom
com
 
Program Interface
Program Interface Program Interface
Program Interface
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 

Activitiy-4

  • 1. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 4 วิเคราะห์สังเคราะห์ เพื่อหาคำจำกัดความและความหมาย โดย นาย วราวัฒน์ โสภารัตน์ 523050252-1 นาย สรยุทธ เดือนฉาย 523050257-7
  • 2. 1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ SDLC คือวงจรการพัฒนาระบบซอฟแวร์เพื่อใช้สำหรับวางแผนงานในธุรกิจต่างๆ มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ (Analysis) 4. ออกแบบ (Design) 5. สร้าง หรือพัฒนา (Construction) 6. การติดตั้งหรือการปรับเปลี่ยน (Installation, Conversion) 7. บำรุงรักษา (Maintenance)
  • 3. 1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ โดยขั้นตอนที่สำคัญๆ จะมีอยู่ 4 ขั้นตอน คือ ด้านการวางแผน (Planning Phase) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis Phase) ด้านการออกแบบ (Design Phase) ด้านการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)ตัวอย่าง การวางแผนระบบเครือข่ายของโทรศัพท์ 1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ที่ใช้ระบบเครือข่ายของบริษัทและวิเคราะห์ผู้ใช้ของบริษัทอื่นเพื่อหาสาเหตุว่าทำไมถึงเลือกใช้ของอีกบริษัท
  • 4. 1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ทดลองให้กลุ่มตัวอย่างใช้ และดูผลตอบรับว่าดีมากน้อยเพียงใด 3. วิเคราะห์ (Analysis) รอผล feedback กลับมา ถ้าผู้ใช้ยังไม่ค่อยพึงพอใจ ควรวิเคราะห์ไหม่ ถ้าพึงพอใจแล้ว ก็อาจจะเสริมอะไรที่บริษัทคิดว่าน่าจะทำได้เข้าไป 4. ออกแบบ (Design) เริ่มออกแบบวางแผนระบบให้ครอบคลุมและได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการหรือตามที่บริษัทได้ตั้งเป้าหมายไว้
  • 5. 1. SDLC คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างที่สามารถอธิบายให้เข้าใจ 5. สร้าง หรือพัฒนา (Construction) เริ่มการสร้างโปรแกรมาขึ้นมา 6. การติดตั้งหรือการปรับเปลี่ยน (Installation, Conversion) เริ่มให้ผู้ใช้ได้ลองใช้จริง 7. บำรุงรักษา (Maintenance) ตรวจสอบข้อผิดพลาดหลังจากที่ผู้ใช้ได้ลองใช้และปรับปรุงข้อผิดพลาด
  • 6. 2. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาะระบบ (Tools) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างและภาพประกอบให้มากที่สุด เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ คือ เครื่องมือที่นำมาใช้งาน หรือนำมาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวนี้ จะช่วยให้การพัฒนาระบบสารสนเทศนั้นมีความรวดเร็วและมีคุณภาพยิ่งขึ้น
  • 7. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 1. เครื่องมือสร้างแผนภาพหรือไดอะแกรม  เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวาดไดอะแกรมหรือแบบจำลองระบบ (System Model) ตามที่ต้องการ หรือใช้สำหรับสร้างแบบจำลองตามกรรมวิธีของการพัฒนาระบบ (System Development Methodologies) ซึ่งแบบจำลองที่วาดนั้นสามารถลิงก์ไปยังแบบจำลองอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น แผนภาพ UML Diagram, Data Flow Diagram หรือ ER Diagram เป็นต้น 2. เครื่องมือจัดทำคำอธิบาย เป็นเครื่องมือที่ใช้บันทึกคำอธิบายและรายละเอียดของระบบ ซึ่งมักใช้งานเพื่อประกอบคำอธิบายของแบบจำลองหรือไดอะแกรมที่สร้างขึ้นในขณะนั้น
  • 8. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 3. เครื่องมือสร้างหรือจัดทำต้นแบบ เป็นเครื่องมือในการสร้างส่วนประกอบของระบบ ซึ่งประกอบไปด้วยอินพุตและเอาต์พุต โดยอินพุตและเอาต์พุตเหล่านี้สามารถนำไปรวมเข้ากับแบบจำลองระบบ และคำอธิบายรายละเอียดระบบทั้งสองได้  4. เครื่องมือจัดการด้านคุณภาพ  เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวิเคราะห์แบบจำลอง คำอธิบายรายละเอียด และต้นแบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ ความถูกต้องตรงกัน เพื่อเป็นไปตามกรรมวิธีที่ถูกต้องและยอมรับ 
  • 9. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ 5. เครื่องมือจัดทำเอกสาร  เป็นเครื่องมือที่ทำการรวบรวม และจัดทำเอกสารในรูปของรายงานของแบบจำลองระบบ คำอธิบายรายละเอียด และระบบต้นแบบ เพื่อให้สามารถนำเอกสารรายงานเหล่านี้ไปเสนอแก่เจ้าของระบบ ผู้ใช้งาน นักออกแบบ หรือนักพัฒนา  6. เครื่องมือการออกแบบและแปลรหัส  เป็นเครื่องมือในการแปลงหรือการ Generate โดยอัตโนมัติ เช่น ได้ทำการออกแบบแผนภาพ ER ไดอะแกรม และให้ทำการแปลงเป็นฐานข้อมูลตามที่ต้องการโดยอัตโนมัติ และรวมถึงการแปลงโมเดลให้เป็นรหัสโปรแกรม เป็นต้น
  • 10. 3. แบบจำลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างและภาพประกอบให้มากที่สุด แบบจำลอง (Model) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการจำลองข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบจำลองข้อมูล (Data Model) หรือขั้นตอนการทำงานของระบบ (Process Model) ได้แก่ Context Diagram Flowchart E-R Diagram Report Form Source Code
  • 11. Flowchart Structure Chart Data Flow Diagram (DFD) Use Case Diagram Class Diagram Entity Relationship Diagram (ERD)
  • 12. Sequence Diagram Organization Hierarchy Chart PERT Chart
  • 16. 5. UML คืออะไร และ CASE TOOL คืออะไร UML (Unified Modeling Language) เป็น graphical notation มาตรฐานที่กำหนดโดย Object Management Group (OMG) ที่ใช้ในการโมเดลระบบ โดยประกอบไปด้วยไดอะแกรมในสามหมวดหลัก คือ 1. ไดอะแกรมที่แสดงโครงสร้างโปรแกรม ได้แก่ Class Diagram, Object Diagram, Component Diagram, and Deployment Diagram2. ไดอะแกรมที่แสดงพฤติกรรมระบบ ได้แก่ Use Case Diagram, Sequence Diagram, Activity Diagram, Collaboration Diagram, and Statechart Diagram3. ไดอะแกรมที่แสดงการจัดการโมเดล ได้แก่ Packages, Subsystems, and Models UMLไม่สามารถทำ การสร้างโปรแกรมได้ (Code Generation) แต่ทว่าผลพวงภายหลังจากการออกแบบมีรูปแบบหรือหน้าตาที่โปรแกรมเมอร์สามารถที่จะดำ เนินการพัฒนาโปรแกรม (Coding) ได้อย่างเร็วและง่ายดายมากUML มององค์ประกอบต่างๆ ของซอฟต์แวร์ที่จะทำ การพัฒนาขึ้นมาในรูปของออบเจ็คต์ (Object) และออบเจ็คต์แต่ละตัวนั้นมีความเกี่ยวข้องกันโดยอาศัยความสัมพันธ์(Relationships) เป็นตัวเชื่อมโยง อีกทั้งออบเจ็คต์เหล่านั้นสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ การติดต่อสื่อสารกันระหว่างออบเจ็คต์นี้เองเป็นกลไกภายในซอฟต์แวร์ที่ทำ ให้ซอฟต์แวร์ทำ งานตามที่ผู้ใช้ต้องการได้จากการมองซอฟต์แวร์เป็นออบเจ็คต์ นี่เองUML จึงช่วยให้การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(Object-Oriented Programming) เป็นไปได้ง่ายเพราะการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุก็มององค์ประกอบของซอฟต์แวร์เป็นออบเจ็คต์เช่นเดียวกัน
  • 17. 5. UML คืออะไร และ CASE TOOL คืออะไร CASE TOOL เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ  ซึ่งมีความสามารถหลัก ๆ   คือ  ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA)  ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ   เช่น  ใช้สร้างแผนภาพบริบท (Context)    แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow diagram)  ออกแบบเชิง UML  หรือแผนภาพต่าง ๆ  ( Diagram)  ที่เกี่ยวข้อง  นอกจากนี้ CASE Tools  ยังมีความสามารถในการใช้พัฒนาระบบและช่วยในการจัดการงาน  ถ้า CASE Tools  ที่มีความสามารถ Upper CASE  จะช่วย  SA  ในการวิเคราะห์ระบบ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน    Planning, Analysis  และ  Design   ตามกระบวนการ SDLC    ส่วน  CASE  Tools  ที่มีความสามารถ  Lower CASE  จะช่วยในการวาดแผนภาพ (manages diagrams)  และสร้างโปรแกรม  (code generation)  ซึ่งอยู่ระหว่างการทำงานในขั้นตอน Design   และ  Implementation ของกระบวนการ SDLC  นอกจากนี้ยังมี  CASE Tools  บางชนิดที่รวมความสามารถ Upper CASE   และ  Lower CASE  ไว้ด้วยกัน  งานวิเคราะห์และออกแบบจัดว่าเป็นงานที่น่าเบื่อ  สามารถใช้  CASE  tools  เป็นเครื่องมือช่วยในการประหยัดแรงและย่นระยะเวลาการทำงานให้เร็วขึ้น  เนื่องจากเป็นเครื่องมือช่วยในการออกแบบพัฒนาระบบทั่ว ๆ ไป และจัดเป็นเครื่องมือด้าน IT และที่มี Function  การใช้งานเพียบพร้อม
  • 18. 6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case Upper-CASE 1. Rational Rose : ใช้สำหรับวาด UML  Design  for  OO(Object Oriented)  และ  generate code 2.Visible Analyst:  ใช้สำหรับวาด Context Diagram และ Data flow diagram 3. Visual Studio : ทำออกแบบและสร้าง  web 4. Paradigm  Plus 5. Oracle  Enterprise  Development Suite 6. Logic Works Suite 7. AxiomSysand AxiomDsn 8. V32 & X32
  • 19. 6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case Lower-CASE 1.phpMyAdmin 3.4.3.2 เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาโดยใช้ภาษา PHP เพื่อใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล Mysqlแทนการคีย์คำสั่ง 2.TopStyle 4.0.0.91   เป็นซอฟท์แวร์ช่วยเขียนเว็บไซต์ให้ตรงตามมาตราฐานเว็บ 3.Notepad++ 5.9.3 คือโปรแกรม text editor ที่ดีที่สุด ด้วยความสามารถที่เทียบเท่าและดีกว่าโปรแกรม Edit plus ที่นักพัฒนาทุกคนเคยใช้มาในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการแก้ไข source code ซึ่งรองรับ syntax ในรูปแบบโปรแกรมได้หลากหลาย หรือแม้แต่กระทั่งจะนำมาใช้แทนโปรแกรม Notepad แบบธรรมดาในโปรแกรม windows ก็สามารถทำได้เลย 4.Wireshark 1.6.1 (32-bit)   เป็นโปรแกรมจำพวก packet sniffer ชนิดหนึ่งซึ่งประกอบไปด้วยส่วนของ Packet Capture และ Packet Analyzer โดยทำหน้าที่ในการวิเคราะห์ระบบ Network โดย Wiresharkนั้นสามารถทำงานได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ Linux, window และ OSX สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลบนเครือข่ายได้หลากหลายรูปแบบ และที่สำคัญ Wiresharkนั้นเป็นซอฟต์แวร์แบบ Open Source  
  • 20. 6. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-Case Lower-CASE 5. VirtualBox 4.0.12.72916 คือโปรแกรมจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่อง ไว้ในเครื่องคอมที่เราใช้งานอยู่ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) นั่นเอง VirtualBoxช่วยให้นักพัฒนาสามารถทดลองติดตั้งและทดสอบระบบปฎิบัติการ โปรแกรมนี้เป็นโอเพ่นซอร์ด (Opensource) ที่ใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 6. Python 3.2.1 คือชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งที่มีความสามารถสูง ไม่แพ้ภาษาอื่นๆ ที่มีอยู่ในตอนนี้ Python นั้นเป็นภาษาที่ Open Source ทำให้ทุกคนสามารถที่จะนำ Python มาพัฒนาโปรแกรมของเราได้ฟรีๆโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และความเป็น Open Source ทำให้มีคนเข้ามาช่วยกันพัฒนาให้ Python มีความสามารถสูงขึ้น และใช้งานได้ครบคุมกับทุกลักษณะงาน 7. TortoiseSVN 1.6.16 เป็นโปรแกรมใช้จัดการ subversion ที่เป็น Version Control System ใช้ควบคุม source code ของซอฟแวร์ การทำงานคล้ายกับ CVS หรือ Version Control ของ SourceForge.net แต่กำจัดจุดด้อยของ CVS ที่ใช้ TCP/IP port เฉพาะ (2401) ที่ไม่ใช่ 80 (HTTP) หรือ 443 (HTTPS) ที่ทำให้ผู้ใช้งานบางกลุ่มไม่สามารถใช้งานได้
  • 21. 7. จากการที่ศึกษา CASE มาท่านจะเลือกใช้ Tool โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด จากการที่ได้ศึกษา CASE มานั้น ข้าพเจ้าเลือกที่จะใช้ Business Process Reengineering  เป้าประสงค์ของการใช้เครื่องมือฯ นี้ ก็เพื่อลดต้นทุนและรอบเวลาผลิตโดยการขจัดกิจกรรมใด ๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และพนักงานผู้ที่สร้างกิจกรรมนั้น ๆ ขึ้นมา การจัดองค์กรแบบกลุ่มทำงานที่มีสมาชิกแบบข้ามสายงานจะทำให้ลดลำดับชั้นการบริหารลง ก่อให้เกิดการเร่งการไหลของสารสนเทศ ลดข้อผิดพลาดและการแก้ไขอันเกิดจากการส่งต่องาน และอีกอย่างก็ปรับปรุงคุณภาพโดยการลดงานที่กระจายการทำงานออกเป็นส่วนย่อย ๆ ก่อให้เกิดเจ้าของกระบวนการอย่างชัดเจน ผู้ทำงานสนองตอบต่อผลลัพธ์งานได้มากขึ้นและสามารถวัดประสิทธิภาพของเขาได้ชัดเจน