SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18
ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 
สารบัญ 
บทความ 
การเจริญเติบโตความหนาเปลือกและลักษณะทรงพุ่ม 
ของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 
ที่ระยะเปิดกรีด 
การฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัยธรรมชาติลมพัดหักล้ม 
ต้นทุนการแปรรูปยางขั้นต้นระดับโรงงาน 
สมบัติเนื้อไม้ยางพาราพันธ์ุปลูกเป็นการค้า 
กับการใช้ประโยชน์ 
2 
12 
20 
30 
ประจำ�ฉบับ 
ย้ายข้าราชการ.... 
38 
RRIM 600 RRIT 251
บทบรรณาธิการ 
จากภาพด้านในปกหลังของวารสารยางพารา มี 
ข้อความรณรงค์ต้นยางของท่าน โตพอหรือยัง ไม่ควร 
กรีดยางต้นเล็ก เพราะประสิทธิภาพการให้ผลผลิตตĬ่ำ 
ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจน้อย และสมบัติของนĬ้ำยาง 
มีคุณภาพด้อยหรือมีข้อกังวล ต้นยางเล็กมีความ 
สามารถสังเคราะห์นĬ้ำยางโมเลกุลขนาดใหญ่ได้น้อย 
กว่าต้นยางที่อายุมากหรือต้นยางใหญ่ ทĬำให้ไม่ 
สะดวกในการนĬำไปใช้ในผลิตภัณฑ์ยางบางชนิด แต่ยัง 
มีเกษตรกรบางรายที่ขาดความเข้าใจหรือมีความ 
จĬำเป็นต้องการหารายได้ จึงเปิดกรีดต้นยางเล็กที่ 
ระดับ 0.8-1.0 เมตร จากพื้นดิน โดยอ้างว่าที่ระดับ 
ความสูงขนาดนั้นต้นยางมีขนาดที่พอจะเปิดกรีดได้ 
ดังนั้น ในเนื้อหาของวารสารยางฉบับนี้ได้อธิบาย 
ความสัมพันธ์การเจริญเติบโตความหนาเปลือกและ 
ลักษณะทรงพุ่มของต้นยางพันธุ์ดีที่นิยมปลูกกัน 
อย่างแพร่หลาย คือ พันธุ์อาร์อาร์ไอเอ็ม 600 (RRIM 
600) และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251(RRIT 251) ที่ 
ระยะเปิดกรีด เรื่องต่อมา ได้แสดงถึงเงื่อนไขความ 
คุ้มค่าของรูปแบบการฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัย 
ธรรมชาตินĬ้ำท่วมลมพัดหักล้ม สาเหตุเกิดจากพายุ 
ดีเปรสชั่นขึ้นฝั่งอ่าวไทยภาคใต้ในเดือนพฤศจิกายน 
2553 ซึ่งการฟื้นฟูจะต้องรีบดĬำเนินการและเสียค่า 
ใช้จ่ายมาก จะเห็นว่าการปลูกสร้างสวนยางที่ดีไม่ใช่ 
เรื่องง่าย ต้องลงทุนมากและมีความเสี่ยงหลาย 
ประการ ดังนั้น ควรปฏิบัติให้เหมาะสม นโยบาย 
การเลือกพื้นปลูกและกĬำหนดเขตปลูกยาง ควรมีการ 
ทบทวนใช้งานมากขึ้น เพราะเกี่ยวข้องกับห่วงโซ่ 
อุปทาน การขนส่ง ตลอดจนบริหารการเก็บวัตถุดิบ 
ยาง และสาเหตุที่ต้นทุนการผลิตยางประเทศไทย 
สูงกว่าประเทศอื่น ผู้วิจัยได้ศึกษาต้นทุนการแปรรูป 
ยางระดับโรงงานยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง นĬ้ำยางข้น 
ยางอื่นๆ ในเขตปลูกยางเดิมและเขตปลูกยางใหม่ 
ซึ่งในรายงานแสดงเห็นว่า โรงงานแปรรูปยางขนาด 
เล็ก มีการขยายไปตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
มาก และเกษตรกรนิยมผลิตยางก้อนถ้วย สĬำหรับ 
เรื่องไม้ยางพาราพันธุ์ปลูกเป็นการค้ากับการใช้ 
ประโยชน์ ได้นĬำมารวมไว้ในเล่มนี้ด้วย เพื่อแสดงให้ 
ทราบสมบัติไม้ยางพารา เป็นแนวความคิดปรับปรุง 
คุณภาพเนื้อไม้ยางพารา ทั้งนี้ เพราะยางพาราเป็น 
ไม้ยืนต้นที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดของประเทศ ผลผลิต 
ไม้ยางพาราในแต่ละปีมีมาก ซึ่งผู้เกี่ยวข้องจะได้ 
พิจารณาในปรับปรุงงานวิจัย เพื่อใช้งานให้เหมาะสม 
มากที่สุดตามความต้องการรูปแบบต่างๆ ใน 
อุตสาหกรรมไม้ เช่น เครื่องเรือน เชื้อเพลิง เยื่อ 
กระดาษ หรืออื่นๆ ต่อไป 
อารักษ์ จันทุมา 
บรรณาธิการ 
เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร นายสุวิทย์ รัตนพงศ์ ผู้อำ� นวยการสถาบัน 
วิจัยยาง บรรณาธิการ นายอารักษ์ จันทุมา ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก 
กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ 
ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรัตน์ ทรงพานิช ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สมจิตต์ ศิขรินมาศ ผู้ช่วยผู้จัดการ 
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ จักรพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง 
วราวุธ ชูธรรมธัช
2 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
การเจริญเติบโตความหนาเปลือก 
และลักษณะทรงพุ่มของยางพันธุ์ RRIM 600 
และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่ระยะเปิดกรีด 
พิศมัย จันทุมา 
ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา สถาบันวิจัยยาง 
เนื่องจากคĬำแนะนĬำของสถาบันวิจัยยาง ปี 2550 
ระบุให้ยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 
เป็นพันธุ์ยางชั้นหนึ่งอยู่ในกลุ่มพันธุ์ที่ให้ผลผลิตนĬ้ำยาง 
สูงและยังเป็นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูกรวมกันมากกว่า 
ร้อยละ 90 ของพันธุ์ยางทั้งหมด การศึกษาเกี่ยวกับการ 
เจริญเติบโตในส่วนต่างของต้นยางมีความสัมพันธ์กับ 
ความหนาของเปลือกยาง รวมทั้งลักษณะของทรงพุ่ม 
ยางที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่กรีดยางล้วนแต่เป็นปัจจัยที่ 
เกี่ยวข้องกับการให้ผลผลิตนĬ้ำยาง และสืบเนื่องจาก 
เกษตรกรเปิดกรีดยางต้นเล็กโดยเปิดกรีดที่ระดับ 0.80- 
1.00 เมตร จากพื้นดิน โดยอ้างว่าที่ระดับความสูง 
ดังกล่าวต้นยางมีขนาดโตพอที่จะเปิดกรีดได้แล้ว ใน 
ขณะที่คĬำแนะนĬำของสถาบันวิจัยยางให้เปิดกรีดต้นยาง 
ที่มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 50 ซม. ที่ระดับความสูง 1.50 
เมตร จากพื้นดิน และมีจĬำนวนต้นที่ได้ขนาดไม่ต่Ĭำกว่า 
ครึ่งหนึ่งของสวนยางทั้งหมด หรือมีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
45 ซม. ที่ระดับความสูง 1.50 เมตร จากพื้นดิน และมี 
จĬำนวนต้นที่ได้ขนาดไม่ตĬ่ำกว่าร้อยละ 80 ของสวนยาง 
ทั้งหมด 
ในการศึกษาครั้งนี้ได้เลือกสวนยางพันธุ์ RRIM 
600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี (ปลูกปี 
2546 และ 2547) ที่ จ.ฉะเชิงเทรา วัดขนาดเส้นรอบ 
ลĬำต้นและวัดความหนาเปลือกที่ระดับความสูง 10, 50, 
75, 100, 125, 150, 170 และ 200 ซม. จากพื้นดิน รวม 
ทั้งวัดความสูงของการแตกกิ่งและขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
ใต้คาคบโดยวัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นจĬำนวน 100 ต้น/ 
พันธุ์/อายุยาง วัดความหนาเปลือกโดยใช้เข็มเจาะ 
จĬำนวน 10 ต้น/พันธุ์/อายุยาง และวัดขนาดของกิ่งและ 
นับจĬำนวนกิ่ง จĬำนวน 30 ต้น/พันธุ์ ของยางอายุ 7 ปี 
นĬำข้อมูลไปวิเคราะห์ผลทางสถิติต่อไป 
ผลการศึกษา 
ลักษณะทรงพุ่มและการแตกกิ่งของต้นยาง 
ทรงพุ่มของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัย 
ยาง 251 มีลักษณะคล้ายกัน โดยยางอายุ 7 ปี มีขนาด 
เส้นรอบลĬำต้น 47.7 และ 48.4 ซม. วัดที่ระดับความสูง 
170 ซม. จากพื้นดิน ตามลĬำดับ ยางพันธุ์ RRIM 600 
ร้อยละ 100 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด มีการแตกกิ่ง 
แบบไม้กวาดหรือเกิดกิ่งซ้Ĭำอยู่บริเวณใกล้เคียงกัน 
(retieration branches, R) คือ มีจĬำนวนกิ่งเฉลี่ย 5 กิ่ง 
แตกจากจุดเดียวกัน จากบริเวณรอยแตกกิ่งหรือคาคบ 
ต้นยาง ไม่มีลĬำต้นหลัก (main stem) เพราะกิ่งที่แตก 
ออกมา ได้แก่ กิ่งรองที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 (R1, R2, 
R3, R4 และ R 5) มีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกัน เฉลี่ย 
40.3, 33.5, 27.7, 23.0 และ 24.0 ซม. ตามลĬำดับ โดย 
กิ่งรองที่ 1, 2 และ 3 มีโอกาสที่จะเกิดมากที่สุด ร้อยละ
3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
100, 100 และ 87 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตาม 
ลĬำดับ สĬำหรับโอกาสในการแตกกิ่งรองที่ 4 และ 5 มี 
เพียงร้อยละ 50 และ 10 ตามลĬำดับ การแตกกิ่งย่อย 
จากกิ่งรองที่ 1 เฉลี่ย จĬำนวน 4 กิ่งย่อย ได้แก่ กิ่งย่อย 
ที่ 1, 2, 3 และ 4 (R1-1, R1-2 , R1-3 และ R1-4) มี 
ขนาดที่โคนกิ่งย่อย 26.9, 24.6, 22.2 และ 20.3 ซม. มี 
โอกาสเกิด ร้อยละ 53, 43, 43 และ 20 ของจĬำนวนต้น 
ยางทั้งหมด ตามลĬำดับ (ตารางที่ 1) 
เช่นเดียวกันในยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 ทรง 
พุ่มยางมีการแตกกิ่งแบบไม้กวาด สูงถึงร้อยละ 97 และ 
แตกกิ่งแบบมีลĬำต้นหลัก (trunk) เพียงร้อยละ 3 ของ 
จĬำนวนต้นยางทั้งหมด กิ่งรองที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 (R1, 
R2, R3, R4, R5 และ R6) มีขนาด 39.3, 32.1, 28.9, 
27.4, 23.8 และ 24.4 ซม. ตามลĬำดับ และกิ่งรองที่ 1, 2 
และ 3 มีโอกาสที่จะเกิดมากที่สุด ร้อยละ 97, 97 และ 
83 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตามลĬำดับ รองลงมา 
คือ กิ่งรองที่ 4 มีโอกาสเกิดร้อยละ 63 ส่วนกิ่งรองที่ 5 
และ 6 มีโอกาสเกิดเพียงร้อยละ 37 และ 10 ตาม 
ลĬำดับ การแตกกิ่งย่อยจากกิ่งรองที่ 1 เฉลี่ย จĬำนวน 
4 กิ่งย่อย ได้แก่ กิ่งย่อยที่ 1, 2, 3 และ 4 (R1-1, R1-2 , 
R1-3 และ R1-4) มีขนาดที่โคนกิ่ง 24.1, 23.9, 22.0 
และ 22.9 ซม. มีโอกาสเกิดร้อยละ 80, 77, 67 และ 
43 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตามลĬำดับ (ตารางที่ 1) 
ความสูงของคาคบ 
ความสูงของคาคบและการแตกกิ่งของยางมี 
ความสĬำคัญต่อพื้นที่กรีดยางและผลผลิตไม้ยาง 
นอกจากนี้ ยังเกี่ยวกับความสามารถในการต้านทาน 
ตารางที่ 1 ลักษณะทรงพุ่มและการแตกกิ่งของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 7 ปี 
พันธุ์ 
RRIM 600 
พันธุ์ 
RRIT 251 
โอกาส 
เกิดขึ้น (%) 
โอกาส 
เกิดขึ้น (%) 
ลักษณะ STD STD 
ทางพฤกษศาสตร์ 
ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 
เส้นรอบต้น (Girth) 47.7* 48.4* 
จĬำนวนกิ่งใหญ่ R (กิ่งแยก) 5 6 
จĬำนวนกิ่งใหญ่ T(ลĬำต้นเดี่ยว) 0 1 
R1 (กิ่งรอง 1) 40.3** 6.6 100 39.3** 5.4 97 
R1-1 (กิ่งย่อย 1) 26.9** 8.0 53 24.1** 3.9 80 
R1-2 (กิ่งย่อย 2) 24.6** 4.6 43 23.9** 3.9 77 
R1-3 (กิ่งย่อย 3) 22.2** 2.7 43 22.0** 3.3 67 
R1-4 (กิ่งย่อย 4) 20.3** 3.0 20 22.9** 3.6 43 
R2 (กิ่งรอง 2) 33.5** 4.4 100 32.1** 4.7 97 
R3 (กิ่งรอง 3) 27.7** 5.3 87 28.9** 5.1 83 
R4 (กิ่งรอง 4) 23.0** 4.6 50 27.4** 5.2 63 
R5 (กิ่งรอง 5) 24.0** 2.9 10 23.8** 4.3 37 
R6 (กิ่งรอง 6) - - 24.4** 2.6 10 
* วัดที่ระดับความสูง 170 ซม. จากพื้นดิน มีหน่วยเป็นเซนติเมตร ** เส้นรอบวงกิ่ง (ซม.) วัดที่ 10 เซนติเมตร เหนือรอยแตกกิ่ง
4 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ลม การตัดแต่งทรงพุ่มที่ระดับสูง 4-5 เมตร และทรงพุ่ม 
มีขนาดใหญ่ทĬำให้ต้นยางมีโอกาสโค่น ลĬำต้นฉีกขาด 
เสียหายมากกว่า สĬำหรับสวนยางในเขตจังหวัด 
ฉะเชิงเทรา เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมตัดแต่งกิ่งที่ระดับ 
ความสูง 2.5-3.0 เมตร (ภาพที่ 1) โดยตัดกิ่งที่อยู่ตĬ่ำกว่า 
ระดับดังกล่าวออกหมด 
ขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูงต่างๆ กัน 
ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี (ตารางที่ 2) 
พบว่า ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. มีความ 
แตกต่างกันโดยแสดงความแตกต่างทางสถิติอย่างมี 
นัยสĬำคัญยิ่ง ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาด 
เส้นรอบลĬำต้นสูงสุด 50.7 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้น 
ที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้น 
รอบลĬำต้น 44.8, 42.8, 41.8 และ 40.8 ซม. ตามลĬำดับ 
แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่ 
แตกต่างกันทางสถิติ คือ 40.1 และ 39.6 ซม. ตามลĬำดับ 
เช่นเดียวกับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบ 
ลĬำต้น 39.6 และ 39.3 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน 
แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ 
ระดับ 200 ซม. อย่างไรก็ตาม ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 
ความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้น 
มากกว่าที่ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.7, 1.7, 
2.7 และ 4.7 ซม. ตามลĬำดับ 
ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 7 ปี (ตารางที่ 2) แสดง 
ผลเช่นเดียวกันกับยางอายุ 6 ปี ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 
ความสูง 10-200 ซม. แสดงความแตกต่างทางสถิติ 
อย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 
ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นสูงสุด 59.8 ซม. รองลงมา 
คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มี 
ขนาดเส้นรอบลĬำต้น 55.3, 51.1, 49.9 และ 48.9 ซม. 
ตามลĬำดับ แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 
170 ซม. ไม่แตกต่างกันทางสถิติ คือ 48.3 และ 47.4 
ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียวกับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. 
มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 47.7 และ 47.3 ซม. ตามลĬำดับ 
ไม่แตกต่างกัน แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. 
แตกต่างจากที่ระดับ 200 ซม. ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 
ความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้น 
มากกว่าที่ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.6, 
1.6, 2.8 และ 5.0 ตามลĬำดับ 
ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 ปี (ตาราง 
ที่ 2) ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. แสดง 
ความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า 
ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
สูงสุด 50.1 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 
50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
3.5 
3.0 
2.5 
2.0 
1.5 
1.0 
0.5 
RRIM 600 
6 ปี 
ภาพที่ 1 ความสูงของต้นยางถึงบริเวณคาคบ ของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี 
6 
3.0 
2.5 
2.7 
3.0 
0.0 
R600-6 years R600-7 years R251-6 years R251-7 years 
ความสูงของคาคบ (ม.) 
ภาพที่ 1 ความสูงของต้นยางถึงบริเวณคาคบ ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ 
สถาบันวิจัยยาง 251 
อายุ 6 และ 7 ปี 
RRIM 600 
7 ปี 
RRIT 251 
6 ปี 
RRIT 251 
7 ปี
5 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ตารางที่ 2 ขนาดเส้นรอบลำ�ต้น(ซม.)ที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 
และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 
ระดับความสูง RRIM 600 สถาบันวิจัยยาง 251 
จากพื้นดิน 
ยางอายุ 6 ปี 
(ปลูกปี 2547) 
ยางอายุ 7 ปี 
(ปลูกปี 2546) 
44.5, 42.7, 41.1 และ 40.4 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาด 
เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน 
ทางสถิติ คือ 39.8 และ 39.4 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียว 
กับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
39.4 และ 39.0 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ 
ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ 
ระดับ 200 ซม. และขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูง 
125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ 
ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.6, 1.6, 2.9 และ 
4.7 ซม. ตามลĬำดับ 
ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 7 ปี (ตารางที่ 
2) ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. แสดง 
ความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า 
ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
สูงสุด 61.5 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 50, 
75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 54.3, 
52.1, 50.6 และ 49.7 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาดเส้น 
รอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน 
ยางอายุ 6 ปี 
(ปลูกปี 2547) 
ยางอายุ 7 ปี 
(ปลูกปี 2546) 
ทางสถิติ คือ 49.0 และ 48.4 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียว 
กับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
48.4 และ 47.9 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ 
ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ 
ระดับ 200 ซม. และขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูง 
125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ 
ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.7, 1.6, 3.1 และ 
5.3 ซม. ตามลĬำดับ 
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของลĬำต้นกับระดับ 
ความสูงของต้นยาง 
ยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่ 
อายุเท่ากันมีขนาดเส้นรอบลĬำต้นไม่แตกต่างกัน โดยยาง 
พันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีอัตราการเพิ่มของขนาด 
เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 170 ซม. จากพื้นดิน เฉลี่ย 9.0 
ซม./ปี มากกว่าพันธุ์ RRIM 600 มีอัตราการเพิ่มของ 
ขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 8.1 ซม./ปี (ภาพที่ 2) 
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลĬำต้นและ 
(ซม.) 
เฉลี่ย 
ทั้งหมด 
10 50.7 a 59.8 a 50.1 a 61.5 a 55.4 a 
50 44.8 b 53.3 b 44.5 b 54.3 b 49.1 b 
75 42.8 c 51.1 c 42.7 c 52.1 c 47.1 c 
100 41.8 d 49.9 d 41.4 d 50.6 d 45.8 d 
125 40.8 e 48.9 e 40.4 e 49.7 e 44.8 e 
150 40.1 f 48.3 f 39.8 f 49.0 f 44.2 f 
170 39.6 fg 47.7 fg 39.4 fg 48.4 fg 43.7 fg 
200 39.3 g 47.3 g 39.0 g 47.9 g 43.3 g 
CV% 6.9 7.9 7.1 10.4 8.3 
หมายเหตุ ตัวเลขในแนวตั้งที่ตามท้ายด้วยตัวอักษรที่ไม่เหมือนกัน มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่ง
6 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ระดับความสูงของต้นยาง พบว่า มีความสัมพันธ์แบบ 
ปฏิภาคผกผัน คือ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นมีขนาดลดลงตาม 
ระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 3) โดยยางพันธุ์ RRIM 
600 อายุ 6 และ 7 ปี มีค่าสหสัมพันธ์ 99 เปอร์เซ็นต์ 
และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีค่าสหสัมพันธ์ 99 
เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกัน 
การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลĬำต้นยางที่ระดับ 
ความสูงของลĬำต้นต่างกัน 
ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี ที่ระดับความสูง 
150 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นน้อยกว่า 40 ซม., 40-45 
ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ 55, 38 และ 7 ของจĬำนวน 
ต้นยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) ในขณะที่ยางพันธุ์เดียวกันที่ 
อายุ 7 ปี วัดที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบ 
ลĬำต้น 40-45 ซม., 45-50 ซม. และ มากกว่า 50 ซม. 
ร้อยละ 29, 37 และ 34 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด 
(ภาพที่ 4) 
เช่นเดียวกันในยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 
6 ปี ที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 
น้อยกว่า 40 ซม., 40-45 ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ 50, 
46 และ 4 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) ในขณะ 
ที่ยางพันธุ์เดียวกันที่อายุ 7 ปี วัดที่ระดับความสูง 150 
ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 40-45 ซม., 45-50 ซม. และ 
มากกว่า 50 ซม. ร้อยละ 27, 32 และ 41 ของจĬำนวนต้น 
ยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) 
ความหนาของเปลือกยาง 
ความหนาเปลือกยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. 
แสดงความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง ใน 
ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 และ 7 ปี พบว่า ความหนา 
เปลือกยางที่ระดับโคนต้น 10 ซม. จากพื้นดิน เท่ากับ 
8.5 และ 9.7 มม. ตามลĬำดับ มีความหนาเปลือกมาก 
กว่าที่ระดับความสูง 50-200 ซม. โดยมีความหนา 
เปลือกไม่แตกต่างกัน และที่ระดับความสูง 150 ซม. 
ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 7.9 มม. มากกว่ายาง 
อายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 7.1 มม. (ตาราง 
ที่ 3) 
เช่นเดียวกับยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 
6 และ 7 ปี พบว่า ความหนาเปลือกยางที่ระดับโคนต้น 
10 ซม. จากพื้นดิน เท่ากับ 8.1 และ 7.8 มม. ตามลĬำดับ 
มีความหนาเปลือกมากกว่าที่ระดับความสูง 50-200 
ซม. โดยมีความหนาเปลือกไม่แตกต่างกัน และที่ระดับ 
ความสูง 150 ซม. ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 7.2 
มม. มากกว่ายางอายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 
10 
200 
180 
160 
140 
120 
100 
80 
60 
40 
20 
0 
RRIM 600 
0 10 20 30 40 50 60 70 
200 
180 
160 
140 
120 
100 
80 
60 
40 
20 
0 
RRIT 251 
0 10 20 30 40 50 60 70 
ภาพที่ 2 ขนาดเส้นรอบลาต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน 
ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ 
ภาพที่ 2 ขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี 
สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี
7 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
11 
RRIM 600 
y = 4E+20x-11.5 
R² = 0.99 
y = 2E+23x-12.55 
R² = 0.99 
250 
200 
150 
100 
50 
6 year 
7 year 
250 
200 
150 
100 
50 
RRIT 251 
6 year 
7 year 
ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 
251) อายุ 6 และ 7 ปี 
7.1 มม. (ตารางที่ 3) 
ความหนาของเปลือกยางมีความสัมพันธ์กับระดับ 
ความสูงของต้นยางเป็นแบบปฏิภาคผกผัน โดยเมื่อ 
ความสูงของลĬำต้นเพิ่มขึ้น ความหนาของเปลือกยางลด 
ลง (ภาพที่ 5) 
วิจารณ์ผลการศึกษา 
ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 และ RRIM 600 มี 
ลักษณะการแตกกิ่งและทรงพุ่มคล้ายกัน โดยพันธุ์ 
สถาบันวิจัยยาง 251 มีการแตกกิ่งมากทั้งในขนาดใหญ่ 
และขนาดปานกลาง และทรงพุ่มมีขนาดใหญ่ เป็นรูป 
กลม ในขณะที่พันธุ์ RRIM 600 แตกกิ่งช้า กิ่งมีขนาด 
ปานกลาง ทิ้งกิ่งมาก ทรงพุ่มมีขนาดปานกลางเป็น 
รูปพัด (สถาบันวิจัยยาง, 2550) ทั้ง 2 พันธุ์ เป็นพันธุ์ 
ยางชั้น 1 ที่ให้ผลผลิตนĬ้ำยางสูงและมีการแตกกิ่งแบบ 
R (retieration branches) จĬำนวน 5-6 กิ่ง เช่นเดียวกัน 
และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีโอกาสแตกกิ่งย่อย 
R1-1, R1-2 และ R1-3 ร้อยละ 80, 77 และ 67 ในขณะ 
ที่พันธุ์ RRIM 600 มีโอกาสแตกน้อยกว่าในการแตก 
กิ่งย่อย คือ กิ่งย่อย R1-1 มีร้อยละ 53 สĬำหรับกิ่งย่อยที่ 
2-4 มีโอกาสเกิดเพียงร้อยละ 20-43 นอกจากนี้ ความ 
สูงของการแตกกิ่งหรือคาคบ 2.5-3.0 เมตร ทั้งนี้ปัจจัย 
ดังกล่าวขึ้นอยู่กับการตัดแต่งกิ่งของเกษตรกร 
ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีอัตราการเจริญ 
เติบโตก่อนเปิดกรีด 9.0-9.2 ซม./ปี มากกว่ายางพันธุ์ 
RRIM 600 มีอัตราการเจริญเติบโตก่อนเปิดกรีด 8.3-8.5 
0 
0 10 20 30 40 50 60 70 
y = 6E+20x-11.61 
R² = 0.99 
y = 1E+22x-11.74 
R² = 0.99 
0 
0 10 20 30 40 50 60 70 
ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลาต้นที่ระดับความสูง 10- 
200 ซม. จากพื้นดิน 
ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) 
อายุ 6 และ 7 ปี 
5. การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลาต้นยางที่ระดับความสูงของลาต้น 
ต่างกัน 
ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี ที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาด 
เส้นรอบลาต้น น้อยกว่า 40 ซม., 40-45 ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ
แตกต่างกัน และที่รับความสูง 150 ซม. ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 0.72 
ซม. มากกว่ายางอายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 0.70 มม. (ตารางที่ 3) 
ความหนาของเปลือกยางมีความสัมพันธ์กับระดับความสูงของต้นยางเป็น 
แบบปฏิภาคผกผัน โดย 
เมื่อความสูงของลาต้นเพิ่มขึ้น ความหนาของเปลือกยางลดลง (ภาพที่ 5) 
8 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
RRIM 600-7 years 
97 
69 
50 
43 39 
34 
28 26 
100 
90 
80 
70 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0 
10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. 
จานวน (%) 
<40 ซม. 
40-45 ซม. 
45-50 ซม. 
>50 ซม. 
RRIM 600-6 years 
100 
90 
80 
70 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0 
10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. 
จานวน (%) 
100 RRIT 251-7 years 
73 
57 
52 
46 
41 
36 
32 
100 
90 
80 
70 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0 
10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. 
จานวน (%) 
<40 ซม. 
40-45 ซม. 
45-50 ซม. 
>50 ซม. 
RRIT 251-6 years 
100 
90 
80 
70 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0 
10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. 
จานวน (%) 
ภาพที่ 4 การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 
251) อายุ 6 และ 7 ปี 
ซม./ปี สĬำหรับขนาดเส้นรอบลĬำต้นยางที่ระดับตั้งแต่ 
โคนต้น 10-200 ซม. แสดงความแตกต่างกันทางสถิติ 
ตามระดับความสูงของต้นยาง แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ 
ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดย 
เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับโคนต้น 10 ซม. มีขนาดใหญ่ที่สุด 
สĬำหรับขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 10, 50, 75, 100 
และ 125 ซม. มีขนาดมากกว่าเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 
ซม. เฉลี่ย 11.2, 4.9, 2.9, 1.6 และ 0.6 ซม. ตามลĬำดับ 
และขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มี 
ขนาดน้อยกว่าเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. เฉลี่ย 0.5 
และ 0.9 ซม. ตามลĬำดับ ตรงกับงานวิจัยของ Dijkman 
(1951) กล่าวว่า ต้นที่ขยายพันธุ์โดยการติดตา ลĬำต้นมี 
ขนาดโตสมĬ่ำเสมอ มีลักษณะเป็นทรงกระบอก ขนาด 
ลĬำต้นไม่แตกต่างกันตั้งแต่โคนต้นถึงบริเวณใต้ทรงพุ่ม 
ในทางกลับกันต้นกล้ายางที่ปลูกด้วยเมล็ดมีลักษณะต้น 
เป็นรูปทรงกรวย ดังนั้น การที่เกษตรกรเปิดกรีดยางที่ 
ระดับตĬ่ำ 75-80 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นมากกว่าระดับ 
150 ซม. ประมาณ 3-5 ซม. โดยเกษตรกรมากกว่า 
ร้อยละ 90 ยังเข้าใจว่าต้นที่ได้ขนาดเปิดกรีดวัดที่ระดับ 
ที่เปิดกรีด 75-80 ซม. ในขณะที่สถาบันวิจัยยาง 
(2550) แนะนĬำให้วัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่จะเปิดกรีด 
ที่ระดับ 150 ซม. เท่านั้น และกรณีเปิดกรีดที่ระดับ 
100-125 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ระดับ 150 ซม. 
เพียง 1.6 และ 0.6 ซม. เท่านั้น 
ที่ระดับ 10 ซม. หรือบริเวณโคนต้น ส่วนของ 
เปลือกมีความหนามากกว่าที่ระดับอื่นๆ และความหนา 
เปลือกที่ระดับ 50-200 ซม. ที่ความหนาเปลือกไม่แตก 
ต่างกัน เช่นเดียวกับงานวิจัยของ Gomez (1982) กล่าว 
ว่า จĬำนวนท่อนĬ้ำยางจากต้นเดียวกันมีความสัมพันธ์กับ 
ความหนาของเปลือกและในต้นติดตามีจĬำนวนวงท่อนĬ้ำ 
ยางที่ระดับความสูงต่างๆ กัน ไม่แตกต่างกัน ยางพันธุ์ 
RRIM 600 อายุ 6 และ 7 ปี มีความหนาเปลือกเฉลี่ย 
7.0 และ 7.9 มม. ตามลĬำดับ และพันธุ์สถาบันวิจัย 
ยาง 251 มีความหนาเปลือกเฉลี่ย 7.2 และ 7.2 มม. 
ตามลĬำดับ ตรงกับสถาบันวิจัยยาง (2550) กล่าว 
ว่ายางทั้ง 2 พันธุ์ ทั้งเปลือกเดิมและเปลือกงอกใหม่มี
9 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ตารางที่ 3 ความหนาเปลือกของต้นยาง (มม.) ที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ 
RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา 
ระดับความสูง RRIM 600 สถาบันวิจัยยาง 251 
จากพื้นดิน 
(ซม.) 
เฉลี่ย 
ทั้งหมด 
ยางอายุ 6 ปี 
(ปลูกปี 2547) 
ยางอายุ 6 ปี 
(ปลูกปี 2547) 
ยางอายุ 7 ปี 
(ปลูกปี 2546) 
ยางอายุ 7 ปี 
(ปลูกปี 2546) 
10 8.5 a 9.7 a 8.1 a 7.8 a 8.8 a 
50 7.3 b 8.8 b 7.7 b 7.5 ab 7.8 b 
75 7.0 b 8.0 c 7.2 bc 7.1 b 7.3 c 
100 7.0 b 8.0 c 7.1 c 7.1 b 7.3 c 
125 7.0 b 7.9 cd 7.1 c 7.2 b 7.3 c 
150 7.0 b 7.9 cd 7.1 c 7.2 b 7.3 c 
170 7.0 b 7.5 cd 7.1 c 7.2 b 7.2 c 
200 7.0 b 7.2 d 7.1 c 7.2 b 7.1 c 
CV% 5.05 8.99 2.44 6.63 8.17 
หมายเหตุ ตัวเลขในแนวตั้งที่ตามท้ายด้วยตัวอักษรที่เหมือนกัน ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ 
200 
150 
100 
50 
RRIM 600 
6 year 
7 year 
200 
150 
100 
50 
RRIT 251 
6 year 
7 year 
ภาพที่ 5 ความหนาเปลือกของต้นยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี 
16 
0 
0 2 4 6 8 10 12 
0 
0 2 4 6 8 10 
ภาพที่ 5 ความหนาเปลือกของต้นยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. 
จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 
และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี
10 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ภาพที่ 6 ลักษณะการแตกกิ่งของยางพันธ์ุ RRIM 600 
(Trunk) 
(retieration branches, R) 
ก. ข. 
ภ พท 1 (trunk) ช GT 1 ะ (reiteration branches, R) 
ภาพที่ 8 การแตกกิ่งของต้นยาง ก. แบบมีล�ำ ต้นหลัก (trunk) เช่น PB 
235 และ ข. การแตกกิ่งแบบซ�้ำกิ่ง (reiteration branches, R) เช่น RRIM 
600 และสถาบันวิจัยยาง 251 
ที่มา : http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurri-cane. 
ท http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurricane.html (1 ส. . 2557) 
htm. (1 ส.ค. 2557) 
ภาพที่ 7 ลักษณะการแตกกิ่งของยางพันธ์ุ RRIT 251 
ภาพที่ 9 การเจาะวัดความหนาของเปลือกต้นยางที่ระดับความสูงต่างๆ 
โดยใช้อุปกรณ์การเจาะ (ภาพเล็กซ้ายมือ) 
(Trunk) 
(retieration branches, R) 
ภ พท 1 (trunk) ช GT 1 ะ (reiteration branches, R) 
ท http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurricane.html (1 ส. . 2557) 
ความหนาปานกลาง และความหนาเปลือกที่เหมาะสม 
ในการกรีดยาง ประมาณ 8.0 มม. (โชคชัย, 2541) 
สรุปผลและแนะนำ� 
1. ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีทรงพุ่มเป็น
11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
รูปทรงกลมขนาดใหญ่ มีกิ่งขนาดใหญ่ แตกกิ่งบริเวณ 
คาคบ จĬำนวน 3-4 กิ่ง และส่วนใหญ่ไม่มีลĬำต้นหลัก 
และในพันธุ์ RRIM 600 เช่นเดียวกัน มีกิ่งใหญ่ขนาด 
ปานกลาง จĬำนวน 2-3 กิ่ง แตกกิ่งบริเวณคาคบ และ 
ไม่มีลĬำต้นหลัก เป็นพันธุ์ที่มีทรงพุ่มขนาดปานกลาง 
2. ขนาดของลĬำต้น ที่ระดับความสูงต่างๆ 10-200 
ซม. มีความสัมพันธ์แบบปฏิภาคผกผันกัน โดยที่ระดับ 
10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นมากที่สุด และขนาดลĬำต้น 
ลดลงตามระดับความสูง แต่ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 150 
และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน 
3. ความหนาเปลือกยาง ที่ระดับความสูงต่าง ๆ 
10-200 ซม. มีความสัมพันธ์แบบปฏิภาคผกผันกัน 
โดยที่ระดับ 10 ซม. มีความหนาเปลือกมากที่สุด และ 
ความหนาเปลือกที่ระดับ 50-200 ซม. ไม่แตกต่างกัน 
4. ขนาดของลĬำต้นที่เหมาะสมต่อการกรีดยาง ให้ 
วัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 หรือ 170 ซม.เท่านั้น 
โดยมีขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 50 ซม. มีจĬำนวนต้น 
มากกว่าร้อยละ 50 ของจĬำนวนต้นทั้งหมดในสวน หรือ 
ขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 45 ซม. มีจĬำนวนต้นมากกว่า 
ร้อยละ 80 ของจĬำนวนต้นทั้งหมด 
เอกสารอ้างอิง 
โชคชัย เอนกชัย. 2541. การวิจัยและพัฒนาการกรีดยาง. 
เอกสารประกอบในการประชุมคณะกรรมการ 
วิชาการและนักวิชาการสถาบันวิจัยยาง 
ระหว่างวันที่ 7 เมษายน 2541. สถาบันวิจัยยาง 
กรมวิชาการเกษตร (เอกสารโรเนียว). 
สถาบันวิจัยยาง. 2550. การกรีดยางและการใช้สารเคมี 
เร่งนĬ้ำยาง. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. 
148 หน้า. 
Dikman, M.J. 1951. Hevea: Thirty Years of Research 
in the Far East. University of Miami Press. 
Florida, USA. 
Gomez, J.B. 1982. Anatomy of Hevea and Its 
Influence on Latex Production. Malaysian 
Rubber Research and Development Board 
Monograph No.7. 
http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/ 
hurricane.htm. (1 ส.ค. 2557)
12 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
การฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัยธรรมชาติ 
ลมพัดหักล้ม 
ทรงเมท สังข์น้อย ศุภมิตร ลิมปิชัย และ สายสุรีย์ วงศ์วิชัยวัฒน์ 
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำ�นักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร 
จากเหตุการณ์นĬ้ำท่วมและผลกระทบของลมพายุ 
ดีเปรสชั่นทางภาคใต้ ซึ่งมีสถิติการเกิดพายุในประเทศ 
ไทยค่อนข้างถี่มากขึ้นในปัจจุบัน ประมาณสามปี 
ต่อครั้ง และในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2553 พายุ 
ดีเปรสชัน (TD4) ในอ่าวไทยตอนล่างได้เคลื่อนตัว 
ขึ้นฝั่งภาคใต้ของประเทศไทยบริเวณอĬำเภอสทิงพระ 
จังหวัดสงขลา ได้ก่อให้เกิดนĬ้ำท่วมฉับพลันและนĬ้ำป่า 
ไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนและพายุเข้าทĬำลายพื้นที่ 
การเกษตรในหลายพื้นที่ของภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่ 
ปลูกยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศได้รับ 
ความเสียหายกว่าแสนไร่ ประกอบกับลักษณะดินส่วน 
ใหญ่ในจังหวัดสงขลา และพัทลุง เป็นดินชุดคลองท่อม 
และดินชุดคอหงส์ ดินทั้งสองชุดเป็นดินที่มีลักษณะเป็น 
ทรายจัด และการปลูกยางในปัจจุบัน ใช้ต้นตอตาเขียว 
เป็นวัสดุปลูกระบบรากค่อนข้างอ่อนแอ จึงทĬำให้ 
ยางพาราล้มได้ง่าย 
ยางพาราที่เสียหายมีหลายลักษณะโดยแบ่งตาม 
อายุ โดยสวนที่ได้รับความเสียหายจากนĬ้ำท่วมขัง 
ส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่เริ่มปลูกจนกระทั่งอายุประมาณ 
1 ปี ส่วนสวนยางที่ได้รับความเสียหายจากลมพายุ 
ส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป พบว่า ลักษณะ 
ความเสียหายของต้นยางจากลมพายุ จะมีหลาย 
ลักษณะ เช่น ต้นจะเอนลู่ตามลม ต้นโยกคลอน และ 
โค่นล้มถอนราก สวนยางที่มีอายุมากกว่า 5 ปี ต้นจะ 
หักกลางลĬำต้นและโค่นล้มถอนราก สร้างความเสียหาย 
หลายพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง เป็นความเดือดร้อนของ 
เกษตรกรเจ้าของสวนยางที่ต้องสูญเสียทรัพย์สิน โอกาส 
และรายได้ จากเหตุการณ์ดังกล่าวจĬำเป็นต้องทĬำ 
การศึกษาและสĬำรวจสภาพความเสียหาย ผลกระทบ 
ที่มีต่อสวนยางในระยะสั้นและระยะยาว ทĬำให้ทราบ 
ถึงแนวทางการฟื้นฟูที่เหมาะสม ตามมติ ครม. 
เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 ให้การช่วยเหลือ 
เกษตรกรชาวสวนยางที่ได้รับความเสียหายจาก 
อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม โดยมอบให้สĬำนักงาน 
กองทุนสงเคราะห์การทĬำสวนยาง เป็นหน่วยงานหลัก 
ในการดĬำเนินการ และการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร 
ชาวสวนยางพาราที่ได้รับความเสียหาย ทั้งเสียสภาพ 
สวนและไม่เสียสภาพ กรณีสวนยางเสียหายเอนล้ม 
สามารถตัดแต่งแล้วยกคĬ้ำยันให้ต้นตรงได้ ได้รับความ 
ช่วยเหลือจ่ายเงินเป็นค่าคĬ้ำยันครั้งเดียว โดยต้นยาง 
อายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 3 ปี อัตราต้นละ 50 
บาท และต้นยางอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป อัตราต้นละ 100 
บาท งบประมาณเฉพาะการฟื้นฟูในจังหวัดสงขลา 
และพัทลุงต้องใช้งบประมาณไม่ตĬ่ำกว่า 160 ล้านบาท 
ซึ่งยังไม่มีการศึกษาผลของการฟื้นฟู วิธีการ รวมทั้ง 
ข้อมูลความคุ้มค่าของการฟื้นฟู จึงควรศึกษาวิธีการ 
ฟื้นฟูสวนยางหลังจากประสบความเสียหายจากภัย 
ธรรมชาติต่อไป 
วิธีการทดลอง 
คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 
คัดเลือกโดยพิจารณาพื้นที่ปลูกยางที่ได้รับความ 
เสียหายจากภัยธรรมชาติในเขตจังหวัดสงขลาและ 
พัทลุงสĬำรวจความเสียหายโดยคัดเลือกสวนยางที่ 
เสียหายโดยต้นยางที่มีลักษณะล้มราบ ต้นยางมีอายุ 
5-6 ปี จĬำนวน 20 แปลง วิเคราะห์ลักษณะชุดดินและ
13 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
สมบัติของดินในสวนยาง 
วิเคราะห์ผลจากการฟื้นฟูสวนยางพาราในแต่ละแบบ 
1. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณคาคบ (ภาพที่ 
1ก.) 
2. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณกิ่งหลัก (ภาพที่ 
1ข.) 
3. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณกิ่งรอง (ภาพที่ 
1ค.) 
วิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ 
ในการศึกษาครั้งนี้ใช้อัตราคิดลดร้อยละ 8 ซึ่ง 
เป็นอัตราคิดลดที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงการโดย 
ทั่วไป และเป็นอัตราคิดลดที่ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย 
เงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ (MRR 7.5) ใช้ตัวชี้วัดทาง 
การเงินที่สĬำคัญ คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผล 
ตอบแทนต่อต้นทุน และอัตราผลตอบแทนภายในของ 
การลงทุน 
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) 
คือ ความแตกต่างระหว่างมูลค่าปัจจุบันของผล 
ตอบแทนกับมูลค่าปัจจุบันของต้นทุน หลักเกณฑ์ใน 
การพิจารณาโครงการ คือ จะเลือกดĬำเนินโครงการก็ 
ต่อเมื่อมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ 
จึงจะถือว่าผลตอบแทนจากการลงทุนนั้นคุ้มค่า เพราะ 
แสดงว่ารายได้มากกว่าหรือเท่ากับต้นทุน 
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit-Cost 
Ratio : BCR) เป็นการเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันของ 
ผลตอบแทนกับมูลค่าปัจจุบันของต้นทุน หลักเกณฑ์ 
ในการตัดสินใจ คือ ค่า BCR ต้องมากกว่า 1 ซึ่งหมาย 
ถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากโครงการมีมากกว่าต้นทุน 
ที่เสียไป 
อัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุน (Internal 
Rate of Return : IRR) เป็นอัตราผลกĬำไรของ 
ฟาร์มที่ได้รับจากการลงทุนตลอดอายุโครงการ หลัก 
เกณฑ์ในการตัดสินใจ คือ อัตราคิดลดที่ทĬำให้มูลค่า 
ปัจจุบันสุทธิเท่ากับศูนย์ หรืออัตราผลตอบแทนที่มาก 
กว่าอัตราคิดลดของโครงการ 
กระแสเงินสดรับในแต่ละปีไม่เท่ากันจะต้อง 
คĬำนวณโดยอาศัยการรวมกระแสเงินสดรับสะสมตั้งแต่ 
ปีแรกและเปรียบเทียบกับเงินลงทุนทั้งหมดของโครงการ 
ซึ่งระยะเวลาคืนทุน คือ ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับ 
สะสมเท่ากับเงินลงทุน จากสูตร 
ระยะเวลาคืนทุน (ปี) = 
ยอดเงินงวดสุดท้ายที่ต้องการ 
ยอดกระแสเงินสดงวดถัดไป 
จĬำนวนปีก่อนคืนทุน + 
ก ข ค 
ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่หลัก 
ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่งหลัก 
ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่งหลัก 
ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง 
ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง 
ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง 
ภาพที่ 1 การตัดแต่งต้นยางพาราแบบต่างๆ ก.ตัดแต่งบริเวณคาคบ ข.ตัดแต่งกิ่งหลัก ค.ตัดแต่งกิ่งรอง
14 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ผลการทดลองและวิจารณ์ 
ปริมาณนĬ้ำฝน 
ช่วงเวลาที่แปลงยางโดนลมพายุอย่างในช่วงเดือน 
พฤศจิกายน 2553 เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ฟื้นฟูแปลง 
ยางในช่วงเดือนธันวาคม 2553 ซึ่งในทุกการทดลองพบ 
ว่า ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่มีผลต่อการ 
รอดตายสูงมากเนื่องจากในเดือนมกราคม –มีนาคม 
2554 เป็นช่วงเวลาที่ยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟูกĬำลัง 
แตกใบอ่อน กĬำลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และยังไม่มี 
ระบบรากที่ช่วยในการหานĬ้ำ จึงทĬำให้ใบอ่อนที่แตกใหม่ 
อยู่ในช่วงสภาพอากาศที่แล้งจัด อุณหภูมิสูง (ภาพที่ 2) 
ซึ่งมีผลต่อการฟื้นฟูต้นยางพาราค่อนข้างสูง 
ดินและสมบัติของดิน 
ในพื้นที่ประสบภัยในจังหวัดสงขลา และจังหวัด 
พัทลุง อยู่ในเขตแนวรอยต่อของทั้งสองจังหวัดในตĬำบล 
เกาะใหญ่ อĬำเภอกระแสสินธุ์ ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น 
ดินร่วนหยาบหรือดินร่วนละเอียดปนทรายลึกมาก เนื้อ 
ดินเป็นดินร่วนปนทราย ระบายนĬ้ำได้ดี บางส่วนของ 
พื้นที่ จะมีลักษณะดินทรายหนามากกว่า 100 ซม. ดิน 
บนเป็นสีนĬ้ำตาล ดินล่างเป็นสีนĬ้ำตาล หรือเหลือง 
ระบายนĬ้ำได้ดีถึงดีมาก และมีลักษณะดินที่พบชั้นหิน 
ภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน ดินมีสีนĬ้ำตาล เหลือง 
หรือแดง ระบายนĬ้ำได้ดี ซึ่งดินในเขตนี้เป็นดินที่มี 
ความอุดมสมบูรณ์ของดินตĬ่ำ มีโอกาสขาดแคลนนĬ้ำ 
เนื่องจากดินชั้นบนระบายนĬ้ำได้ดีมาก จึงเป็นอุปสรรค 
ต่อการฟื้นฟูต้นยางพาราที่ประสบภัยธรรมชาติและดิน 
ที่มีลักษณะมีทรายปนค่อนข้างสูงมีผลให้ต้นมีโอกาส 
ล้มซĬ้ำได้ 
ในเขตอĬำเภอปากพะยูน ดินมีลักษณะทรายหนา 
กว่า 100 ซม. หรือดินมีชั้นลูกรัง ก้อนกรวดมากกว่า 
ร้อยละ 35 แต่ไม่พบชั้นหินแข็ง อยู่ในช่วง 50-100 
ซม.จากผิวดิน เป็นดินร่วนปนทราย และมีดินเหนียว 
ทับอยู่บนชั้นดิน มีความอุดมสมบูรณ์ของดินตĬ่ำ และมี 
การระบายนĬ้ำได้ดี 
จĬำนวนต้นยางที่รอดตาย 
การตายของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟูโดยการ 
เก็บข้อมูลในรอบ 3 ปี ตั้งแต่ ธันวาคม 2553 –กันยายน 
2556 (ภาพที่ 3) พบว่า ในปีแรกหลังจากฟื้นฟูวิธีการตัด 
แต่งกิ่งรองเป็นวิธีที่มีต้นยางตายตĬ่ำสุด ร้อยละ 2 ซึ่ง 
ตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่งบริเวณคาคบที่ 
มีต้นยางตายร้อยละ 3.3 และ 18.0 ตามลĬำดับ มี 
ความแตกต่างอย่างมีนัยสĬำคัญ สาเหตุหลักที่ทĬำให้ 
ต้นยางที่ฟื้นฟูด้วยวิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบตาย 
มากที่สุด เนื่องจากการสูญเสียความชื้นภายในต้น 
จากสภาพอากาศที่แห้งแล้งในเดือนมกราคม ถึง 
เดือนกุมภาพันธ์ 2554 ในปีที่สอง วิธีการตัดแต่งกิ่ง 
500 
400 
300 
200 
100 
0 
ม.ค. 
ก.พ. 
มี.ค. 
เม.ย. 
พ.ค. 
มิ.ย. 
ก.ค. 
ส.ค. 
ก.ย. 
ต.ค. 
พ.ย. 
ธ.ค. 
ภาพที่ 2 ปริมาณน�้ำฝนและอุณหภูมิ จากสถานีตรวจอากาศเกษตรคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 
40 
30 
20 
10 
0 
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 
สถานีตรวจอากาศเกษตร คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา 
ปริมาณน้า ฝน (มม.) 
เปรียบเทียบปริมาณน้าฝนกับอุณหภูมิ 
ปริมาณน้า ฝนปี 2554 
(มม.) 
ปริมาณน้า ฝนเฉลี่ย 
ย้อนหลัง 10 ปี (มม.) 
อุณหภูมิปี 2554 (องศา 
เซลเซียส) 
อุณหภูมิเฉลี่ยย้อนหลัง 
10 ปี (องศาเซลเซียส)
15 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
20.0 
15.0 
10.0 
5.0 
อัตราการตาย 
ปีที่ทĬำกาอง 
ภาพที่ 3 การตายของต้นยางในแต่ละปี หลังจากได้รับการฟื้นฟู 
2. การเจริญเติบโตของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟู 
รองยังเป็นวิธีที่มีต้นยางตายเพิ่มตĬ่ำสุด ร้อยละ 3 
ซึ่งตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งบริเวณคาคบ และตัดแต่งกิ่ง 
หลัก มีต้นยางตายเพิ่มเติมร้อยละ 6.3 และ 5.2 
ตามลĬำดับ สาเหตุหลักที่ทĬำให้ต้นยางที่ฟื้นฟูยังมี 
การตายเพิ่มเติมเนื่องจากปริมาณฝนในปี 2554 มี 
ลักษณะไม่สมĬ่ำเสมอ ทĬำให้เกิดการติดเชื้อโรคใบร่วง 
ไฟทอปเทอราในช่วงหลังจากฟื้นตัวได้ไม่นาน และบาง 
ส่วนมีการล้มซĬ้ำ เนื่องจากไม้ที่คĬ้ำยันต้นไว้ผุอีกด้วย 
ในปีที่สาม ต้นยางส่วนใหญ่ที่ประสบความสĬำเร็จในการ 
ฟื้นฟูยังมีจĬำนวนต้นตายเพิ่มเติมอีกด้วย โดยวิธีการ 
ตัดแต่งกิ่งรองเป็นวิธีที่มีต้นยางตายเพิ่มเติมตĬ่ำสุด ร้อย 
ละ 0.7 ซึ่งตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่ง 
บริเวณคาคบ ที่มีต้นยางตายร้อยละ 2.8 และ 5.4 
ตามลĬำดับ การตายเพิ่มเติมในปีที่ 3 ส่วนใหญ่เกิดจาก 
สาเหตุไม้คĬ้ำผุ ระบบรากใหม่ยังไม่สามารถสร้างใหม่ 
ทดแทนรากแขนงขนาดใหญ่ได้จึงทĬำให้ต้นล้มซĬ้ำ เมื่อ 
นĬำมารวมทั้งสามปีแล้วพบว่า วิธีการตัดแต่งกิ่งรองเป็น 
วิธีที่มีต้นยางตายตĬ่ำสุดร้อยละ 5.5 เป็นวิธีที่ประสบ 
ความสĬำเร็จสูงสุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสĬำคัญ 
กับวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่งบริเวณคาคบที่มี 
ต้นยางตายร้อยละ12.4 และ 28.6 ตามลĬำดับ 
การขยายขนาดลาต้น ในปีที่แรกพว่าอัตรากาขยายขดของ 
ลาต้นค่อนข้างต่ามาก พบว่าต้นที่ตัดแต่งบริเวณกิ่งรองมีอัตราการขยาย 
ขนาดสูงสุด 2.7 เซนติเมตรต่อปีรองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งบริเวณ 
คาคบ และ วิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก มีอัตราการขยายขนาด 2.55 และ 
2.44 เซนติเมตรต่อปี ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความ 
เสียหายซึ่งมีอัตราการขยายขนาด 5.68 เซนติเมตรต่อปีในปีที่สอง 
วิธีการตัดแต่กิ่งรองมีอัตราการขยายขนาดสูงสุด เซนติเมตรต่อปี 
รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และ วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ มี 
อัตราการขยายขนาด 2.64และ 2.12 เซนติเมตรต่อปีตามลาดับ เมื่อ 
เปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความเสียหายซึ่งมีอัตราการขยายขนาด 
4.18 เซนติเมตรต่อปี ในปีที่สามวิธีการตัดแต่งกิ่งรองมี 
การเจริญเติบโตของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟู 
การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น (ตารางที่ 1) ในปีแรก 
พบว่า การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นค่อนข้างตĬ่ำมาก ต้นที่ 
ตัดแต่งบริเวณกิ่งรองมีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นสูงสุด 
คือ 2.75 เซนติเมตรต่อปี รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่ง 
กิ่งบริเวณคาคบ และวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก มีการเพิ่ม 
ขึ้นของขนาดลĬำต้น 2.55 และ 2.44 เซนติเมตรต่อปี 
ตามลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความ 
เสียหาย มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 5.68 เซนติเมตร 
ต่อปี ในปีที่สอง วิธีการตัดแต่งกิ่งรองมีการเพิ่มขึ้นของ 
ขนาดลĬำต้นสูงสุด 3.32 เซนติเมตรต่อปี รองลงมา 
เป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และวิธีการตัดแต่งบริเวณ 
คาคบ มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 2.64 และ 2.12 
เซนติเมตรต่อปีตามลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้น 
ที่ไม่ได้รับความเสียหาย มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 
4.18 เซนติเมตรต่อปี ในปีที่สาม วิธีการตัดแต่งกิ่งรองมี 
การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นสูงสุด 3.55 เซนติเมตรต่อ 
รอบ 6 เดือน รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และ 
วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ มีการเพิ่มขึ้นของขนาด 
ลĬำต้น 3.25 และ 1.89 เซนติเมตรต่อรอบ 6 เดือน ตาม 
ลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย 
มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 4.03 เซนติเมตรต่อรอบ 6 
เดือน 
ผลของการฟื้นฟูต้นยางด้วยวิธีการต่างๆ 
1. วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ พบว่า การจัดการ 
ในการฟื้นฟูค่อนข้างง่าย ราคาฟื้นฟูค่อนข้างถูก การ 
แตกใบอ่อนค่อนข้างเร็วมาก กิ่งที่แตกออกมาเป็นกิ่ง 
0.0 
1 2 3 
ร้อยละ 
ปีทีทำกำรทดลอง 
ตัดแต่งบริเวณคาคบ 
ตัดแต่งกิ่งหลัก 
ตัดแต่งกิ่งรอง 
วิธีการ 
อัตราการเจริญเติบโตหลังจากรับการ 
ฟื้นฟูรายปี (เซนติเมตร) 
ปีที่ 1 ปีที่2 ปีที่3* 
ต้นที่ไม่ได้รับ 
ความเสียหาย 5.68 4.18 4.03 
ตัดแต่งบริเวณคา 
คบ 2.55 2.12 1.89
16 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ตารางที่ 1 การเพิ่มขึ้นของขนาดลำ�ต้น (เซนติเมตรต่อปี) หลังจากรับการฟื้นฟู 
วิธีการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3* 
ต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย 5.68 4.18 4.03 
ตัดแต่งบริเวณคาคบ 2.55 2.12 1.89 
ตัดแต่งกิ่งหลัก 2.44 2.64 3.25 
ตัดแต่งกิ่งรอง 2.75 3.32 3.55 
เล็กๆ ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงบริเวณรอย 
ตัด เมื่อกิ่งเริ่มมีขนาดใหญ่ มีกิ่งฉีกค่อนข้างมาก กิ่งที่ 
เจริญเติบโตมีลักษณะที่ไม่สมดุล เป็นวิธีที่ประสบความ 
สĬำเร็จน้อยที่สุด 
2. วิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก พบว่า การจัดการฟื้นฟู 
ทĬำได้ค่อนข้างยาก ทรงพุ่มที่เหลือมีนĬ้ำหนักน้อย ราคา 
ในการฟื้นฟูค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องจักรใน 
การทĬำงาน การแตกใบค่อนข้างช้า การแตกใบอ่อน 
ส่วนใหญ่จะไปกระจุกตัวที่ปลายกิ่งบริเวณรอยตัด มี 
อัตราการตายตĬ่ำ การฉีกของกิ่งอ่อนน้อย มีโครงสร้าง 
สĬำหรับการพัฒนาตามโครงสร้างเดิมชัดเจน เป็นวิธีที่ 
ค่อนข้างประสบความสĬำเร็จ ทรงพุ่มมีลักษณะสมดุล 
3. วิธีการตัดแต่งกิ่งรอง พบว่า การจัดการทĬำได้ 
ยาก เนื่องจากในทรงพุ่มมีน้Ĭำหนักมาก มีราคาฟื้นฟู 
ค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ใช้เครื่องจักรในการยกต้น แตก 
ใบอ่อนช้ามาก แต่มีอัตราการตายตĬ่ำ เจริญเติบโตตาม 
โครงสร้างเดิมชัดเจน เป็นวิธีการที่ประสบความสĬำเร็จ 
สูงสุด 
ตัวชี้วัดด้านเศรษฐศาสตร์ 
การวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับจาก 
การฟื้นฟูยางพาราจากขนาดสวนยาง 5 ไร่ ซึ่งเป็นขนาด 
สวนยางเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยใช้ตัวชี้วัด 
ทางการเงินได้แก่ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Val-ue 
: NPV) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit Cost 
Ratio : BCR) และอัตราผลตอบแทนภายในของการ 
ลงทุน (Internal Rate of Return : IRR) เป็นเกณฑ์ใน 
การวิเคราะห์ที่อัตราคิดลดร้อยละ 6 ณ ระดับราคายาง 
แผ่นดิบเฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 81.21 บาท 
(ตารางที่ 2) พบว่า จĬำนวนต้นยางที่ทĬำการฟื้นฟูจะ 
เป็นตัวกĬำหนดความคุ้มค่าของการฟื้นฟู วิธีการตัดแต่ง 
กิ่งรองจะเป็นวิธีการที่คุ้มค่าที่สุด เนื่องจากมีอัตราการ 
ตายที่ค่อนข้างต่Ĭำกว่า เมื่อนĬำมาวิเคราะห์แล้วคุ้มค่า 
คือ แปลงที่มีต้นยางล้มไม่เกินกว่า ร้อยละ 50 หรือ 
จĬำนวน 38 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อคĬำนวณค่า NPV มีค่า 
144,776 บาท ค่า BCR มีค่า 1.294 และค่า IRR มีค่า 
5.02% และสามารถคืนทุนภายในไม่เกิน 7 ปี ซึ่ง 
เป็นค่าที่สามารถยอมรับได้แม้จะมีค่า IRR ตĬ่ำกว่า 
อัตราคิดลดก็ตาม รองลงมาวีธีการตัดแต่งแบบกิ่ง 
หลัก สามารถทĬำได้หากมีจĬำนวนต้นที่ต้องฟื้นฟูไม่สูง 
กว่าร้อยละ 30 หรือ 23 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อคĬำนวณค่า 
NPV มีค่า 174,796 บาท ค่า BCR มีค่า 1.357 และ 
ค่า IRR มีค่า 6.00% และสามารถคืนทุนภายในไม่เกิน 
7 ปี เช่นกัน ส่วนวิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ ไม่คุ้มค่า 
กับการลงทุนฟื้นฟู แม้จะมีจĬำนวนต้นที่ต้องฟื้นฟูน้อย 
ก็ตาม 
ค่าต่างๆ เหล่านี้มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจของ 
เกษตรกร เป็นตัวบ่งชี้ว่าเกษตรกรมีความคุ้มค่ากับ 
การฟื้นฟูแปลงยางหรือไม่ 
สรุปผลการทดลองและคĬำแนะนĬำ 
การศึกษาวิธีการฟื้นฟูสวนยางพาราอายุมากกว่า 
5 ปีที่ได้รับความเสียหายจากวาตภัยเมื่อ ปี 2553 ใน 
จังหวัดสงขลา และพัทลุง ซึ่งมีลักษณะล้มราบ แบบ 
*วัดการเจริญเติบโต 6 เดือน
17 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 
ตารางที่ 2 ดัชนีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ 
ความคุ้มค่า 
ตัดแต่งบริเวณคาคบ 
อัตราการตายสะสม 
ร้อยละ 28.6 
ตัดแต่งกิ่งหลัก 
อัตราการตายสะสม 
ร้อยละ 12.4 
จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 30 
NPV (บาท) 47,962 174,796 227,480 
BCR 1.099 1.357 1.461 
IRR (%) 2.01 6.00 7.21 
ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) 11 7 6 
จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 50 
NPV (บาท) -15,120 93,671 144,776 
BCR 0.969 1.190 1.294 
IRR (%) -0.69 3.52 5.02 
ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - 9 7 
จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 70 
NPV (บาท) -88,711 5,773 50,784 
BCR 0.824 1.011 1.101 
IRR (%) -4.60 0.24 1.92 
ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - 19 12 
จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟูร้อยละ 100 
NPV (บาท) -199,097 -126,074 -90,203 
BCR 0.617 0.757 0.826 
IRR (%) -18.09 -6.67 -4.12 
ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - - - 
ต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย 
NPV (บาท) 554,899 
BCR 2.189 
IRR (%) 14.02 
ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) 4 
ตัดแต่งกิ่งรอง 
อัตราการตายสะสม 
ร้อยละ 5.5 
ถอนราก จากการฟื้นฟู มีจĬำนวนต้นรอดตายร้อยละ 
71.4 -94.5 และยังมีแนวโน้มมีความเสียหายเพิ่มเติม 
อีกในอนาคต วิธีการฟื้นฟูที่ประสบความสĬำเร็จสูงสุด 
คือ วิธีการตัดแต่งกิ่งรอง มีจĬำนวนต้นรอดตายสูงสุด 
ร้อยละ 95.5 การเจริญเติบโตสูงสุด และยังสามารถ 
รักษาทรงต้นเดิมได้อีกด้วย แต่การฟื้นฟูทĬำให้ช่วงระยะ 
เวลาการเก็บเกี่ยวลดลงอย่างน้อย 1 ปี รวมทั้งผลผลิต 
ก็ลดลงเช่นกัน โดยส่วนใหญ่เกษตรกรมักทĬำการฟื้นฟู 
โดยไม่ได้คĬำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุน โดยเฉพาะใน 
แปลงยางที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป การฟื้นฟูมีความคุ้มค่า 
ค่อนข้างต่Ĭำ ลงทุนสูง รวมทั้งการเจริญเติบโตในช่วงหลัง 
จากการฟื้นฟูปีที่ 1 -2 ค่อนข้างตĬ่ำมาก และการเจริญ
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35

More Related Content

More from สุพัชชา อักษรพันธ์

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้สุพัชชา อักษรพันธ์
 
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556สุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนสุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกสุพัชชา อักษรพันธ์
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105สุพัชชา อักษรพันธ์
 

More from สุพัชชา อักษรพันธ์ (12)

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
 
Nissan juke e brochure
Nissan juke e brochureNissan juke e brochure
Nissan juke e brochure
 
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
Munzzz magazine
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
รถคันแรก
 
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
 

วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35

  • 1. ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18
  • 2. ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 สารบัญ บทความ การเจริญเติบโตความหนาเปลือกและลักษณะทรงพุ่ม ของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่ระยะเปิดกรีด การฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัยธรรมชาติลมพัดหักล้ม ต้นทุนการแปรรูปยางขั้นต้นระดับโรงงาน สมบัติเนื้อไม้ยางพาราพันธ์ุปลูกเป็นการค้า กับการใช้ประโยชน์ 2 12 20 30 ประจำ�ฉบับ ย้ายข้าราชการ.... 38 RRIM 600 RRIT 251
  • 3. บทบรรณาธิการ จากภาพด้านในปกหลังของวารสารยางพารา มี ข้อความรณรงค์ต้นยางของท่าน โตพอหรือยัง ไม่ควร กรีดยางต้นเล็ก เพราะประสิทธิภาพการให้ผลผลิตตĬ่ำ ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจน้อย และสมบัติของนĬ้ำยาง มีคุณภาพด้อยหรือมีข้อกังวล ต้นยางเล็กมีความ สามารถสังเคราะห์นĬ้ำยางโมเลกุลขนาดใหญ่ได้น้อย กว่าต้นยางที่อายุมากหรือต้นยางใหญ่ ทĬำให้ไม่ สะดวกในการนĬำไปใช้ในผลิตภัณฑ์ยางบางชนิด แต่ยัง มีเกษตรกรบางรายที่ขาดความเข้าใจหรือมีความ จĬำเป็นต้องการหารายได้ จึงเปิดกรีดต้นยางเล็กที่ ระดับ 0.8-1.0 เมตร จากพื้นดิน โดยอ้างว่าที่ระดับ ความสูงขนาดนั้นต้นยางมีขนาดที่พอจะเปิดกรีดได้ ดังนั้น ในเนื้อหาของวารสารยางฉบับนี้ได้อธิบาย ความสัมพันธ์การเจริญเติบโตความหนาเปลือกและ ลักษณะทรงพุ่มของต้นยางพันธุ์ดีที่นิยมปลูกกัน อย่างแพร่หลาย คือ พันธุ์อาร์อาร์ไอเอ็ม 600 (RRIM 600) และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251(RRIT 251) ที่ ระยะเปิดกรีด เรื่องต่อมา ได้แสดงถึงเงื่อนไขความ คุ้มค่าของรูปแบบการฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัย ธรรมชาตินĬ้ำท่วมลมพัดหักล้ม สาเหตุเกิดจากพายุ ดีเปรสชั่นขึ้นฝั่งอ่าวไทยภาคใต้ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ซึ่งการฟื้นฟูจะต้องรีบดĬำเนินการและเสียค่า ใช้จ่ายมาก จะเห็นว่าการปลูกสร้างสวนยางที่ดีไม่ใช่ เรื่องง่าย ต้องลงทุนมากและมีความเสี่ยงหลาย ประการ ดังนั้น ควรปฏิบัติให้เหมาะสม นโยบาย การเลือกพื้นปลูกและกĬำหนดเขตปลูกยาง ควรมีการ ทบทวนใช้งานมากขึ้น เพราะเกี่ยวข้องกับห่วงโซ่ อุปทาน การขนส่ง ตลอดจนบริหารการเก็บวัตถุดิบ ยาง และสาเหตุที่ต้นทุนการผลิตยางประเทศไทย สูงกว่าประเทศอื่น ผู้วิจัยได้ศึกษาต้นทุนการแปรรูป ยางระดับโรงงานยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง นĬ้ำยางข้น ยางอื่นๆ ในเขตปลูกยางเดิมและเขตปลูกยางใหม่ ซึ่งในรายงานแสดงเห็นว่า โรงงานแปรรูปยางขนาด เล็ก มีการขยายไปตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาก และเกษตรกรนิยมผลิตยางก้อนถ้วย สĬำหรับ เรื่องไม้ยางพาราพันธุ์ปลูกเป็นการค้ากับการใช้ ประโยชน์ ได้นĬำมารวมไว้ในเล่มนี้ด้วย เพื่อแสดงให้ ทราบสมบัติไม้ยางพารา เป็นแนวความคิดปรับปรุง คุณภาพเนื้อไม้ยางพารา ทั้งนี้ เพราะยางพาราเป็น ไม้ยืนต้นที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดของประเทศ ผลผลิต ไม้ยางพาราในแต่ละปีมีมาก ซึ่งผู้เกี่ยวข้องจะได้ พิจารณาในปรับปรุงงานวิจัย เพื่อใช้งานให้เหมาะสม มากที่สุดตามความต้องการรูปแบบต่างๆ ใน อุตสาหกรรมไม้ เช่น เครื่องเรือน เชื้อเพลิง เยื่อ กระดาษ หรืออื่นๆ ต่อไป อารักษ์ จันทุมา บรรณาธิการ เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร นายสุวิทย์ รัตนพงศ์ ผู้อำ� นวยการสถาบัน วิจัยยาง บรรณาธิการ นายอารักษ์ จันทุมา ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิการ เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรัตน์ ทรงพานิช ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สมจิตต์ ศิขรินมาศ ผู้ช่วยผู้จัดการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ จักรพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
  • 4. 2 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 การเจริญเติบโตความหนาเปลือก และลักษณะทรงพุ่มของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่ระยะเปิดกรีด พิศมัย จันทุมา ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา สถาบันวิจัยยาง เนื่องจากคĬำแนะนĬำของสถาบันวิจัยยาง ปี 2550 ระบุให้ยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 เป็นพันธุ์ยางชั้นหนึ่งอยู่ในกลุ่มพันธุ์ที่ให้ผลผลิตนĬ้ำยาง สูงและยังเป็นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูกรวมกันมากกว่า ร้อยละ 90 ของพันธุ์ยางทั้งหมด การศึกษาเกี่ยวกับการ เจริญเติบโตในส่วนต่างของต้นยางมีความสัมพันธ์กับ ความหนาของเปลือกยาง รวมทั้งลักษณะของทรงพุ่ม ยางที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่กรีดยางล้วนแต่เป็นปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการให้ผลผลิตนĬ้ำยาง และสืบเนื่องจาก เกษตรกรเปิดกรีดยางต้นเล็กโดยเปิดกรีดที่ระดับ 0.80- 1.00 เมตร จากพื้นดิน โดยอ้างว่าที่ระดับความสูง ดังกล่าวต้นยางมีขนาดโตพอที่จะเปิดกรีดได้แล้ว ใน ขณะที่คĬำแนะนĬำของสถาบันวิจัยยางให้เปิดกรีดต้นยาง ที่มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 50 ซม. ที่ระดับความสูง 1.50 เมตร จากพื้นดิน และมีจĬำนวนต้นที่ได้ขนาดไม่ต่Ĭำกว่า ครึ่งหนึ่งของสวนยางทั้งหมด หรือมีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 45 ซม. ที่ระดับความสูง 1.50 เมตร จากพื้นดิน และมี จĬำนวนต้นที่ได้ขนาดไม่ตĬ่ำกว่าร้อยละ 80 ของสวนยาง ทั้งหมด ในการศึกษาครั้งนี้ได้เลือกสวนยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี (ปลูกปี 2546 และ 2547) ที่ จ.ฉะเชิงเทรา วัดขนาดเส้นรอบ ลĬำต้นและวัดความหนาเปลือกที่ระดับความสูง 10, 50, 75, 100, 125, 150, 170 และ 200 ซม. จากพื้นดิน รวม ทั้งวัดความสูงของการแตกกิ่งและขนาดเส้นรอบลĬำต้น ใต้คาคบโดยวัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นจĬำนวน 100 ต้น/ พันธุ์/อายุยาง วัดความหนาเปลือกโดยใช้เข็มเจาะ จĬำนวน 10 ต้น/พันธุ์/อายุยาง และวัดขนาดของกิ่งและ นับจĬำนวนกิ่ง จĬำนวน 30 ต้น/พันธุ์ ของยางอายุ 7 ปี นĬำข้อมูลไปวิเคราะห์ผลทางสถิติต่อไป ผลการศึกษา ลักษณะทรงพุ่มและการแตกกิ่งของต้นยาง ทรงพุ่มของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัย ยาง 251 มีลักษณะคล้ายกัน โดยยางอายุ 7 ปี มีขนาด เส้นรอบลĬำต้น 47.7 และ 48.4 ซม. วัดที่ระดับความสูง 170 ซม. จากพื้นดิน ตามลĬำดับ ยางพันธุ์ RRIM 600 ร้อยละ 100 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด มีการแตกกิ่ง แบบไม้กวาดหรือเกิดกิ่งซ้Ĭำอยู่บริเวณใกล้เคียงกัน (retieration branches, R) คือ มีจĬำนวนกิ่งเฉลี่ย 5 กิ่ง แตกจากจุดเดียวกัน จากบริเวณรอยแตกกิ่งหรือคาคบ ต้นยาง ไม่มีลĬำต้นหลัก (main stem) เพราะกิ่งที่แตก ออกมา ได้แก่ กิ่งรองที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 (R1, R2, R3, R4 และ R 5) มีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกัน เฉลี่ย 40.3, 33.5, 27.7, 23.0 และ 24.0 ซม. ตามลĬำดับ โดย กิ่งรองที่ 1, 2 และ 3 มีโอกาสที่จะเกิดมากที่สุด ร้อยละ
  • 5. 3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 100, 100 และ 87 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตาม ลĬำดับ สĬำหรับโอกาสในการแตกกิ่งรองที่ 4 และ 5 มี เพียงร้อยละ 50 และ 10 ตามลĬำดับ การแตกกิ่งย่อย จากกิ่งรองที่ 1 เฉลี่ย จĬำนวน 4 กิ่งย่อย ได้แก่ กิ่งย่อย ที่ 1, 2, 3 และ 4 (R1-1, R1-2 , R1-3 และ R1-4) มี ขนาดที่โคนกิ่งย่อย 26.9, 24.6, 22.2 และ 20.3 ซม. มี โอกาสเกิด ร้อยละ 53, 43, 43 และ 20 ของจĬำนวนต้น ยางทั้งหมด ตามลĬำดับ (ตารางที่ 1) เช่นเดียวกันในยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 ทรง พุ่มยางมีการแตกกิ่งแบบไม้กวาด สูงถึงร้อยละ 97 และ แตกกิ่งแบบมีลĬำต้นหลัก (trunk) เพียงร้อยละ 3 ของ จĬำนวนต้นยางทั้งหมด กิ่งรองที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 (R1, R2, R3, R4, R5 และ R6) มีขนาด 39.3, 32.1, 28.9, 27.4, 23.8 และ 24.4 ซม. ตามลĬำดับ และกิ่งรองที่ 1, 2 และ 3 มีโอกาสที่จะเกิดมากที่สุด ร้อยละ 97, 97 และ 83 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตามลĬำดับ รองลงมา คือ กิ่งรองที่ 4 มีโอกาสเกิดร้อยละ 63 ส่วนกิ่งรองที่ 5 และ 6 มีโอกาสเกิดเพียงร้อยละ 37 และ 10 ตาม ลĬำดับ การแตกกิ่งย่อยจากกิ่งรองที่ 1 เฉลี่ย จĬำนวน 4 กิ่งย่อย ได้แก่ กิ่งย่อยที่ 1, 2, 3 และ 4 (R1-1, R1-2 , R1-3 และ R1-4) มีขนาดที่โคนกิ่ง 24.1, 23.9, 22.0 และ 22.9 ซม. มีโอกาสเกิดร้อยละ 80, 77, 67 และ 43 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด ตามลĬำดับ (ตารางที่ 1) ความสูงของคาคบ ความสูงของคาคบและการแตกกิ่งของยางมี ความสĬำคัญต่อพื้นที่กรีดยางและผลผลิตไม้ยาง นอกจากนี้ ยังเกี่ยวกับความสามารถในการต้านทาน ตารางที่ 1 ลักษณะทรงพุ่มและการแตกกิ่งของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 7 ปี พันธุ์ RRIM 600 พันธุ์ RRIT 251 โอกาส เกิดขึ้น (%) โอกาส เกิดขึ้น (%) ลักษณะ STD STD ทางพฤกษศาสตร์ ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา เส้นรอบต้น (Girth) 47.7* 48.4* จĬำนวนกิ่งใหญ่ R (กิ่งแยก) 5 6 จĬำนวนกิ่งใหญ่ T(ลĬำต้นเดี่ยว) 0 1 R1 (กิ่งรอง 1) 40.3** 6.6 100 39.3** 5.4 97 R1-1 (กิ่งย่อย 1) 26.9** 8.0 53 24.1** 3.9 80 R1-2 (กิ่งย่อย 2) 24.6** 4.6 43 23.9** 3.9 77 R1-3 (กิ่งย่อย 3) 22.2** 2.7 43 22.0** 3.3 67 R1-4 (กิ่งย่อย 4) 20.3** 3.0 20 22.9** 3.6 43 R2 (กิ่งรอง 2) 33.5** 4.4 100 32.1** 4.7 97 R3 (กิ่งรอง 3) 27.7** 5.3 87 28.9** 5.1 83 R4 (กิ่งรอง 4) 23.0** 4.6 50 27.4** 5.2 63 R5 (กิ่งรอง 5) 24.0** 2.9 10 23.8** 4.3 37 R6 (กิ่งรอง 6) - - 24.4** 2.6 10 * วัดที่ระดับความสูง 170 ซม. จากพื้นดิน มีหน่วยเป็นเซนติเมตร ** เส้นรอบวงกิ่ง (ซม.) วัดที่ 10 เซนติเมตร เหนือรอยแตกกิ่ง
  • 6. 4 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ลม การตัดแต่งทรงพุ่มที่ระดับสูง 4-5 เมตร และทรงพุ่ม มีขนาดใหญ่ทĬำให้ต้นยางมีโอกาสโค่น ลĬำต้นฉีกขาด เสียหายมากกว่า สĬำหรับสวนยางในเขตจังหวัด ฉะเชิงเทรา เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมตัดแต่งกิ่งที่ระดับ ความสูง 2.5-3.0 เมตร (ภาพที่ 1) โดยตัดกิ่งที่อยู่ตĬ่ำกว่า ระดับดังกล่าวออกหมด ขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูงต่างๆ กัน ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี (ตารางที่ 2) พบว่า ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. มีความ แตกต่างกันโดยแสดงความแตกต่างทางสถิติอย่างมี นัยสĬำคัญยิ่ง ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาด เส้นรอบลĬำต้นสูงสุด 50.7 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้น ที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้น รอบลĬำต้น 44.8, 42.8, 41.8 และ 40.8 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่ แตกต่างกันทางสถิติ คือ 40.1 และ 39.6 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียวกับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบ ลĬำต้น 39.6 และ 39.3 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ ระดับ 200 ซม. อย่างไรก็ตาม ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ ความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้น มากกว่าที่ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.7, 1.7, 2.7 และ 4.7 ซม. ตามลĬำดับ ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 7 ปี (ตารางที่ 2) แสดง ผลเช่นเดียวกันกับยางอายุ 6 ปี ขนาดลĬำต้นที่ระดับ ความสูง 10-200 ซม. แสดงความแตกต่างทางสถิติ อย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นสูงสุด 59.8 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มี ขนาดเส้นรอบลĬำต้น 55.3, 51.1, 49.9 และ 48.9 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกันทางสถิติ คือ 48.3 และ 47.4 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียวกับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 47.7 และ 47.3 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ระดับ 200 ซม. ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ ความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้น มากกว่าที่ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.6, 1.6, 2.8 และ 5.0 ตามลĬำดับ ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 ปี (ตาราง ที่ 2) ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. แสดง ความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น สูงสุด 50.1 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 RRIM 600 6 ปี ภาพที่ 1 ความสูงของต้นยางถึงบริเวณคาคบ ของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี 6 3.0 2.5 2.7 3.0 0.0 R600-6 years R600-7 years R251-6 years R251-7 years ความสูงของคาคบ (ม.) ภาพที่ 1 ความสูงของต้นยางถึงบริเวณคาคบ ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี RRIM 600 7 ปี RRIT 251 6 ปี RRIT 251 7 ปี
  • 7. 5 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ตารางที่ 2 ขนาดเส้นรอบลำ�ต้น(ซม.)ที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา ระดับความสูง RRIM 600 สถาบันวิจัยยาง 251 จากพื้นดิน ยางอายุ 6 ปี (ปลูกปี 2547) ยางอายุ 7 ปี (ปลูกปี 2546) 44.5, 42.7, 41.1 และ 40.4 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาด เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน ทางสถิติ คือ 39.8 และ 39.4 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียว กับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 39.4 และ 39.0 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ ระดับ 200 ซม. และขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.6, 1.6, 2.9 และ 4.7 ซม. ตามลĬำดับ ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 7 ปี (ตารางที่ 2) ขนาดลĬำต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. แสดง ความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง พบว่า ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น สูงสุด 61.5 ซม. รองลงมา คือ ขนาดลĬำต้นที่ระดับ 50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 54.3, 52.1, 50.6 และ 49.7 ซม. ตามลĬำดับ แต่ขนาดเส้น รอบลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน ยางอายุ 6 ปี (ปลูกปี 2547) ยางอายุ 7 ปี (ปลูกปี 2546) ทางสถิติ คือ 49.0 และ 48.4 ซม. ตามลĬำดับ เช่นเดียว กับที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 48.4 และ 47.9 ซม. ตามลĬำดับ ไม่แตกต่างกัน แต่ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. แตกต่างจากที่ ระดับ 200 ซม. และขนาดของลĬำต้นที่ระดับความสูง 125, 100, 75 และ 50 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ ระดับ 150 ซม. จากพื้นดิน ประมาณ 0.7, 1.6, 3.1 และ 5.3 ซม. ตามลĬำดับ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของลĬำต้นกับระดับ ความสูงของต้นยาง ยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่ อายุเท่ากันมีขนาดเส้นรอบลĬำต้นไม่แตกต่างกัน โดยยาง พันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีอัตราการเพิ่มของขนาด เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 170 ซม. จากพื้นดิน เฉลี่ย 9.0 ซม./ปี มากกว่าพันธุ์ RRIM 600 มีอัตราการเพิ่มของ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 8.1 ซม./ปี (ภาพที่ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลĬำต้นและ (ซม.) เฉลี่ย ทั้งหมด 10 50.7 a 59.8 a 50.1 a 61.5 a 55.4 a 50 44.8 b 53.3 b 44.5 b 54.3 b 49.1 b 75 42.8 c 51.1 c 42.7 c 52.1 c 47.1 c 100 41.8 d 49.9 d 41.4 d 50.6 d 45.8 d 125 40.8 e 48.9 e 40.4 e 49.7 e 44.8 e 150 40.1 f 48.3 f 39.8 f 49.0 f 44.2 f 170 39.6 fg 47.7 fg 39.4 fg 48.4 fg 43.7 fg 200 39.3 g 47.3 g 39.0 g 47.9 g 43.3 g CV% 6.9 7.9 7.1 10.4 8.3 หมายเหตุ ตัวเลขในแนวตั้งที่ตามท้ายด้วยตัวอักษรที่ไม่เหมือนกัน มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำ�คัญยิ่ง
  • 8. 6 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ระดับความสูงของต้นยาง พบว่า มีความสัมพันธ์แบบ ปฏิภาคผกผัน คือ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นมีขนาดลดลงตาม ระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 3) โดยยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 และ 7 ปี มีค่าสหสัมพันธ์ 99 เปอร์เซ็นต์ และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีค่าสหสัมพันธ์ 99 เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกัน การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลĬำต้นยางที่ระดับ ความสูงของลĬำต้นต่างกัน ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี ที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นน้อยกว่า 40 ซม., 40-45 ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ 55, 38 และ 7 ของจĬำนวน ต้นยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) ในขณะที่ยางพันธุ์เดียวกันที่ อายุ 7 ปี วัดที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบ ลĬำต้น 40-45 ซม., 45-50 ซม. และ มากกว่า 50 ซม. ร้อยละ 29, 37 และ 34 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) เช่นเดียวกันในยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 ปี ที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น น้อยกว่า 40 ซม., 40-45 ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ 50, 46 และ 4 ของจĬำนวนต้นยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) ในขณะ ที่ยางพันธุ์เดียวกันที่อายุ 7 ปี วัดที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้น 40-45 ซม., 45-50 ซม. และ มากกว่า 50 ซม. ร้อยละ 27, 32 และ 41 ของจĬำนวนต้น ยางทั้งหมด (ภาพที่ 4) ความหนาของเปลือกยาง ความหนาเปลือกยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. แสดงความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสĬำคัญยิ่ง ใน ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 และ 7 ปี พบว่า ความหนา เปลือกยางที่ระดับโคนต้น 10 ซม. จากพื้นดิน เท่ากับ 8.5 และ 9.7 มม. ตามลĬำดับ มีความหนาเปลือกมาก กว่าที่ระดับความสูง 50-200 ซม. โดยมีความหนา เปลือกไม่แตกต่างกัน และที่ระดับความสูง 150 ซม. ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 7.9 มม. มากกว่ายาง อายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 7.1 มม. (ตาราง ที่ 3) เช่นเดียวกับยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี พบว่า ความหนาเปลือกยางที่ระดับโคนต้น 10 ซม. จากพื้นดิน เท่ากับ 8.1 และ 7.8 มม. ตามลĬำดับ มีความหนาเปลือกมากกว่าที่ระดับความสูง 50-200 ซม. โดยมีความหนาเปลือกไม่แตกต่างกัน และที่ระดับ ความสูง 150 ซม. ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 7.2 มม. มากกว่ายางอายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 10 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 RRIM 600 0 10 20 30 40 50 60 70 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 RRIT 251 0 10 20 30 40 50 60 70 ภาพที่ 2 ขนาดเส้นรอบลาต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ ภาพที่ 2 ขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี
  • 9. 7 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 11 RRIM 600 y = 4E+20x-11.5 R² = 0.99 y = 2E+23x-12.55 R² = 0.99 250 200 150 100 50 6 year 7 year 250 200 150 100 50 RRIT 251 6 year 7 year ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี 7.1 มม. (ตารางที่ 3) ความหนาของเปลือกยางมีความสัมพันธ์กับระดับ ความสูงของต้นยางเป็นแบบปฏิภาคผกผัน โดยเมื่อ ความสูงของลĬำต้นเพิ่มขึ้น ความหนาของเปลือกยางลด ลง (ภาพที่ 5) วิจารณ์ผลการศึกษา ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 และ RRIM 600 มี ลักษณะการแตกกิ่งและทรงพุ่มคล้ายกัน โดยพันธุ์ สถาบันวิจัยยาง 251 มีการแตกกิ่งมากทั้งในขนาดใหญ่ และขนาดปานกลาง และทรงพุ่มมีขนาดใหญ่ เป็นรูป กลม ในขณะที่พันธุ์ RRIM 600 แตกกิ่งช้า กิ่งมีขนาด ปานกลาง ทิ้งกิ่งมาก ทรงพุ่มมีขนาดปานกลางเป็น รูปพัด (สถาบันวิจัยยาง, 2550) ทั้ง 2 พันธุ์ เป็นพันธุ์ ยางชั้น 1 ที่ให้ผลผลิตนĬ้ำยางสูงและมีการแตกกิ่งแบบ R (retieration branches) จĬำนวน 5-6 กิ่ง เช่นเดียวกัน และพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีโอกาสแตกกิ่งย่อย R1-1, R1-2 และ R1-3 ร้อยละ 80, 77 และ 67 ในขณะ ที่พันธุ์ RRIM 600 มีโอกาสแตกน้อยกว่าในการแตก กิ่งย่อย คือ กิ่งย่อย R1-1 มีร้อยละ 53 สĬำหรับกิ่งย่อยที่ 2-4 มีโอกาสเกิดเพียงร้อยละ 20-43 นอกจากนี้ ความ สูงของการแตกกิ่งหรือคาคบ 2.5-3.0 เมตร ทั้งนี้ปัจจัย ดังกล่าวขึ้นอยู่กับการตัดแต่งกิ่งของเกษตรกร ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีอัตราการเจริญ เติบโตก่อนเปิดกรีด 9.0-9.2 ซม./ปี มากกว่ายางพันธุ์ RRIM 600 มีอัตราการเจริญเติบโตก่อนเปิดกรีด 8.3-8.5 0 0 10 20 30 40 50 60 70 y = 6E+20x-11.61 R² = 0.99 y = 1E+22x-11.74 R² = 0.99 0 0 10 20 30 40 50 60 70 ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นรอบลาต้นที่ระดับความสูง 10- 200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี 5. การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลาต้นยางที่ระดับความสูงของลาต้น ต่างกัน ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 ปี ที่ระดับความสูง 150 ซม. มีขนาด เส้นรอบลาต้น น้อยกว่า 40 ซม., 40-45 ซม. และ 45-50 ซม. ร้อยละ
  • 10. แตกต่างกัน และที่รับความสูง 150 ซม. ยางอายุ 7 ปี มีความหนาเปลือก 0.72 ซม. มากกว่ายางอายุ 6 ปี มีความหนาเปลือกเพียง 0.70 มม. (ตารางที่ 3) ความหนาของเปลือกยางมีความสัมพันธ์กับระดับความสูงของต้นยางเป็น แบบปฏิภาคผกผัน โดย เมื่อความสูงของลาต้นเพิ่มขึ้น ความหนาของเปลือกยางลดลง (ภาพที่ 5) 8 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 RRIM 600-7 years 97 69 50 43 39 34 28 26 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. จานวน (%) <40 ซม. 40-45 ซม. 45-50 ซม. >50 ซม. RRIM 600-6 years 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. จานวน (%) 100 RRIT 251-7 years 73 57 52 46 41 36 32 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. จานวน (%) <40 ซม. 40-45 ซม. 45-50 ซม. >50 ซม. RRIT 251-6 years 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 10 ซม. 50 ซม. 75 ซม. 100 ซม. 125 ซม. 150 ซม. 170 ซม. 200 ซม. จานวน (%) ภาพที่ 4 การกระจายตัวของขนาดเส้นรอบลำ�ต้นที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี ซม./ปี สĬำหรับขนาดเส้นรอบลĬำต้นยางที่ระดับตั้งแต่ โคนต้น 10-200 ซม. แสดงความแตกต่างกันทางสถิติ ตามระดับความสูงของต้นยาง แต่ขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดย เส้นรอบลĬำต้นที่ระดับโคนต้น 10 ซม. มีขนาดใหญ่ที่สุด สĬำหรับขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 10, 50, 75, 100 และ 125 ซม. มีขนาดมากกว่าเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. เฉลี่ย 11.2, 4.9, 2.9, 1.6 และ 0.6 ซม. ตามลĬำดับ และขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 170 และ 200 ซม. มี ขนาดน้อยกว่าเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 ซม. เฉลี่ย 0.5 และ 0.9 ซม. ตามลĬำดับ ตรงกับงานวิจัยของ Dijkman (1951) กล่าวว่า ต้นที่ขยายพันธุ์โดยการติดตา ลĬำต้นมี ขนาดโตสมĬ่ำเสมอ มีลักษณะเป็นทรงกระบอก ขนาด ลĬำต้นไม่แตกต่างกันตั้งแต่โคนต้นถึงบริเวณใต้ทรงพุ่ม ในทางกลับกันต้นกล้ายางที่ปลูกด้วยเมล็ดมีลักษณะต้น เป็นรูปทรงกรวย ดังนั้น การที่เกษตรกรเปิดกรีดยางที่ ระดับตĬ่ำ 75-80 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นมากกว่าระดับ 150 ซม. ประมาณ 3-5 ซม. โดยเกษตรกรมากกว่า ร้อยละ 90 ยังเข้าใจว่าต้นที่ได้ขนาดเปิดกรีดวัดที่ระดับ ที่เปิดกรีด 75-80 ซม. ในขณะที่สถาบันวิจัยยาง (2550) แนะนĬำให้วัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่จะเปิดกรีด ที่ระดับ 150 ซม. เท่านั้น และกรณีเปิดกรีดที่ระดับ 100-125 ซม. มีขนาดลĬำต้นมากกว่าที่ระดับ 150 ซม. เพียง 1.6 และ 0.6 ซม. เท่านั้น ที่ระดับ 10 ซม. หรือบริเวณโคนต้น ส่วนของ เปลือกมีความหนามากกว่าที่ระดับอื่นๆ และความหนา เปลือกที่ระดับ 50-200 ซม. ที่ความหนาเปลือกไม่แตก ต่างกัน เช่นเดียวกับงานวิจัยของ Gomez (1982) กล่าว ว่า จĬำนวนท่อนĬ้ำยางจากต้นเดียวกันมีความสัมพันธ์กับ ความหนาของเปลือกและในต้นติดตามีจĬำนวนวงท่อนĬ้ำ ยางที่ระดับความสูงต่างๆ กัน ไม่แตกต่างกัน ยางพันธุ์ RRIM 600 อายุ 6 และ 7 ปี มีความหนาเปลือกเฉลี่ย 7.0 และ 7.9 มม. ตามลĬำดับ และพันธุ์สถาบันวิจัย ยาง 251 มีความหนาเปลือกเฉลี่ย 7.2 และ 7.2 มม. ตามลĬำดับ ตรงกับสถาบันวิจัยยาง (2550) กล่าว ว่ายางทั้ง 2 พันธุ์ ทั้งเปลือกเดิมและเปลือกงอกใหม่มี
  • 11. 9 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ตารางที่ 3 ความหนาเปลือกของต้นยาง (มม.) ที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี ในแปลงเกษตรกร อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา ระดับความสูง RRIM 600 สถาบันวิจัยยาง 251 จากพื้นดิน (ซม.) เฉลี่ย ทั้งหมด ยางอายุ 6 ปี (ปลูกปี 2547) ยางอายุ 6 ปี (ปลูกปี 2547) ยางอายุ 7 ปี (ปลูกปี 2546) ยางอายุ 7 ปี (ปลูกปี 2546) 10 8.5 a 9.7 a 8.1 a 7.8 a 8.8 a 50 7.3 b 8.8 b 7.7 b 7.5 ab 7.8 b 75 7.0 b 8.0 c 7.2 bc 7.1 b 7.3 c 100 7.0 b 8.0 c 7.1 c 7.1 b 7.3 c 125 7.0 b 7.9 cd 7.1 c 7.2 b 7.3 c 150 7.0 b 7.9 cd 7.1 c 7.2 b 7.3 c 170 7.0 b 7.5 cd 7.1 c 7.2 b 7.2 c 200 7.0 b 7.2 d 7.1 c 7.2 b 7.1 c CV% 5.05 8.99 2.44 6.63 8.17 หมายเหตุ ตัวเลขในแนวตั้งที่ตามท้ายด้วยตัวอักษรที่เหมือนกัน ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ 200 150 100 50 RRIM 600 6 year 7 year 200 150 100 50 RRIT 251 6 year 7 year ภาพที่ 5 ความหนาเปลือกของต้นยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 อายุ 6 และ 7 ปี 16 0 0 2 4 6 8 10 12 0 0 2 4 6 8 10 ภาพที่ 5 ความหนาเปลือกของต้นยางที่ระดับความสูง 10-200 ซม. จากพื้นดิน ของยางพันธุ์ RRIM 600 และ สถาบันวิจัยยาง 251 (RRIT 251) อายุ 6 และ 7 ปี
  • 12. 10 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ภาพที่ 6 ลักษณะการแตกกิ่งของยางพันธ์ุ RRIM 600 (Trunk) (retieration branches, R) ก. ข. ภ พท 1 (trunk) ช GT 1 ะ (reiteration branches, R) ภาพที่ 8 การแตกกิ่งของต้นยาง ก. แบบมีล�ำ ต้นหลัก (trunk) เช่น PB 235 และ ข. การแตกกิ่งแบบซ�้ำกิ่ง (reiteration branches, R) เช่น RRIM 600 และสถาบันวิจัยยาง 251 ที่มา : http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurri-cane. ท http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurricane.html (1 ส. . 2557) htm. (1 ส.ค. 2557) ภาพที่ 7 ลักษณะการแตกกิ่งของยางพันธ์ุ RRIT 251 ภาพที่ 9 การเจาะวัดความหนาของเปลือกต้นยางที่ระดับความสูงต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์การเจาะ (ภาพเล็กซ้ายมือ) (Trunk) (retieration branches, R) ภ พท 1 (trunk) ช GT 1 ะ (reiteration branches, R) ท http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/hurricane.html (1 ส. . 2557) ความหนาปานกลาง และความหนาเปลือกที่เหมาะสม ในการกรีดยาง ประมาณ 8.0 มม. (โชคชัย, 2541) สรุปผลและแนะนำ� 1. ยางพันธุ์สถาบันวิจัยยาง 251 มีทรงพุ่มเป็น
  • 13. 11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 รูปทรงกลมขนาดใหญ่ มีกิ่งขนาดใหญ่ แตกกิ่งบริเวณ คาคบ จĬำนวน 3-4 กิ่ง และส่วนใหญ่ไม่มีลĬำต้นหลัก และในพันธุ์ RRIM 600 เช่นเดียวกัน มีกิ่งใหญ่ขนาด ปานกลาง จĬำนวน 2-3 กิ่ง แตกกิ่งบริเวณคาคบ และ ไม่มีลĬำต้นหลัก เป็นพันธุ์ที่มีทรงพุ่มขนาดปานกลาง 2. ขนาดของลĬำต้น ที่ระดับความสูงต่างๆ 10-200 ซม. มีความสัมพันธ์แบบปฏิภาคผกผันกัน โดยที่ระดับ 10 ซม. มีขนาดเส้นรอบลĬำต้นมากที่สุด และขนาดลĬำต้น ลดลงตามระดับความสูง แต่ขนาดของลĬำต้นที่ระดับ 150 และ 170 ซม. ไม่แตกต่างกัน 3. ความหนาเปลือกยาง ที่ระดับความสูงต่าง ๆ 10-200 ซม. มีความสัมพันธ์แบบปฏิภาคผกผันกัน โดยที่ระดับ 10 ซม. มีความหนาเปลือกมากที่สุด และ ความหนาเปลือกที่ระดับ 50-200 ซม. ไม่แตกต่างกัน 4. ขนาดของลĬำต้นที่เหมาะสมต่อการกรีดยาง ให้ วัดขนาดเส้นรอบลĬำต้นที่ระดับ 150 หรือ 170 ซม.เท่านั้น โดยมีขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 50 ซม. มีจĬำนวนต้น มากกว่าร้อยละ 50 ของจĬำนวนต้นทั้งหมดในสวน หรือ ขนาดเส้นรอบลĬำต้นเฉลี่ย 45 ซม. มีจĬำนวนต้นมากกว่า ร้อยละ 80 ของจĬำนวนต้นทั้งหมด เอกสารอ้างอิง โชคชัย เอนกชัย. 2541. การวิจัยและพัฒนาการกรีดยาง. เอกสารประกอบในการประชุมคณะกรรมการ วิชาการและนักวิชาการสถาบันวิจัยยาง ระหว่างวันที่ 7 เมษายน 2541. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (เอกสารโรเนียว). สถาบันวิจัยยาง. 2550. การกรีดยางและการใช้สารเคมี เร่งนĬ้ำยาง. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร. 148 หน้า. Dikman, M.J. 1951. Hevea: Thirty Years of Research in the Far East. University of Miami Press. Florida, USA. Gomez, J.B. 1982. Anatomy of Hevea and Its Influence on Latex Production. Malaysian Rubber Research and Development Board Monograph No.7. http://nassau.ifas.ufl.edu/news/masterfulgardening/ hurricane.htm. (1 ส.ค. 2557)
  • 14. 12 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 การฟื้นฟูสวนยางที่ประสบภัยธรรมชาติ ลมพัดหักล้ม ทรงเมท สังข์น้อย ศุภมิตร ลิมปิชัย และ สายสุรีย์ วงศ์วิชัยวัฒน์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำ�นักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร จากเหตุการณ์นĬ้ำท่วมและผลกระทบของลมพายุ ดีเปรสชั่นทางภาคใต้ ซึ่งมีสถิติการเกิดพายุในประเทศ ไทยค่อนข้างถี่มากขึ้นในปัจจุบัน ประมาณสามปี ต่อครั้ง และในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2553 พายุ ดีเปรสชัน (TD4) ในอ่าวไทยตอนล่างได้เคลื่อนตัว ขึ้นฝั่งภาคใต้ของประเทศไทยบริเวณอĬำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ได้ก่อให้เกิดนĬ้ำท่วมฉับพลันและนĬ้ำป่า ไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนและพายุเข้าทĬำลายพื้นที่ การเกษตรในหลายพื้นที่ของภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่ ปลูกยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศได้รับ ความเสียหายกว่าแสนไร่ ประกอบกับลักษณะดินส่วน ใหญ่ในจังหวัดสงขลา และพัทลุง เป็นดินชุดคลองท่อม และดินชุดคอหงส์ ดินทั้งสองชุดเป็นดินที่มีลักษณะเป็น ทรายจัด และการปลูกยางในปัจจุบัน ใช้ต้นตอตาเขียว เป็นวัสดุปลูกระบบรากค่อนข้างอ่อนแอ จึงทĬำให้ ยางพาราล้มได้ง่าย ยางพาราที่เสียหายมีหลายลักษณะโดยแบ่งตาม อายุ โดยสวนที่ได้รับความเสียหายจากนĬ้ำท่วมขัง ส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่เริ่มปลูกจนกระทั่งอายุประมาณ 1 ปี ส่วนสวนยางที่ได้รับความเสียหายจากลมพายุ ส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป พบว่า ลักษณะ ความเสียหายของต้นยางจากลมพายุ จะมีหลาย ลักษณะ เช่น ต้นจะเอนลู่ตามลม ต้นโยกคลอน และ โค่นล้มถอนราก สวนยางที่มีอายุมากกว่า 5 ปี ต้นจะ หักกลางลĬำต้นและโค่นล้มถอนราก สร้างความเสียหาย หลายพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง เป็นความเดือดร้อนของ เกษตรกรเจ้าของสวนยางที่ต้องสูญเสียทรัพย์สิน โอกาส และรายได้ จากเหตุการณ์ดังกล่าวจĬำเป็นต้องทĬำ การศึกษาและสĬำรวจสภาพความเสียหาย ผลกระทบ ที่มีต่อสวนยางในระยะสั้นและระยะยาว ทĬำให้ทราบ ถึงแนวทางการฟื้นฟูที่เหมาะสม ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 ให้การช่วยเหลือ เกษตรกรชาวสวนยางที่ได้รับความเสียหายจาก อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม โดยมอบให้สĬำนักงาน กองทุนสงเคราะห์การทĬำสวนยาง เป็นหน่วยงานหลัก ในการดĬำเนินการ และการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ชาวสวนยางพาราที่ได้รับความเสียหาย ทั้งเสียสภาพ สวนและไม่เสียสภาพ กรณีสวนยางเสียหายเอนล้ม สามารถตัดแต่งแล้วยกคĬ้ำยันให้ต้นตรงได้ ได้รับความ ช่วยเหลือจ่ายเงินเป็นค่าคĬ้ำยันครั้งเดียว โดยต้นยาง อายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 3 ปี อัตราต้นละ 50 บาท และต้นยางอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป อัตราต้นละ 100 บาท งบประมาณเฉพาะการฟื้นฟูในจังหวัดสงขลา และพัทลุงต้องใช้งบประมาณไม่ตĬ่ำกว่า 160 ล้านบาท ซึ่งยังไม่มีการศึกษาผลของการฟื้นฟู วิธีการ รวมทั้ง ข้อมูลความคุ้มค่าของการฟื้นฟู จึงควรศึกษาวิธีการ ฟื้นฟูสวนยางหลังจากประสบความเสียหายจากภัย ธรรมชาติต่อไป วิธีการทดลอง คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย คัดเลือกโดยพิจารณาพื้นที่ปลูกยางที่ได้รับความ เสียหายจากภัยธรรมชาติในเขตจังหวัดสงขลาและ พัทลุงสĬำรวจความเสียหายโดยคัดเลือกสวนยางที่ เสียหายโดยต้นยางที่มีลักษณะล้มราบ ต้นยางมีอายุ 5-6 ปี จĬำนวน 20 แปลง วิเคราะห์ลักษณะชุดดินและ
  • 15. 13 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 สมบัติของดินในสวนยาง วิเคราะห์ผลจากการฟื้นฟูสวนยางพาราในแต่ละแบบ 1. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณคาคบ (ภาพที่ 1ก.) 2. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณกิ่งหลัก (ภาพที่ 1ข.) 3. ตัดแต่งต้นยางยางพาราบริเวณกิ่งรอง (ภาพที่ 1ค.) วิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้อัตราคิดลดร้อยละ 8 ซึ่ง เป็นอัตราคิดลดที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงการโดย ทั่วไป และเป็นอัตราคิดลดที่ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ (MRR 7.5) ใช้ตัวชี้วัดทาง การเงินที่สĬำคัญ คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผล ตอบแทนต่อต้นทุน และอัตราผลตอบแทนภายในของ การลงทุน มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) คือ ความแตกต่างระหว่างมูลค่าปัจจุบันของผล ตอบแทนกับมูลค่าปัจจุบันของต้นทุน หลักเกณฑ์ใน การพิจารณาโครงการ คือ จะเลือกดĬำเนินโครงการก็ ต่อเมื่อมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ จึงจะถือว่าผลตอบแทนจากการลงทุนนั้นคุ้มค่า เพราะ แสดงว่ารายได้มากกว่าหรือเท่ากับต้นทุน อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit-Cost Ratio : BCR) เป็นการเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันของ ผลตอบแทนกับมูลค่าปัจจุบันของต้นทุน หลักเกณฑ์ ในการตัดสินใจ คือ ค่า BCR ต้องมากกว่า 1 ซึ่งหมาย ถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากโครงการมีมากกว่าต้นทุน ที่เสียไป อัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุน (Internal Rate of Return : IRR) เป็นอัตราผลกĬำไรของ ฟาร์มที่ได้รับจากการลงทุนตลอดอายุโครงการ หลัก เกณฑ์ในการตัดสินใจ คือ อัตราคิดลดที่ทĬำให้มูลค่า ปัจจุบันสุทธิเท่ากับศูนย์ หรืออัตราผลตอบแทนที่มาก กว่าอัตราคิดลดของโครงการ กระแสเงินสดรับในแต่ละปีไม่เท่ากันจะต้อง คĬำนวณโดยอาศัยการรวมกระแสเงินสดรับสะสมตั้งแต่ ปีแรกและเปรียบเทียบกับเงินลงทุนทั้งหมดของโครงการ ซึ่งระยะเวลาคืนทุน คือ ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับ สะสมเท่ากับเงินลงทุน จากสูตร ระยะเวลาคืนทุน (ปี) = ยอดเงินงวดสุดท้ายที่ต้องการ ยอดกระแสเงินสดงวดถัดไป จĬำนวนปีก่อนคืนทุน + ก ข ค ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่หลัก ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่งหลัก ภาพที่ 4 ตัดแต่งบริเวณคาคบ ภาพที่.5 ตัดแต่งกิ่งหลัก ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง ภาพที่6 วิธีการตัดแต่งรอง ภาพที่ 1 การตัดแต่งต้นยางพาราแบบต่างๆ ก.ตัดแต่งบริเวณคาคบ ข.ตัดแต่งกิ่งหลัก ค.ตัดแต่งกิ่งรอง
  • 16. 14 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ผลการทดลองและวิจารณ์ ปริมาณนĬ้ำฝน ช่วงเวลาที่แปลงยางโดนลมพายุอย่างในช่วงเดือน พฤศจิกายน 2553 เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ฟื้นฟูแปลง ยางในช่วงเดือนธันวาคม 2553 ซึ่งในทุกการทดลองพบ ว่า ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่มีผลต่อการ รอดตายสูงมากเนื่องจากในเดือนมกราคม –มีนาคม 2554 เป็นช่วงเวลาที่ยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟูกĬำลัง แตกใบอ่อน กĬำลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และยังไม่มี ระบบรากที่ช่วยในการหานĬ้ำ จึงทĬำให้ใบอ่อนที่แตกใหม่ อยู่ในช่วงสภาพอากาศที่แล้งจัด อุณหภูมิสูง (ภาพที่ 2) ซึ่งมีผลต่อการฟื้นฟูต้นยางพาราค่อนข้างสูง ดินและสมบัติของดิน ในพื้นที่ประสบภัยในจังหวัดสงขลา และจังหวัด พัทลุง อยู่ในเขตแนวรอยต่อของทั้งสองจังหวัดในตĬำบล เกาะใหญ่ อĬำเภอกระแสสินธุ์ ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น ดินร่วนหยาบหรือดินร่วนละเอียดปนทรายลึกมาก เนื้อ ดินเป็นดินร่วนปนทราย ระบายนĬ้ำได้ดี บางส่วนของ พื้นที่ จะมีลักษณะดินทรายหนามากกว่า 100 ซม. ดิน บนเป็นสีนĬ้ำตาล ดินล่างเป็นสีนĬ้ำตาล หรือเหลือง ระบายนĬ้ำได้ดีถึงดีมาก และมีลักษณะดินที่พบชั้นหิน ภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน ดินมีสีนĬ้ำตาล เหลือง หรือแดง ระบายนĬ้ำได้ดี ซึ่งดินในเขตนี้เป็นดินที่มี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตĬ่ำ มีโอกาสขาดแคลนนĬ้ำ เนื่องจากดินชั้นบนระบายนĬ้ำได้ดีมาก จึงเป็นอุปสรรค ต่อการฟื้นฟูต้นยางพาราที่ประสบภัยธรรมชาติและดิน ที่มีลักษณะมีทรายปนค่อนข้างสูงมีผลให้ต้นมีโอกาส ล้มซĬ้ำได้ ในเขตอĬำเภอปากพะยูน ดินมีลักษณะทรายหนา กว่า 100 ซม. หรือดินมีชั้นลูกรัง ก้อนกรวดมากกว่า ร้อยละ 35 แต่ไม่พบชั้นหินแข็ง อยู่ในช่วง 50-100 ซม.จากผิวดิน เป็นดินร่วนปนทราย และมีดินเหนียว ทับอยู่บนชั้นดิน มีความอุดมสมบูรณ์ของดินตĬ่ำ และมี การระบายนĬ้ำได้ดี จĬำนวนต้นยางที่รอดตาย การตายของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟูโดยการ เก็บข้อมูลในรอบ 3 ปี ตั้งแต่ ธันวาคม 2553 –กันยายน 2556 (ภาพที่ 3) พบว่า ในปีแรกหลังจากฟื้นฟูวิธีการตัด แต่งกิ่งรองเป็นวิธีที่มีต้นยางตายตĬ่ำสุด ร้อยละ 2 ซึ่ง ตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่งบริเวณคาคบที่ มีต้นยางตายร้อยละ 3.3 และ 18.0 ตามลĬำดับ มี ความแตกต่างอย่างมีนัยสĬำคัญ สาเหตุหลักที่ทĬำให้ ต้นยางที่ฟื้นฟูด้วยวิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบตาย มากที่สุด เนื่องจากการสูญเสียความชื้นภายในต้น จากสภาพอากาศที่แห้งแล้งในเดือนมกราคม ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2554 ในปีที่สอง วิธีการตัดแต่งกิ่ง 500 400 300 200 100 0 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ภาพที่ 2 ปริมาณน�้ำฝนและอุณหภูมิ จากสถานีตรวจอากาศเกษตรคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 40 30 20 10 0 อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) สถานีตรวจอากาศเกษตร คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา ปริมาณน้า ฝน (มม.) เปรียบเทียบปริมาณน้าฝนกับอุณหภูมิ ปริมาณน้า ฝนปี 2554 (มม.) ปริมาณน้า ฝนเฉลี่ย ย้อนหลัง 10 ปี (มม.) อุณหภูมิปี 2554 (องศา เซลเซียส) อุณหภูมิเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (องศาเซลเซียส)
  • 17. 15 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 20.0 15.0 10.0 5.0 อัตราการตาย ปีที่ทĬำกาอง ภาพที่ 3 การตายของต้นยางในแต่ละปี หลังจากได้รับการฟื้นฟู 2. การเจริญเติบโตของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟู รองยังเป็นวิธีที่มีต้นยางตายเพิ่มตĬ่ำสุด ร้อยละ 3 ซึ่งตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งบริเวณคาคบ และตัดแต่งกิ่ง หลัก มีต้นยางตายเพิ่มเติมร้อยละ 6.3 และ 5.2 ตามลĬำดับ สาเหตุหลักที่ทĬำให้ต้นยางที่ฟื้นฟูยังมี การตายเพิ่มเติมเนื่องจากปริมาณฝนในปี 2554 มี ลักษณะไม่สมĬ่ำเสมอ ทĬำให้เกิดการติดเชื้อโรคใบร่วง ไฟทอปเทอราในช่วงหลังจากฟื้นตัวได้ไม่นาน และบาง ส่วนมีการล้มซĬ้ำ เนื่องจากไม้ที่คĬ้ำยันต้นไว้ผุอีกด้วย ในปีที่สาม ต้นยางส่วนใหญ่ที่ประสบความสĬำเร็จในการ ฟื้นฟูยังมีจĬำนวนต้นตายเพิ่มเติมอีกด้วย โดยวิธีการ ตัดแต่งกิ่งรองเป็นวิธีที่มีต้นยางตายเพิ่มเติมตĬ่ำสุด ร้อย ละ 0.7 ซึ่งตĬ่ำกว่าวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่ง บริเวณคาคบ ที่มีต้นยางตายร้อยละ 2.8 และ 5.4 ตามลĬำดับ การตายเพิ่มเติมในปีที่ 3 ส่วนใหญ่เกิดจาก สาเหตุไม้คĬ้ำผุ ระบบรากใหม่ยังไม่สามารถสร้างใหม่ ทดแทนรากแขนงขนาดใหญ่ได้จึงทĬำให้ต้นล้มซĬ้ำ เมื่อ นĬำมารวมทั้งสามปีแล้วพบว่า วิธีการตัดแต่งกิ่งรองเป็น วิธีที่มีต้นยางตายตĬ่ำสุดร้อยละ 5.5 เป็นวิธีที่ประสบ ความสĬำเร็จสูงสุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสĬำคัญ กับวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และตัดแต่งบริเวณคาคบที่มี ต้นยางตายร้อยละ12.4 และ 28.6 ตามลĬำดับ การขยายขนาดลาต้น ในปีที่แรกพว่าอัตรากาขยายขดของ ลาต้นค่อนข้างต่ามาก พบว่าต้นที่ตัดแต่งบริเวณกิ่งรองมีอัตราการขยาย ขนาดสูงสุด 2.7 เซนติเมตรต่อปีรองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งบริเวณ คาคบ และ วิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก มีอัตราการขยายขนาด 2.55 และ 2.44 เซนติเมตรต่อปี ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความ เสียหายซึ่งมีอัตราการขยายขนาด 5.68 เซนติเมตรต่อปีในปีที่สอง วิธีการตัดแต่กิ่งรองมีอัตราการขยายขนาดสูงสุด เซนติเมตรต่อปี รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และ วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ มี อัตราการขยายขนาด 2.64และ 2.12 เซนติเมตรต่อปีตามลาดับ เมื่อ เปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความเสียหายซึ่งมีอัตราการขยายขนาด 4.18 เซนติเมตรต่อปี ในปีที่สามวิธีการตัดแต่งกิ่งรองมี การเจริญเติบโตของต้นยางพาราที่ได้รับการฟื้นฟู การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น (ตารางที่ 1) ในปีแรก พบว่า การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นค่อนข้างตĬ่ำมาก ต้นที่ ตัดแต่งบริเวณกิ่งรองมีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นสูงสุด คือ 2.75 เซนติเมตรต่อปี รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่ง กิ่งบริเวณคาคบ และวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก มีการเพิ่ม ขึ้นของขนาดลĬำต้น 2.55 และ 2.44 เซนติเมตรต่อปี ตามลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความ เสียหาย มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 5.68 เซนติเมตร ต่อปี ในปีที่สอง วิธีการตัดแต่งกิ่งรองมีการเพิ่มขึ้นของ ขนาดลĬำต้นสูงสุด 3.32 เซนติเมตรต่อปี รองลงมา เป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และวิธีการตัดแต่งบริเวณ คาคบ มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 2.64 และ 2.12 เซนติเมตรต่อปีตามลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้น ที่ไม่ได้รับความเสียหาย มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 4.18 เซนติเมตรต่อปี ในปีที่สาม วิธีการตัดแต่งกิ่งรองมี การเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้นสูงสุด 3.55 เซนติเมตรต่อ รอบ 6 เดือน รองลงมาเป็นวิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก และ วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ มีการเพิ่มขึ้นของขนาด ลĬำต้น 3.25 และ 1.89 เซนติเมตรต่อรอบ 6 เดือน ตาม ลĬำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย มีการเพิ่มขึ้นของขนาดลĬำต้น 4.03 เซนติเมตรต่อรอบ 6 เดือน ผลของการฟื้นฟูต้นยางด้วยวิธีการต่างๆ 1. วิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ พบว่า การจัดการ ในการฟื้นฟูค่อนข้างง่าย ราคาฟื้นฟูค่อนข้างถูก การ แตกใบอ่อนค่อนข้างเร็วมาก กิ่งที่แตกออกมาเป็นกิ่ง 0.0 1 2 3 ร้อยละ ปีทีทำกำรทดลอง ตัดแต่งบริเวณคาคบ ตัดแต่งกิ่งหลัก ตัดแต่งกิ่งรอง วิธีการ อัตราการเจริญเติบโตหลังจากรับการ ฟื้นฟูรายปี (เซนติเมตร) ปีที่ 1 ปีที่2 ปีที่3* ต้นที่ไม่ได้รับ ความเสียหาย 5.68 4.18 4.03 ตัดแต่งบริเวณคา คบ 2.55 2.12 1.89
  • 18. 16 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ตารางที่ 1 การเพิ่มขึ้นของขนาดลำ�ต้น (เซนติเมตรต่อปี) หลังจากรับการฟื้นฟู วิธีการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3* ต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย 5.68 4.18 4.03 ตัดแต่งบริเวณคาคบ 2.55 2.12 1.89 ตัดแต่งกิ่งหลัก 2.44 2.64 3.25 ตัดแต่งกิ่งรอง 2.75 3.32 3.55 เล็กๆ ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงบริเวณรอย ตัด เมื่อกิ่งเริ่มมีขนาดใหญ่ มีกิ่งฉีกค่อนข้างมาก กิ่งที่ เจริญเติบโตมีลักษณะที่ไม่สมดุล เป็นวิธีที่ประสบความ สĬำเร็จน้อยที่สุด 2. วิธีการตัดแต่งกิ่งหลัก พบว่า การจัดการฟื้นฟู ทĬำได้ค่อนข้างยาก ทรงพุ่มที่เหลือมีนĬ้ำหนักน้อย ราคา ในการฟื้นฟูค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องจักรใน การทĬำงาน การแตกใบค่อนข้างช้า การแตกใบอ่อน ส่วนใหญ่จะไปกระจุกตัวที่ปลายกิ่งบริเวณรอยตัด มี อัตราการตายตĬ่ำ การฉีกของกิ่งอ่อนน้อย มีโครงสร้าง สĬำหรับการพัฒนาตามโครงสร้างเดิมชัดเจน เป็นวิธีที่ ค่อนข้างประสบความสĬำเร็จ ทรงพุ่มมีลักษณะสมดุล 3. วิธีการตัดแต่งกิ่งรอง พบว่า การจัดการทĬำได้ ยาก เนื่องจากในทรงพุ่มมีน้Ĭำหนักมาก มีราคาฟื้นฟู ค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่ใช้เครื่องจักรในการยกต้น แตก ใบอ่อนช้ามาก แต่มีอัตราการตายตĬ่ำ เจริญเติบโตตาม โครงสร้างเดิมชัดเจน เป็นวิธีการที่ประสบความสĬำเร็จ สูงสุด ตัวชี้วัดด้านเศรษฐศาสตร์ การวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับจาก การฟื้นฟูยางพาราจากขนาดสวนยาง 5 ไร่ ซึ่งเป็นขนาด สวนยางเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยใช้ตัวชี้วัด ทางการเงินได้แก่ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Val-ue : NPV) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit Cost Ratio : BCR) และอัตราผลตอบแทนภายในของการ ลงทุน (Internal Rate of Return : IRR) เป็นเกณฑ์ใน การวิเคราะห์ที่อัตราคิดลดร้อยละ 6 ณ ระดับราคายาง แผ่นดิบเฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 81.21 บาท (ตารางที่ 2) พบว่า จĬำนวนต้นยางที่ทĬำการฟื้นฟูจะ เป็นตัวกĬำหนดความคุ้มค่าของการฟื้นฟู วิธีการตัดแต่ง กิ่งรองจะเป็นวิธีการที่คุ้มค่าที่สุด เนื่องจากมีอัตราการ ตายที่ค่อนข้างต่Ĭำกว่า เมื่อนĬำมาวิเคราะห์แล้วคุ้มค่า คือ แปลงที่มีต้นยางล้มไม่เกินกว่า ร้อยละ 50 หรือ จĬำนวน 38 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อคĬำนวณค่า NPV มีค่า 144,776 บาท ค่า BCR มีค่า 1.294 และค่า IRR มีค่า 5.02% และสามารถคืนทุนภายในไม่เกิน 7 ปี ซึ่ง เป็นค่าที่สามารถยอมรับได้แม้จะมีค่า IRR ตĬ่ำกว่า อัตราคิดลดก็ตาม รองลงมาวีธีการตัดแต่งแบบกิ่ง หลัก สามารถทĬำได้หากมีจĬำนวนต้นที่ต้องฟื้นฟูไม่สูง กว่าร้อยละ 30 หรือ 23 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมื่อคĬำนวณค่า NPV มีค่า 174,796 บาท ค่า BCR มีค่า 1.357 และ ค่า IRR มีค่า 6.00% และสามารถคืนทุนภายในไม่เกิน 7 ปี เช่นกัน ส่วนวิธีการตัดแต่งบริเวณคาคบ ไม่คุ้มค่า กับการลงทุนฟื้นฟู แม้จะมีจĬำนวนต้นที่ต้องฟื้นฟูน้อย ก็ตาม ค่าต่างๆ เหล่านี้มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจของ เกษตรกร เป็นตัวบ่งชี้ว่าเกษตรกรมีความคุ้มค่ากับ การฟื้นฟูแปลงยางหรือไม่ สรุปผลการทดลองและคĬำแนะนĬำ การศึกษาวิธีการฟื้นฟูสวนยางพาราอายุมากกว่า 5 ปีที่ได้รับความเสียหายจากวาตภัยเมื่อ ปี 2553 ใน จังหวัดสงขลา และพัทลุง ซึ่งมีลักษณะล้มราบ แบบ *วัดการเจริญเติบโต 6 เดือน
  • 19. 17 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 18 กรกฎาคม-กันยายน 2557 ตารางที่ 2 ดัชนีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ความคุ้มค่า ตัดแต่งบริเวณคาคบ อัตราการตายสะสม ร้อยละ 28.6 ตัดแต่งกิ่งหลัก อัตราการตายสะสม ร้อยละ 12.4 จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 30 NPV (บาท) 47,962 174,796 227,480 BCR 1.099 1.357 1.461 IRR (%) 2.01 6.00 7.21 ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) 11 7 6 จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 50 NPV (บาท) -15,120 93,671 144,776 BCR 0.969 1.190 1.294 IRR (%) -0.69 3.52 5.02 ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - 9 7 จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟู ร้อยละ 70 NPV (บาท) -88,711 5,773 50,784 BCR 0.824 1.011 1.101 IRR (%) -4.60 0.24 1.92 ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - 19 12 จĬำนวนต้นที่ได้รับการฟื้นฟูร้อยละ 100 NPV (บาท) -199,097 -126,074 -90,203 BCR 0.617 0.757 0.826 IRR (%) -18.09 -6.67 -4.12 ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) - - - ต้นที่ไม่ได้รับความเสียหาย NPV (บาท) 554,899 BCR 2.189 IRR (%) 14.02 ระยะเวลาคืนทุน (ปีกรีด) 4 ตัดแต่งกิ่งรอง อัตราการตายสะสม ร้อยละ 5.5 ถอนราก จากการฟื้นฟู มีจĬำนวนต้นรอดตายร้อยละ 71.4 -94.5 และยังมีแนวโน้มมีความเสียหายเพิ่มเติม อีกในอนาคต วิธีการฟื้นฟูที่ประสบความสĬำเร็จสูงสุด คือ วิธีการตัดแต่งกิ่งรอง มีจĬำนวนต้นรอดตายสูงสุด ร้อยละ 95.5 การเจริญเติบโตสูงสุด และยังสามารถ รักษาทรงต้นเดิมได้อีกด้วย แต่การฟื้นฟูทĬำให้ช่วงระยะ เวลาการเก็บเกี่ยวลดลงอย่างน้อย 1 ปี รวมทั้งผลผลิต ก็ลดลงเช่นกัน โดยส่วนใหญ่เกษตรกรมักทĬำการฟื้นฟู โดยไม่ได้คĬำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุน โดยเฉพาะใน แปลงยางที่มีอายุ 5 ปีขึ้นไป การฟื้นฟูมีความคุ้มค่า ค่อนข้างต่Ĭำ ลงทุนสูง รวมทั้งการเจริญเติบโตในช่วงหลัง จากการฟื้นฟูปีที่ 1 -2 ค่อนข้างตĬ่ำมาก และการเจริญ