SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รหัสวิชา .....EC481...... ชื่อวิชา .........เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม..........
ภาค .1. / ..2556..
จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (3-0-6)
เวลาเรียน อังคารและพฤหัสบดี 15.00-16.30............. ห้องเรียน.......ศ.235Y.....
อาจารย์ผู้สอน รศ.ดร.ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์…………….. ห้องทางาน ....658Y…….
เวลาพบนักศึกษา ....อังคารและพฤหัสบดี 9.30-10.30 และ 13.30-14.30..
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาโครงสร้าง พฤติกรรมธุรกิจ และผลการดาเนินงานของตลาด (Market
Structure, Conduct and Performance) ข อ ง ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างตลาดในรูปแบบต่างๆ กับการดาเนินธุรกิจ
แ ล ะ ก า ร จั ด ส ร ร ท รั พ ย า ก ร
และวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในเชิงกลยุทธ์
วิชาบังคับก่อน สอบได้ ศ.311
จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1 .
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคสา
หรับวิเคราะห์ปัญหาในธุรกิจและอุตสาหกรรม
2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ย วกับ ท ฤษฎีโค รงสร้างตลาด พฤติกรรม
และผลปฏิบัติงาน
3. เ พื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ตั้ ง ร า ค า
ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ใช้ ร า ค า แ ล ะ ไ ม่ ใช้ ร า ค า ข อ ง ห น่ ว ย ผ ลิ ต
กลยุทธ์ด้านการจัดการและการแข่งขันทางธุรกิจ
ตาราและเอกสารหลัก
Carlton, D.W. and Perloff, J.M., Modern Industrial Organization, Harper Collin College Division,
2004.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรม หน่วยที่ 1-8
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545
ตำรำประกอบ
Church, J. and Ware, R., Industrial Organization : A Strategic Approach, Mc.Graw – Hill
International Editions, 2000.
ชนินทร์ มีโภคี เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554
ช ยั น ต์ ตั น ติ วั ส ด า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์จุ ล ภ า ค : ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550
หัวข้อบรรยาย
(1) ขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
ค ว าม ห ม าย ข อง เศ รษ ฐศ าสต ร์อุต สาห ก รรม ป ระเภ ท ข อง อุต สาห ก รรม
ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
บทบาทของเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตส
าหกรรม ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
วิธีที่ใช้ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
(2) โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ: ทฤษฎีและผลวิจัยเชิงประจักษ์
กระบวนทัศน์วิธี Structure-Conduct-Performance (SCP) ปัจจัยที่มีผลต่อโครงสร้างตลาด
การกระจุกตัวของอุตสาหกรรม การวัดผลการดาเนินการของตลาด วิธี SCP กับการศึกษาเชิงประจักษ์
(3) พฤติกรรมของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค
(3.1) พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค
การตั้งราคาของหน่วยผลิต ทฤษฎีราคาของหน่วยผลิตในโครงสร้างตลาดประเภทต่างๆ
กลยุทธ์และวิธีตั้งราคาสินค้าในทางปฏิบัติของหน่วยผลิต
(3.2) พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค
พฤติกรรมการแข่งขันด้านการโฆษณา การวิจัยการพัฒนา
ด้านไม่ใช้ราคาในรูปแบบอื่นๆ
(4) แบบจาลองการวิเคราะห์พฤติกรรมตลาดผู้ขายน้อยราย
(4.1) ประเภทของตลาดผู้ขายน้อยราย
(4.2) ผู้ขายน้อยรายที่มีการรวมตัวกันหรือคาร์เทล
(4.3) ผู้ขายน้อยรายที่ไม่มีการรวมตัวกัน
(4.4) แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน
(4.5) แบบจาลอง Cournot, Bertrand, Stackelberg
(4.6) การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน
(5) ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตและตลาด
องค์ประกอบของเกมส์ เกมส์ที่เล่นพร้อมๆกัน แนวคิดการหาดุลยภาพของเกมส์
เกมส์ที่ผลัดกันเล่น เกมส์ย่อย เกมส์เชิงพลวัต เกมส์ที่มีการเล่นซ้าๆอย่างที่สิ้นสุดและไม่สิ้นสุด
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย
(6) หัวข้ออื่นๆ เช่น การควบกิจการ การเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายใหม่ การโฆษณา
การวิจัยและพัฒนา การลดการกากับดูแลภาครัฐ เป็นต้น
แผนการสอน
วันที่ หัวข้อบรรยาย / กิจกรรม
อังคารที่ 4 มิถุนายน
แนะนาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
ขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
พฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน ทฤษฎีโครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ
อังคารที่ 11 มิถุนายน การประยุกต์โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ
พฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน การประยุกต์โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ (ต่อ)
อังคารที่ 18 มิถุนายน พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค
พฤหัสบดีที่ 20 Jมิถุนายน พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ)
อังคารที่ 25 มิถุนายน พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค
พฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ)
อังคารที่ 2 กรกฎาคม พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ)
พฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม แบบจาลองการวิเคราะห์ตลาดผู้ขายน้อยรายที่มีการรวมตัวกัน
อังคารที่ 9 กรกฎาคม แบบจาลองการวิเคราะห์ตลาดผู้ขายน้อยรายที่ไม่มีการรวมตัวกัน
พฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน
อังคารที่ 16 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน: Cournot, Bertrand
พฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน: Stackelberg
อังคารที่ 23 กรกฎาคม การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน
พฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน (ต่อ)
สัปดาห์สอบกลางภาค: 28 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม
อังคารที่ 6 สิงหาคม ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตและตลาด
พฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม เกมส์ที่ผลัดกันเล่น เกมส์ย่อย
อังคารที่ 13 สิงหาคม เกมส์เชิงพลวัต
พฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม การเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายใหม่
อังคารที่ 20 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย
พฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย (ต่อ)
อังคารที่ 27 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย (ต่อ)
พฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม การควบกิจการ
อังคารที่ 3 กันยายน การโฆษณา
พฤหัสบดีที่ 5 กันยายน การวิจัยและพัฒนา
อังคารที่ 10 กันยายน การลดการกากับดูแลภาครัฐ
พฤหัสบดีที่ 12 กันยายน กรณีศึกษา: การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเศรษาฐศาสตร์อุตสาหกรรม
อังคารที่ 17 กันยายน การนาเสนอรายงาน
พฤหัสบดีที่ 19 กันยายน การนาเสนอรายงาน
สอบปลายภาค
การประเมินผล
หัวข้อ วิธีการประเมิน (คะแนน) วันที่ประเมิน
1, 2, 3, 4.1-4.5 สอบกลางภาค (30%) พฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม 2556
เวลา 14.30-16.00 น.
4.6, 5, 6 สอบไล่ปลายภาค (55%) ศุกร์ที่ 1 ตุลาคม 2556
เวลา 09.00-12.00 น.
รายงานกลุ่มและการนาเสนอ
(15%)
อังคารและพฤหัสที่ 17 และ 19
กันยายน 2556 ในเวลาเรียน
แผนบริหารการสอน
รายวิชา 3592209 เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Economic) 3(3-0)
สอนโดย อาจารย์อัครเดช สุพรรณฝ่าย 081- 470-2933
สังกัด โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
*************************************************************************************
**********
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยและโครงสร้างของภาคอุตสาหกรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม กับการพัฒนาเศรษฐกิจ การตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน
การผลิต และการเลือกทาเลที่ตั้งของอุตสาหกรรม วิธีหาแหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม
และนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
วัตถุประสงค์
1. นักศึกษามีความเข้าใจโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทย
2. นักศึกษามีความเข้าใจโครงสร้างอุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ
3. นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายด้านอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
4. นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างอุตสาหกรรมในจังหวัดสุรินทร์
เนื้อหาในการบรรยาย
1. ความหมายและความสาคัญของภาคอุตสาหกรรม
1.1 ความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
1.2 ความสาคัญของอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจ
1.3 ขอบเขตของการศึกษาชุดวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม และทฤษฎีต้นทุน
2. ทฤษฎีและกลยุทธ์ในการพัฒนาอุตสาหกรรม
2.1 ความหมายและความสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
2.3 การพัฒนาอุตสาหกรรมและกลยุทธ์ในการพัฒนาอุตสาหกรรม
3. บทบาทของแหล่งเงินทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรม
3.1 แหล่งเงินทุนของกิจการอุตสาหกรรม
3.2 การระดมเงินจากแหล่งภายนอกกิจการอุตสาหกรรม
3.3 บทบาทของสถาบันการเงินในการพัฒนาอุตสาหกรรม
3.4 ปัญหาทางการเงินของกิจการอุตสาหกรรมในประเทศ
4. บทบาทของอุตสาหกรรมต่อการจ้างงาน
4.1 ทฤษฎีพื้นฐาน
4.2 วิธีหรือเทคนิคการผลิตและการจ้างงาน
4.3 โครงสร้างของอุตสาหกรรมและการจ้างงาน
4.4 อุตสาหกรรมขนาดเล็กและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการจ้างงาน
5. บทบาทของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
5.1 ทฤษฎีความก้าวหน้าทางเทคนิคการผลิต
5.2 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในประเทศด้อยพัฒนา
5.3 เทคโนโลยีที่เหมาะสม
6. แหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม
6.1 แนวคิดและทฤษฎีในการเลือกแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม
6.2 ปัจจัยที่กาหนดแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม
6.3 นโยบายและกลยุทธ์ของการพัฒนาอุตสาหกรรมในภูมิภาค
6.4 ลักษณะแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรมในบางประเทศ
7. เป้าหมายและพฤติกรรมของหน่วยผลิต
7.1 เป้าหมายของหน่วยผลิต
7.2 ทฤษฎีหน่วยผลิตสมัยใหม่
8. การวิเคราะห์อุปสงค์และต้นทุน
8.1 แนวคิด ทฤษฎีและการวิเคราะห์อุปสงค์
8.2 การกะประมาณ และการพยากรณ์อุปสงค์
8.3 แนวคิดและการวิเคราะห์ต้นทุน
8.4 การกะประมาณการพยากรณ์ต้นทุนในการตัดสินใจ
9. นโยบายและมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของไทย
9.1 บทบาทของรัฐบาลกับการพัฒนาอุตสาหกรรม
9.2 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย
9.3 นโยบายอุตสาหกรรมประเทศไทย
9.4 ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย
10. โครงสร้างภาคอุตสาหกรรมและการศึกษาเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบางประเภทของ
จังหวัดสุรินทร์
10.1 โครงสร้างอุตสหกรรมของจังหวัดสุรินทร์
10.2 การศึกษาเฉพาะเรื่องของอุตสาหกรรมของจังหวัดสุรินทร์
10.3 การศึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของจังหวัดสุรินทร์
การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
3.1 วัดผลระหว่างภาคเรียน 70 คะแนน
- ความสนใจการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 10คะแนน
- จิตพิสัย 10 คะแนน
- เวลาเรียน 10 คะแนน
- แบบฝึกหัด 10 คะแนน
- การสอบเก็บคะแนนย่อย 10 คะแนน
- สอบกลางภาค 20 คะแนน
3.2 การวัดผลปลายภาค 30 คะแนน
รวม 100 คะแนน
การประเมินผลการเรียน
คะแนนระหว่างภาคเรียนรวมกับคะแนนปลายภาคเรียน จานวนเต็ม 100 คะแนน
นามาตัดสินผลการเรียนตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนต่ากว่า 0 - 49คะแนน ผลการเรียนเป็น E
คะแนนระหว่าง 50- 55 คะแนน ผลการเรียนเป็น D
คะแนนระหว่าง 56- 59 คะแนน ผลการเรียนเป็น D+
คะแนนระหว่าง 60- 65 คะแนน ผลการเรียนเป็น C
คะแนนระหว่าง 66- 69 คะแนน ผลการเรียนเป็น C+
คะแนนระหว่าง 70- 75 คะแนน ผลการเรียนเป็น B
คะแนนระหว่าง 76- 79 คะแนน ผลการเรียนเป็น B+
คะแนนระหว่าง 80- 100 คะแนน ผลการเรียนเป็น A
Outline เศรษฐศาสตร์อุตฯ

More Related Content

Similar to Outline เศรษฐศาสตร์อุตฯ

สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์Totsaporn Inthanin
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยWiseKnow Thailand
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐTotsaporn Inthanin
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้างครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้างTotsaporn Inthanin
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 

Similar to Outline เศรษฐศาสตร์อุตฯ (7)

สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
สรุปงาน อนุกรรมการ กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์
 
Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand) Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand)
 
Uni-Charm
Uni-CharmUni-Charm
Uni-Charm
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้างครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยีการก่อสร้าง
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 

Outline เศรษฐศาสตร์อุตฯ

  • 1. คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัสวิชา .....EC481...... ชื่อวิชา .........เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม.......... ภาค .1. / ..2556.. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (3-0-6) เวลาเรียน อังคารและพฤหัสบดี 15.00-16.30............. ห้องเรียน.......ศ.235Y..... อาจารย์ผู้สอน รศ.ดร.ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์…………….. ห้องทางาน ....658Y……. เวลาพบนักศึกษา ....อังคารและพฤหัสบดี 9.30-10.30 และ 13.30-14.30.. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาโครงสร้าง พฤติกรรมธุรกิจ และผลการดาเนินงานของตลาด (Market Structure, Conduct and Performance) ข อ ง ห น่ ว ย ธุ ร กิ จ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างตลาดในรูปแบบต่างๆ กับการดาเนินธุรกิจ แ ล ะ ก า ร จั ด ส ร ร ท รั พ ย า ก ร และวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจในเชิงกลยุทธ์ วิชาบังคับก่อน สอบได้ ศ.311 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1 . เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคสา หรับวิเคราะห์ปัญหาในธุรกิจและอุตสาหกรรม 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ย วกับ ท ฤษฎีโค รงสร้างตลาด พฤติกรรม และผลปฏิบัติงาน 3. เ พื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ตั้ ง ร า ค า ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ใช้ ร า ค า แ ล ะ ไ ม่ ใช้ ร า ค า ข อ ง ห น่ ว ย ผ ลิ ต กลยุทธ์ด้านการจัดการและการแข่งขันทางธุรกิจ ตาราและเอกสารหลัก Carlton, D.W. and Perloff, J.M., Modern Industrial Organization, Harper Collin College Division, 2004. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรม หน่วยที่ 1-8 สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 ตำรำประกอบ
  • 2. Church, J. and Ware, R., Industrial Organization : A Strategic Approach, Mc.Graw – Hill International Editions, 2000. ชนินทร์ มีโภคี เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554 ช ยั น ต์ ตั น ติ วั ส ด า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์จุ ล ภ า ค : ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550 หัวข้อบรรยาย (1) ขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ค ว าม ห ม าย ข อง เศ รษ ฐศ าสต ร์อุต สาห ก รรม ป ระเภ ท ข อง อุต สาห ก รรม ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม บทบาทของเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตส าหกรรม ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม วิธีที่ใช้ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม (2) โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ: ทฤษฎีและผลวิจัยเชิงประจักษ์ กระบวนทัศน์วิธี Structure-Conduct-Performance (SCP) ปัจจัยที่มีผลต่อโครงสร้างตลาด การกระจุกตัวของอุตสาหกรรม การวัดผลการดาเนินการของตลาด วิธี SCP กับการศึกษาเชิงประจักษ์ (3) พฤติกรรมของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (3.1) พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค การตั้งราคาของหน่วยผลิต ทฤษฎีราคาของหน่วยผลิตในโครงสร้างตลาดประเภทต่างๆ กลยุทธ์และวิธีตั้งราคาสินค้าในทางปฏิบัติของหน่วยผลิต (3.2) พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค พฤติกรรมการแข่งขันด้านการโฆษณา การวิจัยการพัฒนา ด้านไม่ใช้ราคาในรูปแบบอื่นๆ (4) แบบจาลองการวิเคราะห์พฤติกรรมตลาดผู้ขายน้อยราย (4.1) ประเภทของตลาดผู้ขายน้อยราย (4.2) ผู้ขายน้อยรายที่มีการรวมตัวกันหรือคาร์เทล (4.3) ผู้ขายน้อยรายที่ไม่มีการรวมตัวกัน (4.4) แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน (4.5) แบบจาลอง Cournot, Bertrand, Stackelberg (4.6) การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน
  • 3. (5) ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตและตลาด องค์ประกอบของเกมส์ เกมส์ที่เล่นพร้อมๆกัน แนวคิดการหาดุลยภาพของเกมส์ เกมส์ที่ผลัดกันเล่น เกมส์ย่อย เกมส์เชิงพลวัต เกมส์ที่มีการเล่นซ้าๆอย่างที่สิ้นสุดและไม่สิ้นสุด การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย (6) หัวข้ออื่นๆ เช่น การควบกิจการ การเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายใหม่ การโฆษณา การวิจัยและพัฒนา การลดการกากับดูแลภาครัฐ เป็นต้น แผนการสอน วันที่ หัวข้อบรรยาย / กิจกรรม อังคารที่ 4 มิถุนายน แนะนาวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ขอบเขตและวิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม พฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน ทฤษฎีโครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ อังคารที่ 11 มิถุนายน การประยุกต์โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ พฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน การประยุกต์โครงสร้างตลาด พฤติกรรมและผลการดาเนินการ (ต่อ) อังคารที่ 18 มิถุนายน พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค พฤหัสบดีที่ 20 Jมิถุนายน พฤติกรรมด้านราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ) อังคารที่ 25 มิถุนายน พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค พฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ) อังคารที่ 2 กรกฎาคม พฤติกรรมด้านไม่ใช้ราคาของหน่วยผลิตต่อผู้บริโภค (ต่อ) พฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม แบบจาลองการวิเคราะห์ตลาดผู้ขายน้อยรายที่มีการรวมตัวกัน อังคารที่ 9 กรกฎาคม แบบจาลองการวิเคราะห์ตลาดผู้ขายน้อยรายที่ไม่มีการรวมตัวกัน พฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน อังคารที่ 16 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน: Cournot, Bertrand พฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน: Stackelberg อังคารที่ 23 กรกฎาคม การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน พฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม การประยุกต์ใช้แบบจาลองความแตกต่างของการคาดคะเน (ต่อ) สัปดาห์สอบกลางภาค: 28 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม อังคารที่ 6 สิงหาคม ทฤษฎีเกมส์สาหรับวิเคราะห์พฤติกรรมของหน่วยผลิตและตลาด พฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม เกมส์ที่ผลัดกันเล่น เกมส์ย่อย อังคารที่ 13 สิงหาคม เกมส์เชิงพลวัต พฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม การเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายใหม่
  • 4. อังคารที่ 20 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย พฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย (ต่อ) อังคารที่ 27 สิงหาคม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกมส์ในตลาดผู้ขายน้อยราย (ต่อ) พฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม การควบกิจการ อังคารที่ 3 กันยายน การโฆษณา พฤหัสบดีที่ 5 กันยายน การวิจัยและพัฒนา อังคารที่ 10 กันยายน การลดการกากับดูแลภาครัฐ พฤหัสบดีที่ 12 กันยายน กรณีศึกษา: การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเศรษาฐศาสตร์อุตสาหกรรม อังคารที่ 17 กันยายน การนาเสนอรายงาน พฤหัสบดีที่ 19 กันยายน การนาเสนอรายงาน สอบปลายภาค การประเมินผล หัวข้อ วิธีการประเมิน (คะแนน) วันที่ประเมิน 1, 2, 3, 4.1-4.5 สอบกลางภาค (30%) พฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 14.30-16.00 น. 4.6, 5, 6 สอบไล่ปลายภาค (55%) ศุกร์ที่ 1 ตุลาคม 2556 เวลา 09.00-12.00 น. รายงานกลุ่มและการนาเสนอ (15%) อังคารและพฤหัสที่ 17 และ 19 กันยายน 2556 ในเวลาเรียน
  • 5. แผนบริหารการสอน รายวิชา 3592209 เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Economic) 3(3-0) สอนโดย อาจารย์อัครเดช สุพรรณฝ่าย 081- 470-2933 สังกัด โปรแกรมวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ************************************************************************************* ********** คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยและโครงสร้างของภาคอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม กับการพัฒนาเศรษฐกิจ การตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน การผลิต และการเลือกทาเลที่ตั้งของอุตสาหกรรม วิธีหาแหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม และนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์ 1. นักศึกษามีความเข้าใจโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทย 2. นักศึกษามีความเข้าใจโครงสร้างอุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ 3. นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายด้านอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ 4. นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างอุตสาหกรรมในจังหวัดสุรินทร์ เนื้อหาในการบรรยาย 1. ความหมายและความสาคัญของภาคอุตสาหกรรม 1.1 ความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม 1.2 ความสาคัญของอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจ 1.3 ขอบเขตของการศึกษาชุดวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม และทฤษฎีต้นทุน 2. ทฤษฎีและกลยุทธ์ในการพัฒนาอุตสาหกรรม 2.1 ความหมายและความสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ 2.3 การพัฒนาอุตสาหกรรมและกลยุทธ์ในการพัฒนาอุตสาหกรรม 3. บทบาทของแหล่งเงินทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.1 แหล่งเงินทุนของกิจการอุตสาหกรรม 3.2 การระดมเงินจากแหล่งภายนอกกิจการอุตสาหกรรม
  • 6. 3.3 บทบาทของสถาบันการเงินในการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.4 ปัญหาทางการเงินของกิจการอุตสาหกรรมในประเทศ 4. บทบาทของอุตสาหกรรมต่อการจ้างงาน 4.1 ทฤษฎีพื้นฐาน 4.2 วิธีหรือเทคนิคการผลิตและการจ้างงาน 4.3 โครงสร้างของอุตสาหกรรมและการจ้างงาน 4.4 อุตสาหกรรมขนาดเล็กและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการจ้างงาน 5. บทบาทของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม 5.1 ทฤษฎีความก้าวหน้าทางเทคนิคการผลิต 5.2 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในประเทศด้อยพัฒนา 5.3 เทคโนโลยีที่เหมาะสม 6. แหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม 6.1 แนวคิดและทฤษฎีในการเลือกแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม 6.2 ปัจจัยที่กาหนดแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรม 6.3 นโยบายและกลยุทธ์ของการพัฒนาอุตสาหกรรมในภูมิภาค 6.4 ลักษณะแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรมในบางประเทศ 7. เป้าหมายและพฤติกรรมของหน่วยผลิต 7.1 เป้าหมายของหน่วยผลิต 7.2 ทฤษฎีหน่วยผลิตสมัยใหม่ 8. การวิเคราะห์อุปสงค์และต้นทุน 8.1 แนวคิด ทฤษฎีและการวิเคราะห์อุปสงค์ 8.2 การกะประมาณ และการพยากรณ์อุปสงค์ 8.3 แนวคิดและการวิเคราะห์ต้นทุน 8.4 การกะประมาณการพยากรณ์ต้นทุนในการตัดสินใจ 9. นโยบายและมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของไทย 9.1 บทบาทของรัฐบาลกับการพัฒนาอุตสาหกรรม 9.2 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 9.3 นโยบายอุตสาหกรรมประเทศไทย 9.4 ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 10. โครงสร้างภาคอุตสาหกรรมและการศึกษาเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบางประเภทของ จังหวัดสุรินทร์ 10.1 โครงสร้างอุตสหกรรมของจังหวัดสุรินทร์
  • 7. 10.2 การศึกษาเฉพาะเรื่องของอุตสาหกรรมของจังหวัดสุรินทร์ 10.3 การศึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของจังหวัดสุรินทร์ การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 3.1 วัดผลระหว่างภาคเรียน 70 คะแนน - ความสนใจการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 10คะแนน - จิตพิสัย 10 คะแนน - เวลาเรียน 10 คะแนน - แบบฝึกหัด 10 คะแนน - การสอบเก็บคะแนนย่อย 10 คะแนน - สอบกลางภาค 20 คะแนน 3.2 การวัดผลปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน การประเมินผลการเรียน คะแนนระหว่างภาคเรียนรวมกับคะแนนปลายภาคเรียน จานวนเต็ม 100 คะแนน นามาตัดสินผลการเรียนตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนต่ากว่า 0 - 49คะแนน ผลการเรียนเป็น E คะแนนระหว่าง 50- 55 คะแนน ผลการเรียนเป็น D คะแนนระหว่าง 56- 59 คะแนน ผลการเรียนเป็น D+ คะแนนระหว่าง 60- 65 คะแนน ผลการเรียนเป็น C คะแนนระหว่าง 66- 69 คะแนน ผลการเรียนเป็น C+ คะแนนระหว่าง 70- 75 คะแนน ผลการเรียนเป็น B คะแนนระหว่าง 76- 79 คะแนน ผลการเรียนเป็น B+ คะแนนระหว่าง 80- 100 คะแนน ผลการเรียนเป็น A