SlideShare a Scribd company logo
1 of 324
Download to read offline
ISSN 1906-0572
JOURNAL OF FINE ARTS
คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ปที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ก
กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษา (Advisory Board)
รองศาสตราจารย์พงศ์เดช	 	 ไชยคุตร (Assoc. Prof. Pongdej Chaiyakut)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพร	 	 รอดบุญ (Assist. Prof. Somporn Rodboon)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศมัย	 	 อาวะกุลพาณิชย์ (Assist. Prof. Phitsamai Awakunphanit)
บรรณาธิการ (Editor)
รองศาสตราจารย์ ม.ล.สุรสวัสดิ์ 	 ศุขสวัสดิ์ (Assoc. Prof. ML. Surasawasdi Sooksawasdi)
ผู้ช่วยบรรณาธิการ (Sub Editor)
อาจารย์พิชญา 	 	 	 สุ่มจินดา (Pitchaya Soomjinda)
กองบรรณาธิการฝ่ายวิชาการ (Editorial for Academic Affairs)
ศาสตราจารย์เกียรติศักดิ์ 	 	 ชานนนารถ (Prof. Kiettisak Chanonnart)
ศาสตราจารย์ปรีชา 	 	 เถาทอง (Prof. Preecha Thaothong)
ศาสตราจารย์วิโชค 	 	 มุกดามณี (Prof. Vichoke Mukdamanee)
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ 	 เล็กสุขุม (Emeritus Prof. Dr. Santi Leksukhum)
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สุรพล 	 ด�ำริห์กุล (Emeritus Prof. Surapol Damrikul)
ศาสตราจารย์อิทธิพล 	 	 ตั้งโฉลก (Assoc. Prof. Itthipol Thangchalok)
รองศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ		 ไกรฤกษ์ (Assoc. Prof. Dr. Piriya Krairiksh)
รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ 	 บุณยสุรัตน์ (Assoc. Prof. Woralun Boonyasurat)
รองศาสตราจารย์ รสลิน 	 	 กาสต์ (Assoc. Prof. Rossalin Garst)
อาจารย์ ดร.สันต์ 	 	 สุวัจฉราภินันท์ (Sant Suwatcharapinun, Ph.D.)
อาจารย์ ดร.สายัณห์ 	 	 แดงกลม (Sayan Daengklom, Ph.D.)
กองบรรณาธิการฝ่ายประสานงาน (Editorial Coordinator)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สงกรานต์ 	 สุดหอม (Assist. Prof. Songkran Soodhom)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุพงษ์ 	 เลาหสม (Assist. Prof. Panupong Laohasom)
เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ข
อาจารย์สุรชัย 	 จงจิตงาม (Surachai Jongjitngam)
อาจารย์พิชญา 	 สุ่มจินดา (Pitchaya Soomjinda)
สราวุธ 	 รูปิน (Sarawut Roopin)
กองบรรณาธิการฝ่ายศิลปกรรม (Editorial Fine art)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปกรณ์ภัทร์ จันทะไข่สร (Assist. Prof. Prakornpatara Janthakhaisorn)
อาจารย์ภัทริน 	 ลิมปรุ่งพัฒนกิจ (Pattarin Limprungpattanakit)
อาจารย์ปรัชญา 	คัมภิรานนท์ (Prachya Campiranont)
อาจารย์วีรพล 	 สุวรรณกระจ่าง (Veerapol Suwankarjank)
เบญญา	 รัตนวิชัย (Benya Rattanawichai)
รวี		 	 ระพิพงษ์ (Rawee Rapipong)
กองบรรณาธิการฝ่ายพิสูจน์อักษร (Editorial Proof Reading)
พรพิศ 	 เดชาวัฒน์ (Pornpit Dechawat)
สุลาลักษณ์ 	 ขาวผ่อง (Sulaluck Kaowphong)
จันทร์วิมล 	 แก้วแสนสาย (Junvimol Keawsansai)
ริชาร์ด 	 กาสต์ (Richard Garst)
กองบรรณาธิการฝ่ายเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
(Editorial for Public Relations and Propagation)
ไชยณรงค์ 	 วัฒนวรากุล (Chainarong Wattanavarakul)
ดวงใจ 	 มาลีเดช (Doungjai Maleedech)
สุรศักดิ์ 	 พรามมา (Surasak Pramma)
กองบรรณาธิการฝ่ายการเงินและควบคุมการจัดจ�ำหน่ายวารสาร
(Editorial for Finance and Publication Distribution)
ฆนาวรี 	 เจียตระกูล (Kanawaree Jeatrakul)
ไกรวิทย์ 	 ครามใส (Kraivit Kramsai)
Editors
วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ฃ
บทบรรณาธิการ
หลังจากหายหน้าไปนานนับปี วารสารวิจิตรศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ได้โอกาสเปิดตัวอีกครั้งในวาระที่คณะวิจิตรศิลป์ตั้งมาได้ครบรอบ 30 ปี ในพุทธศักราช
2555 และด้วยพันธกิจที่คณะวิจิตรศิลป์มีหน้าที่มุ่งน�ำสังคมไทยไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้	
เราจึงให้ความส�ำคัญกับการบริการวิชาการควบคู่ไปกับเรื่องของจรรยาบรรณและความ
ถูกต้องเสมอมา วารสารวิจิตรศิลป์ฉบับนี้ยังได้พัฒนาคุณภาพไปสู่วารสารวิชาการระดับ	
ชาติโดยใช้ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติมาเป็นเกณฑ์ใน
การด�ำเนินงาน
ในระยะเวลาที่ผ่านมา ประเทศไทยเราต้องประสบกับปัญหาวิกฤต คือ มหาอุทกภัย
ประชาชนนับแสนทั้งผู้ประกอบการ ลูกจ้างแรงงาน และชาวบ้านร้านถิ่นต้องเดือดร้อน
อย่างไม่เคยประสบมาก่อน ยังมีความเสียหายร้ายแรงที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งซึ่งไม่ได้	
รับการเหลียวแลเท่าที่ควร นั่นคือ ความเสียหายในด้านมรดกวัฒนธรรมของชาติ มีแหล่ง	
โบราณสถานที่ส�ำคัญระดับชาติและระดับโลกหลายแห่งประสบอุทกภัยอย่างประเมินค่า	
ความเสียหายมิได้ ตัวอย่างเช่น เมืองมรดกโลกพระนครศรีอยุธยา รวมทั้งสถานที่	
ส�ำคัญในการเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรมอีกหลายแห่งเช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
และหอภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นต้น นับตั้งแต่น�้ำเริ่มไหลบ่าท�ำลายท�ำนบกระสอบทรายที่
กรมศิลปากรจัดวางไว้ป้องกันรอบบริเวณวัดไชยวัฒนาราม ขณะที่เกาะอยุธยาถูกน�้ำท่วม	
ทุกพื้นที่มาจนถึงปัจจุบันเมื่อระดับน�้ำลดลงไปแล้ว เรายังไม่เห็นสัญญาณใดๆ ที่แสดง
ว่ารัฐบาลให้ความส�ำคัญกับการสูญเสียทางวัฒนธรรมเหล่านี้อย่างจริงๆ จังๆ หรือออก
มาให้ความมั่นใจกับประชาชนเจ้าของมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้นว่าจะมีมาตรการป้องกัน	
อย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก ซึ่งนอกจากการขาดวิสัยทัศน์ของรัฐมนตรีว่า	
การกระทรวงวัฒนธรรมแล้วต้องยอมรับว่าภัยธรรมชาติในภายหน้าจะมีความรุนแรงมาก
เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ค
ขึ้นเรื่อยๆ เกินกว่าองค์กรของรัฐจะแก้ไขปัญหาเองได้ ดังเห็นได้ว่าในกรณีของเหตุการณ์	
มหาอุทกภัยนั้น สังคมต้องพึ่งพานักวิชาการสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากเพียงใด
ส�ำหรับในกรณีการปกป้องมรดกวัฒนธรรมของชาติทั้งในสภาวะปรกติและสภาวะวิกฤต
เราสามารถเตรียมการรับมือได้โดยการสร้างฐานความร่วมมือให้แผ่กว้างออกไปอย่าง	
มั่นคงทั้งทางวิชาการ ทางสังคม และงบประมาณ ประเทศไทยควรมีองค์กรเอกชน	
ที่ระดมองค์ความรู้ด้านการปกป้องอนุรักษ์และจัดการมรดกวัฒนธรรมของชาติเข้ามา	
ช่วยเหลือดูแลและด�ำเนินงานเคียงบ่าเคียงไหล่กับกรมศิลปากร ดังเช่นองค์กรที่เรียก
ว่า National Trust ในประเทศอังกฤษ เห็นได้ว่าทุกวันนี้ ขณะที่รัฐบาลอังกฤษประสบ	
ปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอยเช่นเดียวกับชาติตะวันตกอื่นๆ แต่องค์กร National Trust
ยังคงท�ำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองมรดกวัฒนธรรมทั้งในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรเช่นนี้ยังสามารถท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสาน	
แนวทางการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชนและองค์กร	
ปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างราบรื่น ในกรณีที่เกิดปัญหาการดูแลรักษาโบราณสถานซึ่ง
รัฐธรรมนูญก�ำหนดให้ถ่ายโอนไปสู่การดูแลของท้องถิ่น กระทรวงวัฒนธรรมไม่จ�ำเป็น	
ต้องจัดสรรงบประมาณใดๆ เพราะค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานส่วนใหญ่มาจากเงินบริจาค	
ซึ่งแม้ว่าจะเป็นปัญหาใหญ่แต่ถ้ารัฐบาลหรือรัฐสภาเห็นความส�ำคัญก็ควรจะต้องสนับสนุน	
โดยการออกระเบียบหรือกฎหมายที่จ�ำเป็น เช่น ให้ผู้บริจาคเงินแก่องค์กรสามารถน�ำ	
ไปหักภาษีได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ท�ำนองเดียวกับเงินบริจาคช่วยเหลือองค์กรการศึกษาที่ปฏิบัติ	
กันอยู่ นอกเหนือจากนั้น รัฐบาลหรือรัฐสภาอาจออกกฎหมายรองรับการบริจาค	
อสังหาริมทรัพย์ด้วยเหตุว่าเป็นอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์หรือศิลปวัฒนธรรม	
แต่เจ้าของไม่สามารถดูแลจัดการได้ ซึ่งองค์กรใหม่นี้ต้องเข้ามาบูรณปฏิสังขรณ์และ
จัดการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนพร้อมทั้งเป็นแหล่งรายได้ขององค์กรต่อไป
Editorial
วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ฅ
ในขั้นต้นนี้จึงขอเสนอให้สถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม	
ออกมาร่วมมือกันศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งองค์กรอิสระด้านการปกปักษ์รักษา	
มรดกวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่นโดยประสานความรู้ความร่วมมือจากหน่วยงาน	
อนุรักษ์เอกชนในประเทศต่างๆ เช่น องค์กร National Trust ในอังกฤษ ควบคู่ไป	
กับการร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ที่ด�ำเนินการอยู่ในไทย เช่น ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
หรือมูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งเป็นหัวหอกส�ำคัญด้านการส่งเสริมและ	
อนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนในปัจจุบัน
ที่ส�ำคัญองค์กรนี้ต้องด�ำเนินการอย่างอิสระโดยนักบริหารงานวัฒนธรรมมืออาชีพและ	
บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้บุคลากรจ�ำนวนน้อย แต่สามารถสร้างเครือข่าย	
กับนักวิชาการทุกสาขาด้านการอนุรักษ์และการบริหารวัฒนธรรมทั้งในประเทศและ	
ต่างประเทศ ทั้งในยามปรกติและยามวิกฤต ควรมีวิสัยทัศน์ใหม่ๆ ในการน�ำสังคมส่วน
ใหญ่เข้ามามีส่วนร่วมในการปกป้องมรดกวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น การบริหาร	
งบประมาณต้องโปร่งใสตรวจสอบได้ และต้องประสานงานได้ดีกับทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ
และประชาชน ทั้งในทิศทางหรือแนวทางของการอนุรักษ์และการพัฒนา
รองศาสตราจารย์ หม่อมหลวงสุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์
บรรณาธิการ
25 ธันวาคม 2554
เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ฆ
ปกิต บุญสุทธิ์, เกิด (2551), เทคนิคเคลือบเผาไฟที่อุณหภูมิ 1,150 องศาเซลเซียส
Pakit Bunsut, Birth (2008), 1,100 ํc glaze.
วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ง
สารบัญ
- 1 -
วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์
แรงบันดาลใจจากเส้น สี รูปทรง และพื้นผิวในงานศิลปกรรมเซรามิค
Drawing, creation of human forms inspired by line, colour, form and texture in ceramic art.
ปกิต บุญสุทธิ์ : Pakit Bunsut
- 59 -
ราวณะบุกยมโลกที่ปราสาทพิมาย
Ravana Invading Yama-Loka at Prasat Phimai.
พิชญา สุ่มจินดา : Pitchaya Soomjinda
- 91 -
สัญลักษณ์ในหน้าบันวิหารและอุโบสถสมัยครูบาศรีวิชัย:
การเมืองวัฒนธรรมในสังคมล้านนา พ.ศ. 2463 - 2477
The Symbols of the Vihara and Uposatha Tympanums in Sri - vichai Monks age:
Lan Na Cultural Politics between 1920 - 1934 A.D.
ชาญคณิต อาวรณ์ : Chankhanit Arvorn
- 121 -
ศิลปะจีนร่วมสมัย หนึ่งศตวรรษจากอดีตสู่ปัจจุบัน
Chinese contemporary art : A Century from Past to Present.
ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล : Piyasaeng Chantarawongpaisarn
เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
จ
Table of content
- 155 -
ศิลปะแนวแอนติมิสต์: ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่านจากวัฒนธรรมดั้งเดิม
ในจิตรกรรมล้านนา สู่รูปแบบอิทธิพลของภาพพิมพ์จากกรุงเทพมหานคร
The intimate style, a transition between “traditional” Chiang Mai paintings
and the printed patterns from Bangkok.
เซบาสเตียน ตา - ยาค : Sébastien Tayac
- 191 -
บันทึกชาวไทใหญ่ในดินแดนลาว
The Notes on Tai - Yai in Laos Territory.
สราวุธ รูปิน : Sarawut Roopin
- 223 -
ความเชื่อ วิถีชีวิตชาวเขา สู่การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมร่วมสมัย
Hill Tribes; Beliefs and Ways of Life towards the Creation of Contemporary Sculpture.
สุนทร สุวรรณเหม : Soonthorn Suwanhem
- 267 -
การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ด้วยสีธรรมชาติจากพืชในจังหวัดนครศรีธรรมราช
Creating Printmaking Artworks with Natural Dyes from Plants in
Nakhon Si Thammarat Province.
แฉล้ม สถาพร : Chlaem Sathaporn
1 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์
แรงบันดาลใจจากเส้น สี รูปทรง
และพื้นผิวในงานศิลปกรรมเซรามิค
ปกิต บุญสุทธิ์
อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาประติมากรรม ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม 	
และประติมากรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ
งานวาดเส้นเป็นส่วนหนึ่งในการถ่ายทอดผ่านทางความคิดของศิลปิน ก่อนที่ศิลปิน
จะเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปินได้วาดเส้น ค้นหารูปแบบ และเทคนิควิธีการเฉพาะ
ของศิลปินเอง ดังนั้น ผลงานวาดเส้นจึงเป็นต้นความคิดและรูปแบบของการ
สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ในด้านต่างๆ เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม
ภาพพิมพ์ และงานศิลปะด้านแขนงอื่นๆ เป็นต้น งานวาดเส้นสามารถบอกถึง
สภาวะอารมณ์ ความรู้สึก รวมถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น โดยมาจากความ
คิดของมนุษย์ผ่านลงมาที่มือแล้วลากเคลื่อนไปมาโดยใช้วัสดุ ไม้ หิน ถ่าน ดิน เท่าที่
มีถ่ายทอดจินตนาการและบันทึกต่อสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์เอง ด้วยเหตุนี้ จาก
ประสบการณ์การท�ำงานศิลปะทางด้านประติมากรรมและเครื่องปั้นดินเผาจึงเกิด
แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้น โดยมีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องราวของ
มนุษย์เป็นหลัก แสดงถึงจินตนาการออกมาจากการวาดเส้น สี รูปทรง และพื้นผิว
2เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ผ่านทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ความกดดัน ความทุกข์ ความเศร้า ผสมผสาน
ด้วยท่าทางอิริยาบถต่างๆ โดยเลือกวัสดุที่เป็นดินเป็นสื่อถ่ายทอดลงในผลงานวาด
เส้นศิลปกรรมเซรามิคและรวมถึงการใช้เทคนิคตกแต่งในงานเครื่องปั้นดินเผาที่มี
มาในอดีต สามารถน�ำความรู้มาวิจัยสร้างสรรค์ศิลปะให้เกิดคุณค่าทางสุนทรียภาพ
ลงในผลงานวาดเส้นครั้งนี้
3 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
Drawing, the creation of human
forms inspired by line, colour,
form and texture in ceramic art.
Pakit Bunsut
Lecturer, Sculpture Division, Department of Printmaking, Painting and Sculpture,
Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University,
Chiang Mai, Thailand.
ABSTRACT
Drawing is one way an artist roughly expresses their idea as they start to
develop their art works. Most artists usually use drawing techniques to
develop their style and process for creating a real piece. Drawing therefore
presents the original visual idea for artworks such as paintings, sculpture,
prints, etc.
Drawingscanexpressfeelingsandemotionsaswellasrelatingstoriesofthings
fromthepast.Artistsnormallytransfertheirideasthroughhandmovements
and the use of some object, such as a piece of wood, stone, charcoal, soil,
to memorize and express their imagination. With my own sculptural art
experience,employingceramictechniques,Ihaveagreatinspirationtocreate
my own style of drawing. It mainly presents my imagination of the human
story, using the elements of color, form and texture.
4เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
All of my art pieces express the feelings of pressure, sadness and suffering
combined with human actions.
5 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์มีวัตถุประสงค์ที่จะถ่ายทอดความรู้ทาง
ด้านกระบวนการทางความคิดและการสร้างสรรค์ศิลปะ โดยมีที่มาและเรื่องราว
ของมนุษย์ในสังคมที่ถูกผลกระทบจากภัยสภาพแวดล้อม ความทุกข์ ความเศร้า
ความสิ้นหวัง ความกดดัน ความเจ็บป่วยต่อมนุษย์ เป็นประเด็นทางด้านเนื้อหา
ของความคิดของโครงงาน ส�ำหรับในโครงงานวิจัยได้กล่าวถึงประวัติศาสตร์ที่มา
ของงานวาดเขียนในอดีตและประวัติงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาของชนชาติต่างๆ
มาเรียบเรียง เพื่อได้ทราบถึงที่มาในงานวาดเส้นและงานเครื่องปั้นดินเผา ก่อนที่
จะเข้าสู่โครงงานวิจัยในเชิงศิลปะที่มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคล โดยมีแง่คิดตระหนัก
ถึงภัยในสังคมปัจจุบันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ความขัดแย้ง การขาดมิตรภาพใน
การอาศัยอยู่ร่วมกันทางสังคม เป็นการเผยแพร่ทัศนคติในผลงานวิจัยและสะท้อน
ให้เห็นถึงปัญหาสังคมในการด�ำรงอยู่ปัจจุบันของมนุษย์ในการพึ่งพาอาศัยเกื้อกูล
ซึ่งกันและกัน
ประวัติความเป็นมาของการวาดเขียน
และงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา
สมัยโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ การวาดเขียนเริ่มปรากฏในยุคหินเก่าระหว่าง
ประมาณ20,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีมนุษย์เผ่าแรก คือ โครมันยอง
(Cro - magnon) เป็นผู้รู้จักถ่ายทอดประสบการณ์จากธรรมชาติ การด�ำรงชีวิต
ของมนุษย์เผ่าพันธุ์นี้ถ่ายทอดการวาดเขียนลงบนผนังถ�้ำอัลตามิราและถ�้ำลาสโค
(AltamiraandLascauxcave) ในประเทศสเปนและทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส
รูปภาพที่ปรากฏในผนังถ�้ำเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์แสดงอาการเคลื่อนไหวรวม
อยู่ด้วยกันเป็นฝูง มีรูปคนปนอยู่บ้างเล็กน้อย ลักษณะการเขียน คือ เขียนส่วน
6เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ภาพวาดบนผนังถ�้ำอัลตามิรา ประเทศสเปน
ภาพวาดบนผนังถ�้ำลาสโค ประเทศฝรั่งเศส
ล�ำตัวเป็นรูปด้านข้าง ศีรษะเป็นรูปด้านหน้า การวาดเขียนระยะแรกไม่สามารถ
แยกว่าเป็นการวาดเขียนหรือระบายสีเพราะเป็นลักษณะผสมการวาดเขียน การ
ระบายสี และประติมากรรม บางแห่งก็มีการเซาะร่องผนังถ�้ำให้ลึกแล้วระบายสี
ในช่องนั้นเพื่อต้องการที่จะให้เห็นเส้นรอบนอกเด่นชัด นักโบราณคดีให้ความเห็น
เกี่ยวกับภาพเขียนสมัยยุคก่อนประวัติศาสตร์ว่ามีความเชื่ออยู่ 3 ประการ ได้แก่
ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย ความเชื่อเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ และความเชื่อ
เกี่ยวกับการส�ำนึกบาป (อารี 2535, 10) ต่อมางานวาดเขียนมีการพัฒนาจนมาถึง
ยุคสมัยอียิปต์(Eypgt) และบริเวณเมโสโปเตเมีย(Mesopotemaia) ศิลปกรรมของ
อียิปต์ก่อรูปมีลักษณะแน่นอนราวๆ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล
7 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ศิลปินอียิปต์มีความเข้าใจถ่ายทอดการวาดเขียนเป็นอย่างดี มีความมุ่งหมายส่ง
เสริมความเชื่อศรัทธาของฟาโรห์ แสดงให้เห็นในภาพเขียนและประติมากรรมที่
มีรูปขนาดใหญ่ ภาพเรื่องราวการวาดเขียนจะบรรยายกิจกรรมฟาโรห์ เช่น การ
ล่าสัตว์ การประพาสที่ต่างๆ ลักษณะภาพเขียนก็เป็นแบบสลับด้านศีรษะแสดงรูป
ด้านข้างดวงตา รูปด้านหน้าทรวงอก รูปด้านหน้าส่วนท่อนขา และอื่นๆ
ต่อมาการวาดเขียนมีการพัฒนามาจนเข้าสู่ยุคสมัยกรีกและโรมันอารยธรรมของยุโรป	
ตะวันตกถือว่าเป็นมารดาของอารยธรรมตะวันตกทุกแขนง ปรัชญาส�ำนักต่างๆ	
มีความเจริญมากท�ำให้เกิดส�ำนักคิดหลายแห่ง และส�ำนักคิดเหล่านั้นก็พิจารณา
หาปัญหาเหตุผลต่างกัน ส�ำหรับศิลปะการวาดเขียน ศิลปินกรีกถือว่าเป็นผลของ
ความพยายามของมนุษย์ที่ถ่ายทอดเลียนแบบธรรมชาติ (Art is the Imitation of
Nature) โดยมุ่งที่จะแสวงให้เห็นความเชื่อเด่นๆ ของสังคม 2 ประการ คือ ความ
ชัดเจนและความบริสุทธิ์ (Clarity and Purity) รูปคนถือเป็นรูปแบบอันส�ำคัญของ
การวาดเขียน โดยศิลปินกรีกได้ให้ความส�ำคัญของความงามของคนเป็นแบบเพื่อ
ที่จะถ่ายทอดเทพเจ้าตามความเชื่อ เช่น เทพเจ้าอะพอลโล เทพเจ้าวีนัส ฯลฯ งาน
วาดเขียนสมัยกรีกเป็นจุดเริ่มต้นของการแสดงรูปแบบศิลปกรรมประเภทต่างๆ การ
วาดเขียนตกแต่งผิวภาชนะจ�ำพวกไหยังกลายเป็นลักษณะการวาดเขียนเด่นๆ ของ
กรีก ด้วยศิลปินกรีกมีความช�ำนาญในการวาดพื้นผิวโค้งของไห และมีการออกแบบ
รูปทรงไหวาดลวดลายเรขาคณิตต่างๆ หรือเรื่องราวเกี่ยวกับขนบประเพณี นักรบ
ต่อมางานวาดเขียนเข้าสู่ในสมัยคลาสสิก ศิลปินได้แสดงสัดส่วนกล้ามเนื้อของคน
ได้อย่างงดงาม และในสมัยโรมันการวาดเขียนได้มีบทบาทส�ำคัญในการวางพื้นฐาน
โดยการถ่ายทอดการวาดเขียนของโรมันมีทั้งภาพคน ภาพทิวทัศน์ และภาพโบราณ
นิยายครึ่งสัตว์ครึ่งมนุษย์ ศิลปินมีความเข้าใจเกี่ยวกับความตื้นลึกใกล้ไกล ความ
กลมกลืนของแสงเงาอย่างสมบูรณ์ อันนับได้ว่าเป็นวิธีการถ่ายทอดเริ่มแรกของ
การวาดเขียนที่มีลักษณะสามมิติ โดยมีเรื่องราวเนื้อหารูปคน มีร่างกายสมบูรณ์
กล้ามเนื้องดงาม เพราะโรมันยกย่องนักรบและชัยชนะ ดังนั้น เรื่องราวภาพคน
8เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
จึงมีความส�ำคัญมาก ต่อมาการวาดเขียนเข้าสู่สมัยกลาง แนวทางการเขียนจะมุ่ง
ไปที่เรื่องราวของศาสนาจนท�ำให้การวาดเขียนมีลักษณะเด่นไปทางสัญลักษณ์หรือ
เป็นการออกแบบตามแนวสัญลักษณ์ หนังสือภาพประกอบคัมภีร์ และการออกแบบ
บนภาชนะ โดยวาดลวดลายถ่ายทอดประสบการณ์ในชีวิตจริงของมนุษย์เกี่ยวกับ
การหาอาหารและภาพความยิ่งใหญ่ของผู้ครองประเทศ รูปแบบการวาดเขียนมี
เสรีภาพและแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการรบราฆ่าฟันและสงคราม
ภาพสลักเขียนสีสมัยอียิปต์บนพื้นผิวของ
แผ่นหินขนาดใหญ่
ภาพวาดเขียนสมัยกรีกบนภาชนะดินเผา
9 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ประวัติงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา
ภาพจ�ำลองมนุษย์นีแอนเดอร์ทัล
มนุษย์ได้มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผามาเป็นเวลานาน สันนิษฐานว่ามนุษย์
นีแอนเดอร์ทัลที่รวมกลุ่มกันอยู่ในแถบยูเรเซีย(Eurasia) ตั้งแต่70,000 - 35,000
ปีก่อนคริสตกาล มีการใช้ไฟ มีการปั้นภาชนะและเผาในกองไฟ จากหลักฐานตั้งแต่
สมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์ได้ผลิตเครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะใช้สอยใน
ครอบครัว การขึ้นรูปภาชนะส่วนใหญ่มาจากวิธีปั้นมือหรือท�ำจากพิมพ์แล้วน�ำไป
ตากแห้งกับแสงอาทิตย์ มีการเคลือบหรือทาส่วนผสมภายนอกเพื่อลดความพรุน
ตัว เพื่อน�ำมาใช้เป็นภาชนะส�ำหรับใส่อาหารและบรรจุวัตถุดิบเก็บไว้ใช้ การตกแต่ง
ของภาชนะในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในระยะแรก ภาชนะถูกเผาไฟต�่ำท�ำให้มีความ
พรุนตัวและเปราะบางจนกระทั่งมีการค้นพบการเคลือบ
นอกจากนั้น ยังมีวิธีการท�ำให้ภาชนะ
มีความแกร่ง ผิวเรียบขึ้นและสามารถ
กันน�้ำได้ดีด้วยการขัดผิวในภาชนะ
ขณะที่ยังชื้นอยู่โดยใช้กรวดหรือหิน
เรียบๆ ขัดผิวให้มันขึ้น ท�ำให้มีความ
พรุนตัวน้อยลง นอกจากนั้น ยังน�ำ
วิธีทาน�้ำดิน (Slip) และน�้ำดินเนื้อ
ละเอียด (Terra Sigillata) มาใช้ใน
การผลิตเครื่องปั้นดินเผาด้วย
10เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
เครื่องปั้นดินเผาในวัฒนธรรมต่างๆ
จีน มีงานเครื่องปั้นดินเผา 7 ราชวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์โจว ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์ถัง	
ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ชิง แต่ละราชวงศ์มีความ
เป็นมาและลักษณะเด่นให้เห็นแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยจะขอหยิบยกเลือกเฉพาะ
ลักษณะเด่นมา 3 ราชวงศ์ที่ส�ำคัญและเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดในงาน
เครื่องปั้นดินเผาของจีน
ราชวงศ์ถัง (Tang Dynasty ค.ศ. 618 - 906) เป็นราชวงศ์ที่เห็นการเปลี่ยนแปลง
อย่างเด่นชัดในงานเครื่องปั้นดินเผา เป็นยุคที่รัฐบาลมีเสถียรภาพมาก มีการเปิด
เส้นทางการค้าใหม่ๆ การทดลองผลิตภาชนะในงานเครื่องปั้นดินเผา ประติมากรรม
บทกวี และภาพเขียน นอกจากมีการผลิตเครื่องปั้น โอ่ง ไห ถ้วยชา แล้ว ยังมี
การสร้างสรรค์รูปปั้นมนุษย์ในราชวงศ์ถังและรูปปั้นสัตว์ที่น�ำมาใช้งาน เช่น ม้า
อูฐ เป็นต้น โดยการออกแบบเน้นถึงความเรียบง่ายโดยใช้เคลือบตะกั่ว 3 สีร่วม
กัน บางครั้งมีลักษณะคล้ายการสาด (Splashed Glaze) ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว
และมีการบูรณาการเป็นการเคลือบที่มีชื่อเสียงซึ่งเรียกว่า เครื่องเคลือบซานไฉ
(Sancai) หรือเคลือบสามสี เคลือบชนิดนี้ประกอบไปด้วย สีเหลือง สีเขียว สีครีม
จัดว่าเป็นงานชั้นสูงของเซรามิคจีนโบราณ มีการน�ำโลหะออกไซด์มาใช้ในการให้สี
เช่น ออกไซด์ของเหล็ก โครเมียม ทองแดง มีการขึ้นรูปหลายรูปแบบ เช่น รูป
ทรงคน สัตว์ นักรบ ข้าราชการ และเด็ก ส่วนภาชนะในสมัยราชวงศ์ถังที่มีชื่อเสียง
จะเป็นภาชนะแจกันสโตนแวร์ไฟสูงซึ่งขูดลวดลายดอกบัวและมังกรเคลือบศิลาดล
(Celadon) ในสมัยราชวงศ์ถังได้เริ่มมีการใช้ดินพอร์ซเลนเผาไฟสูงระหว่าง1,250
-1,300 องศาเซลเซียส ภาชนะมีความแกร่งและบอบบางโปร่งแสง ภาชนะเหล่านี้
มีชื่อเรียกชนิดว่า เครื่องเคลือบหยู่ (Yue Ware) เครื่องเคลือบเซี่ยงและติ่ง (Xing
Ware and Ding ware) เครื่องเคลือบด�ำ (Black Ware)
11 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ตัวอย่างของภาชนะที่ใช้เนื้อดินสีขาวอุณหภูมิสูง 1,250 - 1,300 องศาเซลเซียส
เครื่องเคลือบหยู่ (Yue Ware) เครื่องเคลือบเซี่ยงและติ่ง
(Xing Ware and
Ding ware)
เครื่องเคลือบด�ำ
(Black Ware)
เคลือบสามสีหรือเคลือบสาด ประกอบด้วยสีเหลือง สีเขียว และสีครีม เป็นงานชั้นสูง
ของเซรามิคจีนโบราณ
SancaiSplashed Glaze
12เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ราชวงศ์หมิง(MingDynasty ค.ศ.1368 - 1644) เป็นสมัยที่แสดงถึงความช�ำนาญ
ของช่างปั้น มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาโรงงานผลิตดินพอร์ซเลนควบคุมโดยรัฐบาล
และในปลายสมัยราชวงศ์หมิงก็มีการผลิตเครื่องถ้วยที่ชื่อ เครื่องถ้วยหวู่ไฉ(Wucai)
หรือเคลือบห้าสี เครื่องถ้วยประเภทนี้มีอิทธิพลต่อเครื่องปั้นของประเทศญี่ปุ่นใน
เวลาต่อมา ปลายสมัยราชวงศ์หมิง มีการผลิตเครื่องถ้วยลายครามหรือเครื่องถ้วย
ห้าสี ผลิตเซรามิคประเภทAblac - de - china ได้มีการออกแบบรูปร่างและลวดลาย
แตกต่างกันไป นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบเทคนิคการเผาเคลือบสีแดงหลายเฉดสีซึ่ง
ได้จากการใช้ออกไซด์ของทองแดง(CopperOxide) ร่วมกับเคลือบด่าง(Alkaline)
ในบรรยากาศเผาแบบสันดาปไม่สมบูรณ์ (Reduction Atmosphere) นอกจากนี้
ยังนิยมใช้สีใต้เคลือบและสีบนเคลือบ (Enamel) มีการใช้ออกไซด์ของโคบอลต์
(CobaltOxide)น�้ำเงินสดใสและตกแต่งด้วยเรขาคณิตลวดลายดอกไม้พรรณไม้ต่างๆ
เครื่องถ้วยหวู่ไฉหรือเคลือบห้าสี การตกแต่งเคลือบด้วยสีใต้เคลือบ
และสีบนเคลือบ (Enamel)
13 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ราชวงศ์ชิง(ChingDynasty ค.ศ.1644 - 1912) ภาชนะเครื่องปั้นดินเผาในสมัยนี้	
แสดงให้เห็นถึงความชัดเจนของช่างปั้น ลักษณะเด่น คือ การท�ำภาชนะสีน�้ำเงินขาว	
การตกแต่งเคลือบด้วยสีบนเคลือบสีสันสดใส นิยมใช้สีลัสเตอร์(Luster) สีทองเพื่อ
เพิ่มความหรูหราสง่างาม ตกแต่งด้วยเคลือบศิลาดล ช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ได้
ผลิตภาชนะ 2 ชนิด คือ Yi - shing และ Blancde - chine เพื่อส่งออกยุโรปเป็น
จ�ำนวนมาก ภาชนะ Yi - shing เป็นภาชนะท�ำจากดินแดงเนื้อละเอียดมีผิวกึ่งมัน
เมื่อเผาอุณหภูมิสูง การปั้นภาชนะที่นิยมมากที่สุด คือ กาน�้ำชาซึ่งมีรูปทรงต่างกัน
ส่วนBlancde - chine เป็นพวกจานพอร์ซเลนเผาไฟต�่ำ สีสดโปร่งแสง ต่อมาการ
ส่งออกภาชนะเครื่องถ้วยก็เสื่อมถอยลง ชาวตะวันตกมักนิยมเครื่องถ้วยจีนที่มีเนื้อ
โปร่งและมีสีสันสดใสโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือสีชมพู โดยใช้ช่างปั้นจีนออกแบบและ
คัดลอกรูปแบบการเขียนลวดลายแบบตะวันตก หลังจากนั้นเซรามิคจีนได้กระจาย
ไปยังภูมิภาคต่างๆ ในประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม
ภาชนะปลายราชวงค์ชิงมีสีสันสดใส สีชมพูเนื้อโปร่งแสง
ภาชนะ Yi - shing ภาชนะ Blancde - chine
14เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
เมโสโปเตเมีย อยู่ในช่วงดินแดนระหว่างแม่น�้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ลักษณะงาน
เครื่องปั้นดินเผาแบ่งได้เป็น 3 ยุค
ยุคHassuna (5,000 - 4,500 ปีก่อนคริสตกาล) ภาชนะแบ่งได้เป็นกลุ่มทางเหนือ
ของเมโสโปเตเมีย คือ อัสสิเรีย(Assyria) ค้นพบชามโอ่งทรงกลมเรียบง่ายตกแต่ง
ขีดเส้น กลุ่มภาชนะชามาร์ร่า (Samara ware) ค้นพบเทคนิคระบายสีม่วงน�้ำตาล
บนน�้ำดินสีครีม มีลวดลายธรรมชาติแฝงอยู่ด้วย
ยุค Halaf (4,500 - 4,000 ปีก่อนคริสตกาล) ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาด้านเทคนิค	
2 อย่าง อย่างแรก คือ พัฒนาเรื่องเตาเผาซึ่งเผาภาชนะที่ระบายสีตกแต่งโดย
ขณะเผายังเห็นสีชัดเจน ซึ่งสมัยก่อนภาชนะเขียนลวดลายมักสูญเสียสีที่ตกแต่ง
ไปในเปลวไฟในการเผา อย่างที่2 ได้พัฒนาเรื่องเคลือบ ในยุคนั้นมักจะท�ำภาชนะ
เลียนแบบหิน Lapis Lazuli อาจเป็นเพราะสีม่วงน�้ำเงินสดใสดูมีค่าสวยงามจึงได้
ใช้วิธีการแกะสลักลงบนลูกปัดและใช้แร่ที่มีทองแดงเป็นส่วนผสม เช่น Azurite
หรือMalachite บดเป็นผงฝังและเผาจนหลอมละลายเกิดแก้วสีขึ้นมา ซึ่งอาจเป็น
เคลือบแบบหิน Lapis Lazuli มีสีม่วงน�้ำเงินสดใส เผาในอุณหภูมิสูง
แนวทางเริ่มต้นการท�ำแก้วและเคลือบรูปทรงหลากหลายซับซ้อนเลียนแบบงาน
โลหะและเป็นช่วงเดียวกับการเริ่มยุคโลหะมีค่ามากขึ้น
15 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ยุค Ubaid (4,000 - 3,500 ปีก่อนคริสตกาล) ช่วงนี้มีการพัฒนาแกนหมุน ซึ่ง
ต่อมาท�ำเป็นแป้นหมุนมากขึ้น มีการเตรียมดินจากเนื้อหยาบให้เป็นเนื้อละเอียด
ภาชนะมีการตกแต่งอย่างละเอียดปราณีต มีการผลิตแก้วขึ้นมาจากการหลอมทราย
ควอตซ์ และแอลคาไลน์ น�ำมาแกะสลักและขัด มีการค้นพบวิธีการเคลือบแบบ
ง่ายๆ โดยบดแก้วผงโรยบนภาชนะและใส่ออกไซด์สีลงไปบนแก้ว เช่น ทองแดงจะ
ให้สีเทอร์คอยส์ โคบอลต์ให้สีน�้ำเงิน ออกไซด์ต่างๆ เหล่านี้ได้น�ำไปใช้พัฒนาการ
เคลือบและค่อยๆ แพร่หลายไปยังประเทศต่างๆ ในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและมี
อิทธิพลต่องานเครื่องปั้นดินเผาทั่วโลก
อียิปต์ ภาชนะของอียิปต์ที่เก่าแก่ที่สุดมีสีเข้มและผิวหยาบ ในสมัยยุคหินใหม่
พัฒนาการภาชนะดินเผาได้เกิดขึ้นเรื่อยๆ ภาชนะของพวก Badari ที่อาศัยอยู่ลุ่ม
แม่น�้ำท�ำจากดินแดงลุ่มแม่น�้ำเนื้อละเอียด ส่วนใหญ่เป็นภาชนะใส่อาหารสีน�้ำตาล
และแดง มีขอบปากสีด�ำจากขี้เถ้าในการเผาแบบคว�่ำ ภาชนะถ้วยบางใบมีขอบปาก
บานตกแต่งด้วยการขีดลายเส้นให้เป็นร่องและฝังสีขาวลงไป ต่อมาภาชนะมีรูปทรง
สูงขึ้น ผิวขัดมัน มีความละเอียดสวยงามสีสันมากขึ้น รูปแบบแตกต่างกันไป จาก
นั้นมีการค้นพบ อียิปต์เธียน เพสต์(EgyptianPaste) ท�ำจาก ควอตช์ ทราย และ
โซดาผสมกันให้เป็นครีมข้น เมื่อใส่ทองแดง โคบอลต์ หรือแมงกานีสลงไปผ่านการ
เผาไฟต�่ำจะท�ำให้เคลือบมีสีเทอร์คอยส์น�้ำเงินเข้มหรือม่วง แต่การท�ำเพสต์นี้ใช้ได้
กับวัตถุเล็กๆ เช่น เครื่องประดับ ลูกปัด เป็นต้น
16เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ภาชนะจ�ำพวก Badari ท�ำจากดินแดง เป็นภาชนะใส่อาหารมีสีน�้ำตาลและสีแดง
ตกแต่งด้วยการเขียนลายเส้นและฝังสีขาว มีผิวขัดมัน
เคลือบสีเทอร์คอยส์ มีสีน�้ำเงินเข้มหรือม่วง
เผาอุณหภูมิต�่ำ มักนิยมท�ำเครื่องประดับและลูกปัด
17 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
อเมริกาใต้ ภาชนะดินเผายุคแรกค้นพบที่อเมริกาใต้ตั้งแต่3,200 ปีก่อนคริสตกาล
ภาชนะดินเผามีสีดําหรือสีเทาก้นกลมตกแต่งลวดลายเป็นแถบหรือขูดเป็นลาย
เรขาคณิต มีงานเครื่องปั้นดินเผาที่ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และเม็กซิโก ซึ่งไม่
เพียงแต่เพื่อประโยชน์ใช้สอยเท่านั้น ยังท�ำเป็นของเล่น เครื่องดนตรี และสิ่งบูชา
ใช้วิธีการขึ้นรูปอย่างง่ายๆ ปั้นด้วยมือตกแต่งผิวขัดมันหรือทาน�้ำดิน คนพื้นเมือง
ท�ำภาชนะเป็นรูปขวดกลมทรงน�้ำเต้า มีมือถือต่อเป็นพวยกลวง(Stirrup - Spout)
ซึ่งท�ำอย่างเหมือนจริง เป็นยุคทองของการปั้นภาชนะดินเผาในแง่ของฝีมือมาก
ภาชนะงานที่นิยมมาก คือ ขวดกลมมีพวยแฝดและมีหูจับยึดพวยทั้งสองและชาม
แก้ว ส่วนพวก Mochica มีความสนใจในรูปทรงของงานประติมากรรมซึ่งมักท�ำ
ขวดเป็นรูปทรงมนุษย์หรือศีรษะมนุษย์
ภาชนะเป็นรูปขวดกลมทรงน�้ำเต้า มีมือถือต่อเป็นพวยกลวง
มีสีแดง เหลือง ด�ำ และสีขาว ผิวมัน
18เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
อเมริกาเหนือ ช่วงบุกเบิกอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาชนะสร้างด้วยวิธีการ
ขึ้นรูปด้วยมือ โดยการขดดินอัดพิมพ์ แม้ว่ายังไม่มีการใช้แป้นหมุนแต่ก็ตกแต่ง
ภาชนะอย่างงดงาม มีการพัฒนาเตาเผาขึ้นสามารถเผาบรรยากาศเป็นแบบสันดาป
ไม่สมบูรณ์ (Reduction Firing) ผลงานที่ได้มีความละเอียดสวยงาม การตกแต่ง
ภายหลังใช้ดินสีแดงตกแต่งด้วยน�้ำดินสีด�ำ - ขาว เป็นลวดลายเรขาคณิต ภาชนะที่
เรียกว่า Zuni ใช้สีด�ำและแดงเข้มบนพื้นสีเทาจางวาดรูปนก กวาง และมีลวดลาย
เรขาคณิตตกแต่ง ส่วนภาชนะ Hopi ใช้สีด�ำบนพื้นสีเหลือง เป็นต้น
ภาชนะ Zuni ตกแต่งลวดลายเรขาคณิต วาดรูปนก กวาง
มีสีด�ำ ขาว และสีแดง เผาบรรยากาศแบบสันดาปไม่สมบูรณ์
ภาชนะ Hopi ตกแต่งลวดลายนก กวาง เขียนสีด�ำบนพื้นสีเหลือง ผิวมันเงางาม
19 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ญี่ปุ่นนักโบราณคดีสันนิษฐานว่าเครื่องปั้นดินเผาของญี่ปุ่นได้ท�ำมานานถึง10,000ปี	
เป็นภาชนะดินเผาไฟต�่ำเรียกว่า โจมอน (Jomon) เรียกตามลวดลายที่ผิวภาชนะ
ซึ่งเป็นลายเชือก (Cord - marked) ท�ำจากดินขดหรือดินแผ่นแล้วท�ำผิวเรียบโดย
ตีรอยต่อตามขดดิน ตกแต่งพื้นผิวด้วยการกดลายจากเปียเชือกหรือเสื่อ หลังจาก
ยุคภาชนะโจมอน ก็มีภาชนะดินเผาชื่อว่า ยาโยอิ ฮาจิ (Yayoi Haji) เป็นดินเผา
เอิร์ทเทนแวร์(EarthernWare) เผาในอุณหภูมิ700 - 750 องศาเซลเซียส ต่อมา
ได้มีการท�ำภาชนะสโตนแวร์เผาไฟสูงขึ้นประมาณ1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส
ซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเทศเกาหลีโดยใช้การเคลือบขี้เถ้า เมื่อเข้าสู่คริสต์ศตวรรษ
ที่ 13 มีการผลิตภาชนะสโตนแวร์มากขึ้นและค้นพบดินเกาลิน (รูปทรงภาชนะใน
ช่วงนี้ส่วนหนึ่งมีลักษณะงานคล้ายงานเครื่องปั้นดินเผาเกาหลี ในภาชนะสีน�้ำเงิน - 
ขาว) ในคริสต์ศตวรรษที่14 มีการก่อตั้งศูนย์กลางการผลิตเครื่องปั้นดินเผา6 แห่ง
ซึ่งมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันคือ เชโตะ(Seto) โตโกนาเมะ(Tokoname) ชิงารากิ
(Shigaraki) แทมบะ (Tamba) บิเซน (Bizen) และอิชิเซน (Echizen)
นอกจากนี้ ยังมีการผลิตภาชนะชงชามากขึ้น ภาชนะรากุก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญใช้
ในพิธีชงชา ท�ำจากดินหยาบ ทนต่อความร้อนและความเย็นรวดเร็วได้ เผาเคลือบ	
ไฟต�่ำ ต่อมาญี่ปุ่นสามารถค้นพบวัตถุดิบที่ให้สีใหม่ๆ หลายชนิด ท�ำให้รูปแบบและ
อิมาริ(Imari) ภาชนะพอร์ซเลนที่ตกแต่งด้วย
การเขียนสีแดง ทอง คราม หรูหราสวยงาม
สีสันตามธรรมชาติบนภาชนะ
เปลี่ยนไป ดอกไม้จะมีสีเขียว	
ผลไม้มีสีครามและสีแดง เป็นต้น	
ภาชนะอิมาริ(Imari)เป็นพอร์ซเลน	
มีชื่อเสียงมาก ส่งออกไปยัง
ยุโรป ตกแต่งด้วยสีแดง ทอง
คราม หรูหราและงดงาม(สุขุมาล
2548, 48 - 50)
20เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
เซโตะ (Seto) ตกแต่งภาชนะโดยใช้
ดินขาวเขียนสีน�้ำเงินเผาเคลือบ อุณหภูมิ
สูง 1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส
โจมอน (Jomon) ภาชนะตกแต่งกดลาย
เผาอุณหภูมิ 700 - 750 องศาเซลเซียส
แทมบะ (Tamba) ภาชนะชงชาญี่ปุ่นและขวดสาเก เผาอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ขึ้นไป
21 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ที่มาแนวคิดการสร้างสรรค์
ในอดีตกาลสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ได้แบ่งเผ่าพันธุ์การอยู่รวมกัน การ
สื่อสารร่วมกัน สร้างอาณาเขตที่อยู่อาศัย ต่อมามนุษย์ได้เริ่มรู้จักเรียนรู้พัฒนาการ
คิดค้นสรรพสิ่งต่างๆ ที่อ�ำนวยความสะดวกและการปกป้องตัวเอง การดูแลรักษา
อาณาเขตดินแดนของตนจากอดีตเข้าสู่โลกสังคมโลกาภิวัตน์ การพัฒนาทางด้าน
กระแสทุนนิยมเข้ามาอย่างรวดเร็ว มนุษย์มีสมองและความคิดสร้างสรรพสิ่งให้
เกิดขึ้นบนโลก คอยผลิตเทคโนโลยีก้าวล�้ำน�ำสมัยเพื่อตอบสนองความต้องการกับ
ตัวเอง การแข่งขัน การสร้างความเป็นผู้น�ำมหาอ�ำนาจภายในประเทศ สงคราม
ความขัดแย้ง ความสูญเสีย รวมไปถึงทรัพยากรทางธรรมชาติบนโลก ทั้งหมดก่อ
ให้เกิดผลกระทบอย่างมหาศาล ขาดความสมดุลทางระบบนิเวศน์ ภัยธรรมชาติที่
เข้ามาท�ำลาย โรคระบาดที่เกิดขึ้นรวมถึงความขัดแย้งกันเองของมนุษย์ เมื่อสังคม
ของมนุษย์มีการพัฒนา ความซับซ้อนพฤติกรรมมนุษย์จึงบังเกิดขึ้น พฤติกรรม
ในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในสังคม แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม
ที่ 1 ได้แก่ คนที่เกิดระหว่างประมาณ ค.ศ. 1930 กลุ่มที่ 2 เกิดระหว่างประมาณ	
ค.ศ.1945 หลังสงครามโลกจนถึงประมาณ ค.ศ.1965 และกลุ่มสุดท้ายส�ำหรับคน
ที่เกิดหลังจากนั้น กลุ่มที่1 มีชีวิตในวัยเด็กจนถึงวัยรุ่นช่วงใดช่วงหนึ่งอยู่ในระหว่าง
สงครามโลกครั้งที่2 และหลังสงครามเลิกใหม่ๆ สภาพทางสังคมเศรษฐกิจมีความ
วุ่นวายและตกต�่ำ คนหลายร้อยล้านคนได้รับความทุกข์จากการสูญเสียสมาชิก
ครอบครัวไป คนอีกจ�ำนวนมากเช่นเดียวกันที่มีสภาพบ้านแตกสาแหรกขาดหรือ
มีชีวิตอยู่ท่ามกลางความกลัวและความไม่ปลอดภัย อาหารไม่มีกินหรือไม่พอกิน
การด�ำรงชีวิตมีเพียงการอยู่ไปได้วันต่อวัน
ผู้ที่ผ่านสภาพเช่นว่านั้นได้ก็สร้างนิสัยประหยัดและอดทน ยอมรับเรื่องชะตากรรม
และอาญาสิทธิ์ ยอมรับการขาดสิทธิเสรีภาพเพื่อแลกกับความอยู่รอด ความรู้สึก
22เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ภาพข้อมูลภัยจากเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์
และอารมณ์ที่ถูกเก็บกด ความโกรธและความระแวง เป็นความทรงจ�ำถึงความทุกข์
ทรมาน เมื่อสงครามสงบ ความกลัวและความหวาดระแวงที่ฝังลึกจึงแสดงออก
เป็นพฤติกรรมของยุคหลังสงคราม เป็นพฤติกรรมการแสวงหามาตรการเพื่อความ
มั่นคงและปลอดภัย ระบบและกฎเกณฑ์สังคมต่างๆ ถูกสร้างขึ้นใหม่เพราะกลัว
สงคราม กลัวความเจ็บปวดและสูญเสีย จากการผลักดันของจิตใต้ส�ำนึกส่งผลให้คน
ที่เป็นผู้ใหญ่ส่งเสริมการเพิ่มประชากรเพื่อทดแทนการสูญเสียในระหว่างสงคราม
ผู้น�ำประเทศต่างหมกมุ่นอยู่กับค�ำว่าพัฒนา การเตรียมสังคมประเทศชาติใหม่  
ด้านความพร้อมและความปลอดภัย ซึ่งการพัฒนาความพร้อมและความปลอดภัย
ต้องใช้ทุนทรัพย์ท�ำให้เป็นสาเหตุที่ส�ำคัญยิ่งของการแข่งขัน เกิดการเร่งรัดท�ำลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง ส่วนความหวาดระแวงสงคราม
ท�ำให้มีการแข่งขันทางด้านยุทโธปกรณ์ การแบ่งขั้วและสงครามเย็น การป้องกัน
ประเทศด้วยการสร้างสมอาวุธล้วนเกิดในช่วงเวลาของคนกลุ่มที่ 1 แทบทั้งสิ้น
เพียงชั่วเวลาไม่ถึง 30 ปีหลังสงคราม ความสูญเสียของทรัพยากรธรรมชาติและ
การท�ำลายสิ่งแวดล้อมได้เพิ่มทวีมากขึ้น คนที่เกิดในช่วงเวลานี้จึงเป็นหัวหอกใน
การชักน�ำสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลง ความหายนะทางพฤติกรรมที่ส�ำคัญของคน
รุ่นดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงต่อคนในกลุ่มที่2 ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดใน
ช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวแล้ว
23 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
คนในกลุ่มที่2 ผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์ของความทุกข์ยากของสงครามและความ
ล�ำบากยากเข็ญ เด็กและวัยหนุ่มสาวในคนกลุ่มนี้ไม่สามารถยอมรับระเบียบวินัย
และกฎเกณฑ์ในการมุ่งสะสมอาวุธโดยเฉพาะการท�ำลายธรรมชาติ คนในกลุ่มนี้
เรียกร้องสิทธิเสรีภาพและความเป็นอิสระส่วนตัวอย่างแทบไม่มีขอบเขต แต่ใน
ขณะเดียวกันได้เกิดความไม่สมดุลระหว่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
ธรรมชาติกับจ�ำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ด้านเศรษฐกิจเสรีที่มีเงินเป็นอุดมคติส่งผล
ให้เกิดวิกฤตการณ์ของสังคมอย่างรุนแรงที่สุด โดยเฉพาะในระดับฐานล่าง ความ
ยากจนจากความไม่พอดีของความทะเยอทะยานกับความต้องการที่ถูกยั่วยุด้วย
ความแตกต่างระหว่างผู้ที่มีมากกับผู้ที่ไม่มีอะไร ส่งผลให้เกิดความล่มสลายใน
โครงสร้างของครอบครัวท่ามกลางความขัดแย้งของสภาพวัฒนธรรม เศรษฐกิจ
การเมือง และสภาพการณ์ของสิ่งแวดล้อมที่ก�ำลังล่มสลายเป็นพื้นฐานโครงสร้าง
ของสังคม เพาะบ่มจิตปัญญาต่อคนในกลุ่มที่ 3 ผู้ที่ก�ำลังเติบใหญ่ขึ้นมาทุกวัน
ดังนั้น ช่วงหลังทศวรรษที่ 80 จนปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีขบวนการทางสังคม
และการเมืองเกิดขึ้นมาในประเทศต่างๆ เป็นขบวนการฟันดาเมนตัลลิสม์
(Fundamentatist) ที่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา กลุ่มนาซีใหม่ กลุ่มหัว
รุนแรง ขบวนการแบ่งแยกดินแดนแยกผิวเผ่าพันธุ์ แยกเชื้อชาติรวมทั้งการแบ่ง
เขตและสงวนเขต มาตรการทางการค้าและที่ท�ำกิน ทั้งหมดเป็นพฤติกรรมที่เป็น
สากล มีสิ่งส�ำคัญที่อยู่เบื้องหลัง คือ จิตใต้ส�ำนึกของผู้ใหญ่ปัจจุบันที่ในวัยเด็ก
เคยชินกับอิสรเสรีภาพที่ค่อนข้างอ่อนด้อยในเรื่องของวินัยและความรับผิดชอบ
เคยชินกับความสะดวกสบายจากเศรษฐกิจเสรีที่อ�ำนวยแต่ความสนุกฉาบฉวยของ
วัฒนธรรมวัตถุ และสิ่งที่เรียกว่าวิถีคุณภาพชีวิตของคนรุ่นใหม่ ทั้งหมดส่งผลให้
เป็นพฤติกรรมต่อต้านสถาบันต่างๆ พวกเขาก�ำลังพยายามแสวงหาสังคมที่คิด
ว่าเหมาะสมส�ำหรับพวกเขา ไม่ว่าด้วยความรุนแรง หรือการหลีกหนีความกดดัน
ด้วยการพึ่งพระเครื่อง เหรียญตรา หรืออะไรก็ได้ที่คิดว่าช่วยพวกเขาให้ได้รับการ
บรรเทาเบาบางความเจ็บปวดสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในช่วงของหัวเลี้ยวหัวต่อของ
24เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
การเปลี่ยนแปลง จึงขึ้นอยู่กับสติปัญญาของชาวโลกทุกๆ คนในปัจจุบันจะต้อง
ช่วยกันคิดร่วมกันหาทางปรับปรุงระบบรูปแบบและโครงสร้างของสังคม ทัศนคติ
ของการอยู่ร่วมกันในสังคมโลกให้สอดคล้องกับทิศทางของการเปลี่ยนแปลง
พัฒนาการศึกษาและจิตปัญญาบนพื้นฐานของศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนพื้น
ฐานของวิทยาศาสตร์ด้วยการส่งเสริมพัฒนาเผยแพร่สู่ประชาชนอย่างเป็นรูป
ธรรม เห็นพ้องต้องกันหรือเห็นด้วยในความต่าง มองผลในระยะยาว วิเคราะห์หา
จุดดีและจุดเสียและพัฒนาอย่างเป็นระบบ สิ่งเหล่านี้ถ้ามนุษย์เข้าใจและมีเหตุผล
ต่อกัน ความสันติสุขบนโลกและสิ่งแวดล้อมก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น
(ประสาน 2538, 80)
อิทธิพลที่ได้รับ
ความทุกข์ ความเหงา ความเศร้า ความกดดัน และความเหินห่างทางด้านจิตใจ
ของมนุษย์ด้วยกันเองเป็นผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ผู้วิจัยสนใจประเด็นเนื้อหาของ
สภาวะทางด้านอารมณ์และจิตใจของมนุษย์ที่ถูกสภาพแวดล้อมทางสังคมเข้ามารุม
เร้า ซึ่งมีอิทธิพลต่อความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน เช่น ความขัดแย้งต่างๆ ของ
มนุษย์ในสังคมที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาการแตกแยกแบ่งพรรคแบ่งฝ่ายการเอา
รัดเอาเปรียบต่อมนุษย์ด้วยกันก่อให้เกิดปัญหาวุ่นวายทางสังคมและประเทศ ความ
ตึงเครียด ความกดดันส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจและร่างกาย เกิดโรคภัย ความ
เจ็บป่วย การพลัดพราก และความสูญเสีย เป็นต้น เป็นประเด็นที่ผู้วิจัยหยิบยก
ขึ้นมาและเป็นอิทธิพลที่ได้รับ
25 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ผลกระทบทางสังคมที่มีต่อสภาวะจิตใจและร่างกายของมนุษย์ด้วยกัน
ภาพข้อมูลและที่มาก่อนผลงานวาดเส้น
ใบไม้ รากไม้ ซากศพมนุษย์
26เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
แบบจ�ำลองผลงานประติมากรรมก่อนผลงานวิจัย
เทคนิคที่เลือกใช้ของผลงานวิจัยวาดเส้น
เทคนิคการขูดขีดม้วนห่อของดินแผ่นและการปั้นเป็นเทคนิคที่ผู้วิจัยเลือกใช้มา
อันดับแรก เพราะเป็นเทคนิคที่ใช้ตกแต่งเมื่อสร้างรูปทรงตอนเป็นดินเกือบทุกชิ้น
รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ประกอบการท�ำพื้นผิวร่องรอยของผลงานทั้งที่เป็นดินดิบและ
เมื่อท�ำในตอนเคลือบสี เทคนิคการขึ้นโครงสร้างตะแกรงลวดและใช้ผ้าชุบน�้ำดินเผา
เคลือบก็เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดใช้เทคนิคเหล่านี้มา และนอกจากนั้น
27 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ในผลงานวิจัยวาดเส้นยังมีเทคนิคที่กล่าวมาข้างต้นผสมผสานกันลงในผลงานบาง
ชิ้น เพียงแต่มิได้ระบุไว้ล่วงหน้าถึงความมากน้อยของเทคนิคใดๆ โดยเฉพาะในผล
งานชิ้นนั้นๆ ใช้การตัดสินใจในขณะปฏิบัติงาน โดยค�ำนึงถึงความความเหมาะสม
ตามทัศนคติและประสบการณ์เท่าที่มีถ่ายทอดจินตนาการจากอารมณ์ความรู้สึก
ของตนเองลงในผลงานวาดเส้นเพื่อสะท้อนมุมมองให้เห็นแง่คิดและเทคนิคในการ
สร้างสรรค์ผลงาน
เทคนิคการม้วนห่อขูดขีดของดินแผ่นปั้นและกดประทับพื้นผิวของงานตกแต่ง
เครื่องปั้นดินเผา
เทคนิคการวาดเขียนสีและตกแต่งเนื้อดินในงานเครื่องปั้นดินเผา
28เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
เทคนิคการขึ้นโครงสร้างตะแกรงลวดและผ้าชุบน�้ำดินปั้นผสม
เทคนิคเช็ดหมึกด�ำ เผาเคลือบใสราน และเขียนสีทองเผาบนเคลือบอีกครั้ง ในการ
เขียนสีบนเคลือบของงานเครื่องปั้นดินเผา
29 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ภาพผลงานการเผาดิบ (Biscuit)
วิเคราะห์ผลงานวิจัย
วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์ 23 ชิ้น
ผู้วิจัยได้วิจัยและก�ำหนดผลงานวาดเส้นทั้งหมด 23 ชิ้น ในแต่ละชิ้นมีรายละเอียด
เทคนิคคล้ายคลึงกัน เพียงแต่ปรับเปลี่ยนทางด้านรูปทรงของมนุษย์ในท่าทางที่
แตกต่างกัน ดังนั้น ผู้วิจัยได้เขียนวิเคราะห์ถึงผลงานในภาพรวมทั้งหมด เพื่อที่
จะได้เห็นการพัฒนาทางด้านรูปทรงเทคนิคและเนื้อหาให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในผล
งานแต่ละชิ้น ผู้วิจัยได้รวบรวมผลงานในแต่ละชิ้นตั้งแต่ชิ้นที่ 1 ถึง 23 มาแสดง
ให้เห็นด้านองค์ประกอบทางทัศนธาตุ ด้านเส้น รูปทรง ปริมาตร พื้นผิว และสี
และหลังจากนั้นจึงวิเคราะห์เทคนิครูปทรงแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้น
30เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์ชิ้นที่ 1 - 5
เส้นรอบนอก
ผู้วิจัยได้ก�ำหนดรูปทรงมนุษย์โดยกรรมวิธีการปั้นและขูดขีดม้วนห่อดุนแผ่นดินให้
เกิดรอยนูนเว้า รอยหยักโค้งในต�ำแหน่งของแผ่นดินภายในรูปทรงกลมและรูปทรงรี	
เพื่อให้เห็นทิศทางการเคลื่อนไหวของเส้นรอบนอกอย่างมีอิสระ ม้วนไหลเวียน
บรรจบในรูปทรงของแผ่นดินบนผลงานวาดเส้น
1 2
3
4 5
31 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
เส้นรอบใน
ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเส้นรอบในสร้างรูปทรงมนุษย์ให้เกิดขึ้นโดยมีการวาดขูดขีดเส้น
รอบในเป็นตัวก�ำหนดบอกทิศทางการเคลื่อนไหวท่าทางของมนุษย์ในแต่ละชิ้น ใน
ผลงานชิ้นที่1,4,5 รูปทรงมนุษย์จะเห็นได้ชัดว่ามีใบหน้า ล�ำตัว แขนขา การวาง
ต�ำแหน่งของเส้นและรูปทรง มีการเน้นเขียนสีเคลือบ คัดรูปทรงมนุษย์ให้เด่นชัด
ลงบนแผ่นดิน มีมิติแสงเงา น�้ำหนักของเส้นรอบในของสีเคลือบลงบนภาพ ส่วนใน
ผลงานชิ้นที่2 และ3 ค่าน�้ำหนักเส้นรอบในยังสร้างรูปทรงมนุษย์ไม่ชัดเจนเพราะ
สีที่ใช้ในการเคลือบค่อนข้างเด่นออกมามากเกินไป แต่ก็ยังคงมีโครงสร้างของเส้น
รอบในที่ยังบอกต�ำแหน่งทิศทางของรูปทรงมนุษย์อยู่
1 2
3
4 5
32เส้นสร้างสรรค์
รูปทรงมนุษย์
ปริมาตร
ปริมาตรพื้นผิวที่เห็นได้ชัดของผลงานชิ้นที่ 2, 3 และชิ้นที่ 4, 5 มีรอยยับย่นบน
พื้นผิวของดิน เห็นส่วนโค้งส่วนเว้าอย่างมีอิสระ ปริมาตรในผลงานชิ้นที่ 2 และ 3
สร้างมิติเห็นค่าน�้ำหนักแสงเงาบนแผ่นดิน มีจินตนาการของรูปร่างมนุษย์ชัดเจน
และคลุมเครือบ้างบางส่วน เป็นจังหวะในทิศทางที่เกิดขึ้นของปริมาตรที่ลึกตื้น
โค้งเว้าทางรูปทรงของผลงาน
1 2
3
4 5
33 วารสารวิจิตรศิลป์
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
ภาพผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์ชิ้นที่ 1 - 5
พื้นผิวและสี
ลักษณะการก�ำหนดพื้นผิวและสีที่สร้างขึ้น เช่น การขูดขีดและการกดประทับลง
แผ่นดิน การเขียนด้วยน�้ำดิน (Slip) และการใช้ผ้าชุบน�้ำดินสร้างพื้นผิวบนร่อง
รอย การเคลือบสีหนาและบางท�ำให้เกิดค่าน�้ำหนักของสีเข้มอ่อนของแสงเงาสร้าง
ให้เกิดมิติทางรูปทรง ผลงานวาดเส้นรูปทรงมนุษย์จึงมีท่าทางเคลื่อนไหวบอกถึง
สภาวะอารมณ์และความเปลี่ยนแปลงของรูปทรง เส้น สี ปริมาตร และพื้นผิว ตาม
จินตนาการที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดในการสร้างสรรค์
1 2 3
4 5
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4
Fine art book4

More Related Content

What's hot

สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557Sarawit eMagazine 17/2557
Saravit eMagazine 6/2556
Saravit eMagazine 6/2556Saravit eMagazine 6/2556
Saravit Issue17
Saravit Issue17Saravit Issue17

What's hot (20)

สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 33 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 36 ประจำเดือนกัมีนาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 36 ประจำเดือนกัมีนาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 36 ประจำเดือนกัมีนาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 36 ประจำเดือนกัมีนาคม 2559
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 47 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 47 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 47 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 47 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 21, ธันวาคม 2557
สาระวิทย์ ฉบับที่ 21, ธันวาคม 2557สาระวิทย์ ฉบับที่ 21, ธันวาคม 2557
สาระวิทย์ ฉบับที่ 21, ธันวาคม 2557
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 48 ประจำเดือนมีนาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 48 ประจำเดือนมีนาคม 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 48 ประจำเดือนมีนาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 48 ประจำเดือนมีนาคม 2560
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 19, ตุลาคม 2557
สาระวิทย์ ฉบับที่ 19, ตุลาคม 2557สาระวิทย์ ฉบับที่ 19, ตุลาคม 2557
สาระวิทย์ ฉบับที่ 19, ตุลาคม 2557
 
Saravit eMagazine 6/2556
Saravit eMagazine 6/2556Saravit eMagazine 6/2556
Saravit eMagazine 6/2556
 
Saravit eMagazine 5/2556
Saravit eMagazine 5/2556Saravit eMagazine 5/2556
Saravit eMagazine 5/2556
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 23, กุมภาพันธ์ 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 23, กุมภาพันธ์ 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 23, กุมภาพันธ์ 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 23, กุมภาพันธ์ 2558
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 38 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 38 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 38 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 38 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
 
Saravit Issue17
Saravit Issue17Saravit Issue17
Saravit Issue17
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 39 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 34 ประจำเดือนมกราคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 34 ประจำเดือนมกราคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 34 ประจำเดือนมกราคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 34 ประจำเดือนมกราคม 2559
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 35 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 35 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 35 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 35 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 

Fine art book4

  • 1. ISSN 1906-0572 JOURNAL OF FINE ARTS คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555
  • 2.
  • 4. วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ก กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา (Advisory Board) รองศาสตราจารย์พงศ์เดช ไชยคุตร (Assoc. Prof. Pongdej Chaiyakut) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพร รอดบุญ (Assist. Prof. Somporn Rodboon) ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ (Assist. Prof. Phitsamai Awakunphanit) บรรณาธิการ (Editor) รองศาสตราจารย์ ม.ล.สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ (Assoc. Prof. ML. Surasawasdi Sooksawasdi) ผู้ช่วยบรรณาธิการ (Sub Editor) อาจารย์พิชญา สุ่มจินดา (Pitchaya Soomjinda) กองบรรณาธิการฝ่ายวิชาการ (Editorial for Academic Affairs) ศาสตราจารย์เกียรติศักดิ์ ชานนนารถ (Prof. Kiettisak Chanonnart) ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง (Prof. Preecha Thaothong) ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี (Prof. Vichoke Mukdamanee) ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม (Emeritus Prof. Dr. Santi Leksukhum) ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สุรพล ด�ำริห์กุล (Emeritus Prof. Surapol Damrikul) ศาสตราจารย์อิทธิพล ตั้งโฉลก (Assoc. Prof. Itthipol Thangchalok) รองศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ (Assoc. Prof. Dr. Piriya Krairiksh) รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (Assoc. Prof. Woralun Boonyasurat) รองศาสตราจารย์ รสลิน กาสต์ (Assoc. Prof. Rossalin Garst) อาจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ (Sant Suwatcharapinun, Ph.D.) อาจารย์ ดร.สายัณห์ แดงกลม (Sayan Daengklom, Ph.D.) กองบรรณาธิการฝ่ายประสานงาน (Editorial Coordinator) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สงกรานต์ สุดหอม (Assist. Prof. Songkran Soodhom) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุพงษ์ เลาหสม (Assist. Prof. Panupong Laohasom)
  • 5. เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ข อาจารย์สุรชัย จงจิตงาม (Surachai Jongjitngam) อาจารย์พิชญา สุ่มจินดา (Pitchaya Soomjinda) สราวุธ รูปิน (Sarawut Roopin) กองบรรณาธิการฝ่ายศิลปกรรม (Editorial Fine art) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปกรณ์ภัทร์ จันทะไข่สร (Assist. Prof. Prakornpatara Janthakhaisorn) อาจารย์ภัทริน ลิมปรุ่งพัฒนกิจ (Pattarin Limprungpattanakit) อาจารย์ปรัชญา คัมภิรานนท์ (Prachya Campiranont) อาจารย์วีรพล สุวรรณกระจ่าง (Veerapol Suwankarjank) เบญญา รัตนวิชัย (Benya Rattanawichai) รวี ระพิพงษ์ (Rawee Rapipong) กองบรรณาธิการฝ่ายพิสูจน์อักษร (Editorial Proof Reading) พรพิศ เดชาวัฒน์ (Pornpit Dechawat) สุลาลักษณ์ ขาวผ่อง (Sulaluck Kaowphong) จันทร์วิมล แก้วแสนสาย (Junvimol Keawsansai) ริชาร์ด กาสต์ (Richard Garst) กองบรรณาธิการฝ่ายเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ (Editorial for Public Relations and Propagation) ไชยณรงค์ วัฒนวรากุล (Chainarong Wattanavarakul) ดวงใจ มาลีเดช (Doungjai Maleedech) สุรศักดิ์ พรามมา (Surasak Pramma) กองบรรณาธิการฝ่ายการเงินและควบคุมการจัดจ�ำหน่ายวารสาร (Editorial for Finance and Publication Distribution) ฆนาวรี เจียตระกูล (Kanawaree Jeatrakul) ไกรวิทย์ ครามใส (Kraivit Kramsai) Editors
  • 6. วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ฃ บทบรรณาธิการ หลังจากหายหน้าไปนานนับปี วารสารวิจิตรศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้โอกาสเปิดตัวอีกครั้งในวาระที่คณะวิจิตรศิลป์ตั้งมาได้ครบรอบ 30 ปี ในพุทธศักราช 2555 และด้วยพันธกิจที่คณะวิจิตรศิลป์มีหน้าที่มุ่งน�ำสังคมไทยไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ เราจึงให้ความส�ำคัญกับการบริการวิชาการควบคู่ไปกับเรื่องของจรรยาบรรณและความ ถูกต้องเสมอมา วารสารวิจิตรศิลป์ฉบับนี้ยังได้พัฒนาคุณภาพไปสู่วารสารวิชาการระดับ ชาติโดยใช้ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติมาเป็นเกณฑ์ใน การด�ำเนินงาน ในระยะเวลาที่ผ่านมา ประเทศไทยเราต้องประสบกับปัญหาวิกฤต คือ มหาอุทกภัย ประชาชนนับแสนทั้งผู้ประกอบการ ลูกจ้างแรงงาน และชาวบ้านร้านถิ่นต้องเดือดร้อน อย่างไม่เคยประสบมาก่อน ยังมีความเสียหายร้ายแรงที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งซึ่งไม่ได้ รับการเหลียวแลเท่าที่ควร นั่นคือ ความเสียหายในด้านมรดกวัฒนธรรมของชาติ มีแหล่ง โบราณสถานที่ส�ำคัญระดับชาติและระดับโลกหลายแห่งประสบอุทกภัยอย่างประเมินค่า ความเสียหายมิได้ ตัวอย่างเช่น เมืองมรดกโลกพระนครศรีอยุธยา รวมทั้งสถานที่ ส�ำคัญในการเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรมอีกหลายแห่งเช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และหอภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นต้น นับตั้งแต่น�้ำเริ่มไหลบ่าท�ำลายท�ำนบกระสอบทรายที่ กรมศิลปากรจัดวางไว้ป้องกันรอบบริเวณวัดไชยวัฒนาราม ขณะที่เกาะอยุธยาถูกน�้ำท่วม ทุกพื้นที่มาจนถึงปัจจุบันเมื่อระดับน�้ำลดลงไปแล้ว เรายังไม่เห็นสัญญาณใดๆ ที่แสดง ว่ารัฐบาลให้ความส�ำคัญกับการสูญเสียทางวัฒนธรรมเหล่านี้อย่างจริงๆ จังๆ หรือออก มาให้ความมั่นใจกับประชาชนเจ้าของมรดกวัฒนธรรมเหล่านั้นว่าจะมีมาตรการป้องกัน อย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก ซึ่งนอกจากการขาดวิสัยทัศน์ของรัฐมนตรีว่า การกระทรวงวัฒนธรรมแล้วต้องยอมรับว่าภัยธรรมชาติในภายหน้าจะมีความรุนแรงมาก
  • 7. เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ค ขึ้นเรื่อยๆ เกินกว่าองค์กรของรัฐจะแก้ไขปัญหาเองได้ ดังเห็นได้ว่าในกรณีของเหตุการณ์ มหาอุทกภัยนั้น สังคมต้องพึ่งพานักวิชาการสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากเพียงใด ส�ำหรับในกรณีการปกป้องมรดกวัฒนธรรมของชาติทั้งในสภาวะปรกติและสภาวะวิกฤต เราสามารถเตรียมการรับมือได้โดยการสร้างฐานความร่วมมือให้แผ่กว้างออกไปอย่าง มั่นคงทั้งทางวิชาการ ทางสังคม และงบประมาณ ประเทศไทยควรมีองค์กรเอกชน ที่ระดมองค์ความรู้ด้านการปกป้องอนุรักษ์และจัดการมรดกวัฒนธรรมของชาติเข้ามา ช่วยเหลือดูแลและด�ำเนินงานเคียงบ่าเคียงไหล่กับกรมศิลปากร ดังเช่นองค์กรที่เรียก ว่า National Trust ในประเทศอังกฤษ เห็นได้ว่าทุกวันนี้ ขณะที่รัฐบาลอังกฤษประสบ ปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอยเช่นเดียวกับชาติตะวันตกอื่นๆ แต่องค์กร National Trust ยังคงท�ำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองมรดกวัฒนธรรมทั้งในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรเช่นนี้ยังสามารถท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสาน แนวทางการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชนและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างราบรื่น ในกรณีที่เกิดปัญหาการดูแลรักษาโบราณสถานซึ่ง รัฐธรรมนูญก�ำหนดให้ถ่ายโอนไปสู่การดูแลของท้องถิ่น กระทรวงวัฒนธรรมไม่จ�ำเป็น ต้องจัดสรรงบประมาณใดๆ เพราะค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานส่วนใหญ่มาจากเงินบริจาค ซึ่งแม้ว่าจะเป็นปัญหาใหญ่แต่ถ้ารัฐบาลหรือรัฐสภาเห็นความส�ำคัญก็ควรจะต้องสนับสนุน โดยการออกระเบียบหรือกฎหมายที่จ�ำเป็น เช่น ให้ผู้บริจาคเงินแก่องค์กรสามารถน�ำ ไปหักภาษีได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ท�ำนองเดียวกับเงินบริจาคช่วยเหลือองค์กรการศึกษาที่ปฏิบัติ กันอยู่ นอกเหนือจากนั้น รัฐบาลหรือรัฐสภาอาจออกกฎหมายรองรับการบริจาค อสังหาริมทรัพย์ด้วยเหตุว่าเป็นอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์หรือศิลปวัฒนธรรม แต่เจ้าของไม่สามารถดูแลจัดการได้ ซึ่งองค์กรใหม่นี้ต้องเข้ามาบูรณปฏิสังขรณ์และ จัดการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนพร้อมทั้งเป็นแหล่งรายได้ขององค์กรต่อไป Editorial
  • 8. วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ฅ ในขั้นต้นนี้จึงขอเสนอให้สถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ออกมาร่วมมือกันศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งองค์กรอิสระด้านการปกปักษ์รักษา มรดกวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่นโดยประสานความรู้ความร่วมมือจากหน่วยงาน อนุรักษ์เอกชนในประเทศต่างๆ เช่น องค์กร National Trust ในอังกฤษ ควบคู่ไป กับการร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ที่ด�ำเนินการอยู่ในไทย เช่น ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร หรือมูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งเป็นหัวหอกส�ำคัญด้านการส่งเสริมและ อนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนในปัจจุบัน ที่ส�ำคัญองค์กรนี้ต้องด�ำเนินการอย่างอิสระโดยนักบริหารงานวัฒนธรรมมืออาชีพและ บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้บุคลากรจ�ำนวนน้อย แต่สามารถสร้างเครือข่าย กับนักวิชาการทุกสาขาด้านการอนุรักษ์และการบริหารวัฒนธรรมทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ทั้งในยามปรกติและยามวิกฤต ควรมีวิสัยทัศน์ใหม่ๆ ในการน�ำสังคมส่วน ใหญ่เข้ามามีส่วนร่วมในการปกป้องมรดกวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น การบริหาร งบประมาณต้องโปร่งใสตรวจสอบได้ และต้องประสานงานได้ดีกับทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชน ทั้งในทิศทางหรือแนวทางของการอนุรักษ์และการพัฒนา รองศาสตราจารย์ หม่อมหลวงสุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ บรรณาธิการ 25 ธันวาคม 2554
  • 9. เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ฆ ปกิต บุญสุทธิ์, เกิด (2551), เทคนิคเคลือบเผาไฟที่อุณหภูมิ 1,150 องศาเซลเซียส Pakit Bunsut, Birth (2008), 1,100 ํc glaze.
  • 10. วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ง สารบัญ - 1 - วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์ แรงบันดาลใจจากเส้น สี รูปทรง และพื้นผิวในงานศิลปกรรมเซรามิค Drawing, creation of human forms inspired by line, colour, form and texture in ceramic art. ปกิต บุญสุทธิ์ : Pakit Bunsut - 59 - ราวณะบุกยมโลกที่ปราสาทพิมาย Ravana Invading Yama-Loka at Prasat Phimai. พิชญา สุ่มจินดา : Pitchaya Soomjinda - 91 - สัญลักษณ์ในหน้าบันวิหารและอุโบสถสมัยครูบาศรีวิชัย: การเมืองวัฒนธรรมในสังคมล้านนา พ.ศ. 2463 - 2477 The Symbols of the Vihara and Uposatha Tympanums in Sri - vichai Monks age: Lan Na Cultural Politics between 1920 - 1934 A.D. ชาญคณิต อาวรณ์ : Chankhanit Arvorn - 121 - ศิลปะจีนร่วมสมัย หนึ่งศตวรรษจากอดีตสู่ปัจจุบัน Chinese contemporary art : A Century from Past to Present. ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล : Piyasaeng Chantarawongpaisarn
  • 11. เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ จ Table of content - 155 - ศิลปะแนวแอนติมิสต์: ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่านจากวัฒนธรรมดั้งเดิม ในจิตรกรรมล้านนา สู่รูปแบบอิทธิพลของภาพพิมพ์จากกรุงเทพมหานคร The intimate style, a transition between “traditional” Chiang Mai paintings and the printed patterns from Bangkok. เซบาสเตียน ตา - ยาค : Sébastien Tayac - 191 - บันทึกชาวไทใหญ่ในดินแดนลาว The Notes on Tai - Yai in Laos Territory. สราวุธ รูปิน : Sarawut Roopin - 223 - ความเชื่อ วิถีชีวิตชาวเขา สู่การสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมร่วมสมัย Hill Tribes; Beliefs and Ways of Life towards the Creation of Contemporary Sculpture. สุนทร สุวรรณเหม : Soonthorn Suwanhem - 267 - การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ด้วยสีธรรมชาติจากพืชในจังหวัดนครศรีธรรมราช Creating Printmaking Artworks with Natural Dyes from Plants in Nakhon Si Thammarat Province. แฉล้ม สถาพร : Chlaem Sathaporn
  • 12. 1 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์ แรงบันดาลใจจากเส้น สี รูปทรง และพื้นผิวในงานศิลปกรรมเซรามิค ปกิต บุญสุทธิ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาประติมากรรม ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทคัดย่อ งานวาดเส้นเป็นส่วนหนึ่งในการถ่ายทอดผ่านทางความคิดของศิลปิน ก่อนที่ศิลปิน จะเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปินได้วาดเส้น ค้นหารูปแบบ และเทคนิควิธีการเฉพาะ ของศิลปินเอง ดังนั้น ผลงานวาดเส้นจึงเป็นต้นความคิดและรูปแบบของการ สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ในด้านต่างๆ เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และงานศิลปะด้านแขนงอื่นๆ เป็นต้น งานวาดเส้นสามารถบอกถึง สภาวะอารมณ์ ความรู้สึก รวมถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น โดยมาจากความ คิดของมนุษย์ผ่านลงมาที่มือแล้วลากเคลื่อนไปมาโดยใช้วัสดุ ไม้ หิน ถ่าน ดิน เท่าที่ มีถ่ายทอดจินตนาการและบันทึกต่อสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์เอง ด้วยเหตุนี้ จาก ประสบการณ์การท�ำงานศิลปะทางด้านประติมากรรมและเครื่องปั้นดินเผาจึงเกิด แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้น โดยมีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องราวของ มนุษย์เป็นหลัก แสดงถึงจินตนาการออกมาจากการวาดเส้น สี รูปทรง และพื้นผิว
  • 13. 2เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ผ่านทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ความกดดัน ความทุกข์ ความเศร้า ผสมผสาน ด้วยท่าทางอิริยาบถต่างๆ โดยเลือกวัสดุที่เป็นดินเป็นสื่อถ่ายทอดลงในผลงานวาด เส้นศิลปกรรมเซรามิคและรวมถึงการใช้เทคนิคตกแต่งในงานเครื่องปั้นดินเผาที่มี มาในอดีต สามารถน�ำความรู้มาวิจัยสร้างสรรค์ศิลปะให้เกิดคุณค่าทางสุนทรียภาพ ลงในผลงานวาดเส้นครั้งนี้
  • 14. 3 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 Drawing, the creation of human forms inspired by line, colour, form and texture in ceramic art. Pakit Bunsut Lecturer, Sculpture Division, Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. ABSTRACT Drawing is one way an artist roughly expresses their idea as they start to develop their art works. Most artists usually use drawing techniques to develop their style and process for creating a real piece. Drawing therefore presents the original visual idea for artworks such as paintings, sculpture, prints, etc. Drawingscanexpressfeelingsandemotionsaswellasrelatingstoriesofthings fromthepast.Artistsnormallytransfertheirideasthroughhandmovements and the use of some object, such as a piece of wood, stone, charcoal, soil, to memorize and express their imagination. With my own sculptural art experience,employingceramictechniques,Ihaveagreatinspirationtocreate my own style of drawing. It mainly presents my imagination of the human story, using the elements of color, form and texture.
  • 15. 4เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ All of my art pieces express the feelings of pressure, sadness and suffering combined with human actions.
  • 16. 5 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์มีวัตถุประสงค์ที่จะถ่ายทอดความรู้ทาง ด้านกระบวนการทางความคิดและการสร้างสรรค์ศิลปะ โดยมีที่มาและเรื่องราว ของมนุษย์ในสังคมที่ถูกผลกระทบจากภัยสภาพแวดล้อม ความทุกข์ ความเศร้า ความสิ้นหวัง ความกดดัน ความเจ็บป่วยต่อมนุษย์ เป็นประเด็นทางด้านเนื้อหา ของความคิดของโครงงาน ส�ำหรับในโครงงานวิจัยได้กล่าวถึงประวัติศาสตร์ที่มา ของงานวาดเขียนในอดีตและประวัติงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาของชนชาติต่างๆ มาเรียบเรียง เพื่อได้ทราบถึงที่มาในงานวาดเส้นและงานเครื่องปั้นดินเผา ก่อนที่ จะเข้าสู่โครงงานวิจัยในเชิงศิลปะที่มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคล โดยมีแง่คิดตระหนัก ถึงภัยในสังคมปัจจุบันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ความขัดแย้ง การขาดมิตรภาพใน การอาศัยอยู่ร่วมกันทางสังคม เป็นการเผยแพร่ทัศนคติในผลงานวิจัยและสะท้อน ให้เห็นถึงปัญหาสังคมในการด�ำรงอยู่ปัจจุบันของมนุษย์ในการพึ่งพาอาศัยเกื้อกูล ซึ่งกันและกัน ประวัติความเป็นมาของการวาดเขียน และงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา สมัยโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ การวาดเขียนเริ่มปรากฏในยุคหินเก่าระหว่าง ประมาณ20,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีมนุษย์เผ่าแรก คือ โครมันยอง (Cro - magnon) เป็นผู้รู้จักถ่ายทอดประสบการณ์จากธรรมชาติ การด�ำรงชีวิต ของมนุษย์เผ่าพันธุ์นี้ถ่ายทอดการวาดเขียนลงบนผนังถ�้ำอัลตามิราและถ�้ำลาสโค (AltamiraandLascauxcave) ในประเทศสเปนและทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส รูปภาพที่ปรากฏในผนังถ�้ำเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์แสดงอาการเคลื่อนไหวรวม อยู่ด้วยกันเป็นฝูง มีรูปคนปนอยู่บ้างเล็กน้อย ลักษณะการเขียน คือ เขียนส่วน
  • 17. 6เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ภาพวาดบนผนังถ�้ำอัลตามิรา ประเทศสเปน ภาพวาดบนผนังถ�้ำลาสโค ประเทศฝรั่งเศส ล�ำตัวเป็นรูปด้านข้าง ศีรษะเป็นรูปด้านหน้า การวาดเขียนระยะแรกไม่สามารถ แยกว่าเป็นการวาดเขียนหรือระบายสีเพราะเป็นลักษณะผสมการวาดเขียน การ ระบายสี และประติมากรรม บางแห่งก็มีการเซาะร่องผนังถ�้ำให้ลึกแล้วระบายสี ในช่องนั้นเพื่อต้องการที่จะให้เห็นเส้นรอบนอกเด่นชัด นักโบราณคดีให้ความเห็น เกี่ยวกับภาพเขียนสมัยยุคก่อนประวัติศาสตร์ว่ามีความเชื่ออยู่ 3 ประการ ได้แก่ ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย ความเชื่อเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ และความเชื่อ เกี่ยวกับการส�ำนึกบาป (อารี 2535, 10) ต่อมางานวาดเขียนมีการพัฒนาจนมาถึง ยุคสมัยอียิปต์(Eypgt) และบริเวณเมโสโปเตเมีย(Mesopotemaia) ศิลปกรรมของ อียิปต์ก่อรูปมีลักษณะแน่นอนราวๆ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล
  • 18. 7 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ศิลปินอียิปต์มีความเข้าใจถ่ายทอดการวาดเขียนเป็นอย่างดี มีความมุ่งหมายส่ง เสริมความเชื่อศรัทธาของฟาโรห์ แสดงให้เห็นในภาพเขียนและประติมากรรมที่ มีรูปขนาดใหญ่ ภาพเรื่องราวการวาดเขียนจะบรรยายกิจกรรมฟาโรห์ เช่น การ ล่าสัตว์ การประพาสที่ต่างๆ ลักษณะภาพเขียนก็เป็นแบบสลับด้านศีรษะแสดงรูป ด้านข้างดวงตา รูปด้านหน้าทรวงอก รูปด้านหน้าส่วนท่อนขา และอื่นๆ ต่อมาการวาดเขียนมีการพัฒนามาจนเข้าสู่ยุคสมัยกรีกและโรมันอารยธรรมของยุโรป ตะวันตกถือว่าเป็นมารดาของอารยธรรมตะวันตกทุกแขนง ปรัชญาส�ำนักต่างๆ มีความเจริญมากท�ำให้เกิดส�ำนักคิดหลายแห่ง และส�ำนักคิดเหล่านั้นก็พิจารณา หาปัญหาเหตุผลต่างกัน ส�ำหรับศิลปะการวาดเขียน ศิลปินกรีกถือว่าเป็นผลของ ความพยายามของมนุษย์ที่ถ่ายทอดเลียนแบบธรรมชาติ (Art is the Imitation of Nature) โดยมุ่งที่จะแสวงให้เห็นความเชื่อเด่นๆ ของสังคม 2 ประการ คือ ความ ชัดเจนและความบริสุทธิ์ (Clarity and Purity) รูปคนถือเป็นรูปแบบอันส�ำคัญของ การวาดเขียน โดยศิลปินกรีกได้ให้ความส�ำคัญของความงามของคนเป็นแบบเพื่อ ที่จะถ่ายทอดเทพเจ้าตามความเชื่อ เช่น เทพเจ้าอะพอลโล เทพเจ้าวีนัส ฯลฯ งาน วาดเขียนสมัยกรีกเป็นจุดเริ่มต้นของการแสดงรูปแบบศิลปกรรมประเภทต่างๆ การ วาดเขียนตกแต่งผิวภาชนะจ�ำพวกไหยังกลายเป็นลักษณะการวาดเขียนเด่นๆ ของ กรีก ด้วยศิลปินกรีกมีความช�ำนาญในการวาดพื้นผิวโค้งของไห และมีการออกแบบ รูปทรงไหวาดลวดลายเรขาคณิตต่างๆ หรือเรื่องราวเกี่ยวกับขนบประเพณี นักรบ ต่อมางานวาดเขียนเข้าสู่ในสมัยคลาสสิก ศิลปินได้แสดงสัดส่วนกล้ามเนื้อของคน ได้อย่างงดงาม และในสมัยโรมันการวาดเขียนได้มีบทบาทส�ำคัญในการวางพื้นฐาน โดยการถ่ายทอดการวาดเขียนของโรมันมีทั้งภาพคน ภาพทิวทัศน์ และภาพโบราณ นิยายครึ่งสัตว์ครึ่งมนุษย์ ศิลปินมีความเข้าใจเกี่ยวกับความตื้นลึกใกล้ไกล ความ กลมกลืนของแสงเงาอย่างสมบูรณ์ อันนับได้ว่าเป็นวิธีการถ่ายทอดเริ่มแรกของ การวาดเขียนที่มีลักษณะสามมิติ โดยมีเรื่องราวเนื้อหารูปคน มีร่างกายสมบูรณ์ กล้ามเนื้องดงาม เพราะโรมันยกย่องนักรบและชัยชนะ ดังนั้น เรื่องราวภาพคน
  • 19. 8เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ จึงมีความส�ำคัญมาก ต่อมาการวาดเขียนเข้าสู่สมัยกลาง แนวทางการเขียนจะมุ่ง ไปที่เรื่องราวของศาสนาจนท�ำให้การวาดเขียนมีลักษณะเด่นไปทางสัญลักษณ์หรือ เป็นการออกแบบตามแนวสัญลักษณ์ หนังสือภาพประกอบคัมภีร์ และการออกแบบ บนภาชนะ โดยวาดลวดลายถ่ายทอดประสบการณ์ในชีวิตจริงของมนุษย์เกี่ยวกับ การหาอาหารและภาพความยิ่งใหญ่ของผู้ครองประเทศ รูปแบบการวาดเขียนมี เสรีภาพและแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการรบราฆ่าฟันและสงคราม ภาพสลักเขียนสีสมัยอียิปต์บนพื้นผิวของ แผ่นหินขนาดใหญ่ ภาพวาดเขียนสมัยกรีกบนภาชนะดินเผา
  • 20. 9 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ประวัติงานตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา ภาพจ�ำลองมนุษย์นีแอนเดอร์ทัล มนุษย์ได้มีการผลิตเครื่องปั้นดินเผามาเป็นเวลานาน สันนิษฐานว่ามนุษย์ นีแอนเดอร์ทัลที่รวมกลุ่มกันอยู่ในแถบยูเรเซีย(Eurasia) ตั้งแต่70,000 - 35,000 ปีก่อนคริสตกาล มีการใช้ไฟ มีการปั้นภาชนะและเผาในกองไฟ จากหลักฐานตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์ได้ผลิตเครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะใช้สอยใน ครอบครัว การขึ้นรูปภาชนะส่วนใหญ่มาจากวิธีปั้นมือหรือท�ำจากพิมพ์แล้วน�ำไป ตากแห้งกับแสงอาทิตย์ มีการเคลือบหรือทาส่วนผสมภายนอกเพื่อลดความพรุน ตัว เพื่อน�ำมาใช้เป็นภาชนะส�ำหรับใส่อาหารและบรรจุวัตถุดิบเก็บไว้ใช้ การตกแต่ง ของภาชนะในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในระยะแรก ภาชนะถูกเผาไฟต�่ำท�ำให้มีความ พรุนตัวและเปราะบางจนกระทั่งมีการค้นพบการเคลือบ นอกจากนั้น ยังมีวิธีการท�ำให้ภาชนะ มีความแกร่ง ผิวเรียบขึ้นและสามารถ กันน�้ำได้ดีด้วยการขัดผิวในภาชนะ ขณะที่ยังชื้นอยู่โดยใช้กรวดหรือหิน เรียบๆ ขัดผิวให้มันขึ้น ท�ำให้มีความ พรุนตัวน้อยลง นอกจากนั้น ยังน�ำ วิธีทาน�้ำดิน (Slip) และน�้ำดินเนื้อ ละเอียด (Terra Sigillata) มาใช้ใน การผลิตเครื่องปั้นดินเผาด้วย
  • 21. 10เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ เครื่องปั้นดินเผาในวัฒนธรรมต่างๆ จีน มีงานเครื่องปั้นดินเผา 7 ราชวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์โจว ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ชิง แต่ละราชวงศ์มีความ เป็นมาและลักษณะเด่นให้เห็นแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยจะขอหยิบยกเลือกเฉพาะ ลักษณะเด่นมา 3 ราชวงศ์ที่ส�ำคัญและเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดในงาน เครื่องปั้นดินเผาของจีน ราชวงศ์ถัง (Tang Dynasty ค.ศ. 618 - 906) เป็นราชวงศ์ที่เห็นการเปลี่ยนแปลง อย่างเด่นชัดในงานเครื่องปั้นดินเผา เป็นยุคที่รัฐบาลมีเสถียรภาพมาก มีการเปิด เส้นทางการค้าใหม่ๆ การทดลองผลิตภาชนะในงานเครื่องปั้นดินเผา ประติมากรรม บทกวี และภาพเขียน นอกจากมีการผลิตเครื่องปั้น โอ่ง ไห ถ้วยชา แล้ว ยังมี การสร้างสรรค์รูปปั้นมนุษย์ในราชวงศ์ถังและรูปปั้นสัตว์ที่น�ำมาใช้งาน เช่น ม้า อูฐ เป็นต้น โดยการออกแบบเน้นถึงความเรียบง่ายโดยใช้เคลือบตะกั่ว 3 สีร่วม กัน บางครั้งมีลักษณะคล้ายการสาด (Splashed Glaze) ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว และมีการบูรณาการเป็นการเคลือบที่มีชื่อเสียงซึ่งเรียกว่า เครื่องเคลือบซานไฉ (Sancai) หรือเคลือบสามสี เคลือบชนิดนี้ประกอบไปด้วย สีเหลือง สีเขียว สีครีม จัดว่าเป็นงานชั้นสูงของเซรามิคจีนโบราณ มีการน�ำโลหะออกไซด์มาใช้ในการให้สี เช่น ออกไซด์ของเหล็ก โครเมียม ทองแดง มีการขึ้นรูปหลายรูปแบบ เช่น รูป ทรงคน สัตว์ นักรบ ข้าราชการ และเด็ก ส่วนภาชนะในสมัยราชวงศ์ถังที่มีชื่อเสียง จะเป็นภาชนะแจกันสโตนแวร์ไฟสูงซึ่งขูดลวดลายดอกบัวและมังกรเคลือบศิลาดล (Celadon) ในสมัยราชวงศ์ถังได้เริ่มมีการใช้ดินพอร์ซเลนเผาไฟสูงระหว่าง1,250 -1,300 องศาเซลเซียส ภาชนะมีความแกร่งและบอบบางโปร่งแสง ภาชนะเหล่านี้ มีชื่อเรียกชนิดว่า เครื่องเคลือบหยู่ (Yue Ware) เครื่องเคลือบเซี่ยงและติ่ง (Xing Ware and Ding ware) เครื่องเคลือบด�ำ (Black Ware)
  • 22. 11 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ตัวอย่างของภาชนะที่ใช้เนื้อดินสีขาวอุณหภูมิสูง 1,250 - 1,300 องศาเซลเซียส เครื่องเคลือบหยู่ (Yue Ware) เครื่องเคลือบเซี่ยงและติ่ง (Xing Ware and Ding ware) เครื่องเคลือบด�ำ (Black Ware) เคลือบสามสีหรือเคลือบสาด ประกอบด้วยสีเหลือง สีเขียว และสีครีม เป็นงานชั้นสูง ของเซรามิคจีนโบราณ SancaiSplashed Glaze
  • 23. 12เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ราชวงศ์หมิง(MingDynasty ค.ศ.1368 - 1644) เป็นสมัยที่แสดงถึงความช�ำนาญ ของช่างปั้น มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาโรงงานผลิตดินพอร์ซเลนควบคุมโดยรัฐบาล และในปลายสมัยราชวงศ์หมิงก็มีการผลิตเครื่องถ้วยที่ชื่อ เครื่องถ้วยหวู่ไฉ(Wucai) หรือเคลือบห้าสี เครื่องถ้วยประเภทนี้มีอิทธิพลต่อเครื่องปั้นของประเทศญี่ปุ่นใน เวลาต่อมา ปลายสมัยราชวงศ์หมิง มีการผลิตเครื่องถ้วยลายครามหรือเครื่องถ้วย ห้าสี ผลิตเซรามิคประเภทAblac - de - china ได้มีการออกแบบรูปร่างและลวดลาย แตกต่างกันไป นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบเทคนิคการเผาเคลือบสีแดงหลายเฉดสีซึ่ง ได้จากการใช้ออกไซด์ของทองแดง(CopperOxide) ร่วมกับเคลือบด่าง(Alkaline) ในบรรยากาศเผาแบบสันดาปไม่สมบูรณ์ (Reduction Atmosphere) นอกจากนี้ ยังนิยมใช้สีใต้เคลือบและสีบนเคลือบ (Enamel) มีการใช้ออกไซด์ของโคบอลต์ (CobaltOxide)น�้ำเงินสดใสและตกแต่งด้วยเรขาคณิตลวดลายดอกไม้พรรณไม้ต่างๆ เครื่องถ้วยหวู่ไฉหรือเคลือบห้าสี การตกแต่งเคลือบด้วยสีใต้เคลือบ และสีบนเคลือบ (Enamel)
  • 24. 13 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ราชวงศ์ชิง(ChingDynasty ค.ศ.1644 - 1912) ภาชนะเครื่องปั้นดินเผาในสมัยนี้ แสดงให้เห็นถึงความชัดเจนของช่างปั้น ลักษณะเด่น คือ การท�ำภาชนะสีน�้ำเงินขาว การตกแต่งเคลือบด้วยสีบนเคลือบสีสันสดใส นิยมใช้สีลัสเตอร์(Luster) สีทองเพื่อ เพิ่มความหรูหราสง่างาม ตกแต่งด้วยเคลือบศิลาดล ช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ได้ ผลิตภาชนะ 2 ชนิด คือ Yi - shing และ Blancde - chine เพื่อส่งออกยุโรปเป็น จ�ำนวนมาก ภาชนะ Yi - shing เป็นภาชนะท�ำจากดินแดงเนื้อละเอียดมีผิวกึ่งมัน เมื่อเผาอุณหภูมิสูง การปั้นภาชนะที่นิยมมากที่สุด คือ กาน�้ำชาซึ่งมีรูปทรงต่างกัน ส่วนBlancde - chine เป็นพวกจานพอร์ซเลนเผาไฟต�่ำ สีสดโปร่งแสง ต่อมาการ ส่งออกภาชนะเครื่องถ้วยก็เสื่อมถอยลง ชาวตะวันตกมักนิยมเครื่องถ้วยจีนที่มีเนื้อ โปร่งและมีสีสันสดใสโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือสีชมพู โดยใช้ช่างปั้นจีนออกแบบและ คัดลอกรูปแบบการเขียนลวดลายแบบตะวันตก หลังจากนั้นเซรามิคจีนได้กระจาย ไปยังภูมิภาคต่างๆ ในประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม ภาชนะปลายราชวงค์ชิงมีสีสันสดใส สีชมพูเนื้อโปร่งแสง ภาชนะ Yi - shing ภาชนะ Blancde - chine
  • 25. 14เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ เมโสโปเตเมีย อยู่ในช่วงดินแดนระหว่างแม่น�้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ลักษณะงาน เครื่องปั้นดินเผาแบ่งได้เป็น 3 ยุค ยุคHassuna (5,000 - 4,500 ปีก่อนคริสตกาล) ภาชนะแบ่งได้เป็นกลุ่มทางเหนือ ของเมโสโปเตเมีย คือ อัสสิเรีย(Assyria) ค้นพบชามโอ่งทรงกลมเรียบง่ายตกแต่ง ขีดเส้น กลุ่มภาชนะชามาร์ร่า (Samara ware) ค้นพบเทคนิคระบายสีม่วงน�้ำตาล บนน�้ำดินสีครีม มีลวดลายธรรมชาติแฝงอยู่ด้วย ยุค Halaf (4,500 - 4,000 ปีก่อนคริสตกาล) ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาด้านเทคนิค 2 อย่าง อย่างแรก คือ พัฒนาเรื่องเตาเผาซึ่งเผาภาชนะที่ระบายสีตกแต่งโดย ขณะเผายังเห็นสีชัดเจน ซึ่งสมัยก่อนภาชนะเขียนลวดลายมักสูญเสียสีที่ตกแต่ง ไปในเปลวไฟในการเผา อย่างที่2 ได้พัฒนาเรื่องเคลือบ ในยุคนั้นมักจะท�ำภาชนะ เลียนแบบหิน Lapis Lazuli อาจเป็นเพราะสีม่วงน�้ำเงินสดใสดูมีค่าสวยงามจึงได้ ใช้วิธีการแกะสลักลงบนลูกปัดและใช้แร่ที่มีทองแดงเป็นส่วนผสม เช่น Azurite หรือMalachite บดเป็นผงฝังและเผาจนหลอมละลายเกิดแก้วสีขึ้นมา ซึ่งอาจเป็น เคลือบแบบหิน Lapis Lazuli มีสีม่วงน�้ำเงินสดใส เผาในอุณหภูมิสูง แนวทางเริ่มต้นการท�ำแก้วและเคลือบรูปทรงหลากหลายซับซ้อนเลียนแบบงาน โลหะและเป็นช่วงเดียวกับการเริ่มยุคโลหะมีค่ามากขึ้น
  • 26. 15 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ยุค Ubaid (4,000 - 3,500 ปีก่อนคริสตกาล) ช่วงนี้มีการพัฒนาแกนหมุน ซึ่ง ต่อมาท�ำเป็นแป้นหมุนมากขึ้น มีการเตรียมดินจากเนื้อหยาบให้เป็นเนื้อละเอียด ภาชนะมีการตกแต่งอย่างละเอียดปราณีต มีการผลิตแก้วขึ้นมาจากการหลอมทราย ควอตซ์ และแอลคาไลน์ น�ำมาแกะสลักและขัด มีการค้นพบวิธีการเคลือบแบบ ง่ายๆ โดยบดแก้วผงโรยบนภาชนะและใส่ออกไซด์สีลงไปบนแก้ว เช่น ทองแดงจะ ให้สีเทอร์คอยส์ โคบอลต์ให้สีน�้ำเงิน ออกไซด์ต่างๆ เหล่านี้ได้น�ำไปใช้พัฒนาการ เคลือบและค่อยๆ แพร่หลายไปยังประเทศต่างๆ ในแถบเมดิเตอร์เรเนียนและมี อิทธิพลต่องานเครื่องปั้นดินเผาทั่วโลก อียิปต์ ภาชนะของอียิปต์ที่เก่าแก่ที่สุดมีสีเข้มและผิวหยาบ ในสมัยยุคหินใหม่ พัฒนาการภาชนะดินเผาได้เกิดขึ้นเรื่อยๆ ภาชนะของพวก Badari ที่อาศัยอยู่ลุ่ม แม่น�้ำท�ำจากดินแดงลุ่มแม่น�้ำเนื้อละเอียด ส่วนใหญ่เป็นภาชนะใส่อาหารสีน�้ำตาล และแดง มีขอบปากสีด�ำจากขี้เถ้าในการเผาแบบคว�่ำ ภาชนะถ้วยบางใบมีขอบปาก บานตกแต่งด้วยการขีดลายเส้นให้เป็นร่องและฝังสีขาวลงไป ต่อมาภาชนะมีรูปทรง สูงขึ้น ผิวขัดมัน มีความละเอียดสวยงามสีสันมากขึ้น รูปแบบแตกต่างกันไป จาก นั้นมีการค้นพบ อียิปต์เธียน เพสต์(EgyptianPaste) ท�ำจาก ควอตช์ ทราย และ โซดาผสมกันให้เป็นครีมข้น เมื่อใส่ทองแดง โคบอลต์ หรือแมงกานีสลงไปผ่านการ เผาไฟต�่ำจะท�ำให้เคลือบมีสีเทอร์คอยส์น�้ำเงินเข้มหรือม่วง แต่การท�ำเพสต์นี้ใช้ได้ กับวัตถุเล็กๆ เช่น เครื่องประดับ ลูกปัด เป็นต้น
  • 27. 16เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ภาชนะจ�ำพวก Badari ท�ำจากดินแดง เป็นภาชนะใส่อาหารมีสีน�้ำตาลและสีแดง ตกแต่งด้วยการเขียนลายเส้นและฝังสีขาว มีผิวขัดมัน เคลือบสีเทอร์คอยส์ มีสีน�้ำเงินเข้มหรือม่วง เผาอุณหภูมิต�่ำ มักนิยมท�ำเครื่องประดับและลูกปัด
  • 28. 17 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 อเมริกาใต้ ภาชนะดินเผายุคแรกค้นพบที่อเมริกาใต้ตั้งแต่3,200 ปีก่อนคริสตกาล ภาชนะดินเผามีสีดําหรือสีเทาก้นกลมตกแต่งลวดลายเป็นแถบหรือขูดเป็นลาย เรขาคณิต มีงานเครื่องปั้นดินเผาที่ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และเม็กซิโก ซึ่งไม่ เพียงแต่เพื่อประโยชน์ใช้สอยเท่านั้น ยังท�ำเป็นของเล่น เครื่องดนตรี และสิ่งบูชา ใช้วิธีการขึ้นรูปอย่างง่ายๆ ปั้นด้วยมือตกแต่งผิวขัดมันหรือทาน�้ำดิน คนพื้นเมือง ท�ำภาชนะเป็นรูปขวดกลมทรงน�้ำเต้า มีมือถือต่อเป็นพวยกลวง(Stirrup - Spout) ซึ่งท�ำอย่างเหมือนจริง เป็นยุคทองของการปั้นภาชนะดินเผาในแง่ของฝีมือมาก ภาชนะงานที่นิยมมาก คือ ขวดกลมมีพวยแฝดและมีหูจับยึดพวยทั้งสองและชาม แก้ว ส่วนพวก Mochica มีความสนใจในรูปทรงของงานประติมากรรมซึ่งมักท�ำ ขวดเป็นรูปทรงมนุษย์หรือศีรษะมนุษย์ ภาชนะเป็นรูปขวดกลมทรงน�้ำเต้า มีมือถือต่อเป็นพวยกลวง มีสีแดง เหลือง ด�ำ และสีขาว ผิวมัน
  • 29. 18เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ อเมริกาเหนือ ช่วงบุกเบิกอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาชนะสร้างด้วยวิธีการ ขึ้นรูปด้วยมือ โดยการขดดินอัดพิมพ์ แม้ว่ายังไม่มีการใช้แป้นหมุนแต่ก็ตกแต่ง ภาชนะอย่างงดงาม มีการพัฒนาเตาเผาขึ้นสามารถเผาบรรยากาศเป็นแบบสันดาป ไม่สมบูรณ์ (Reduction Firing) ผลงานที่ได้มีความละเอียดสวยงาม การตกแต่ง ภายหลังใช้ดินสีแดงตกแต่งด้วยน�้ำดินสีด�ำ - ขาว เป็นลวดลายเรขาคณิต ภาชนะที่ เรียกว่า Zuni ใช้สีด�ำและแดงเข้มบนพื้นสีเทาจางวาดรูปนก กวาง และมีลวดลาย เรขาคณิตตกแต่ง ส่วนภาชนะ Hopi ใช้สีด�ำบนพื้นสีเหลือง เป็นต้น ภาชนะ Zuni ตกแต่งลวดลายเรขาคณิต วาดรูปนก กวาง มีสีด�ำ ขาว และสีแดง เผาบรรยากาศแบบสันดาปไม่สมบูรณ์ ภาชนะ Hopi ตกแต่งลวดลายนก กวาง เขียนสีด�ำบนพื้นสีเหลือง ผิวมันเงางาม
  • 30. 19 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ญี่ปุ่นนักโบราณคดีสันนิษฐานว่าเครื่องปั้นดินเผาของญี่ปุ่นได้ท�ำมานานถึง10,000ปี เป็นภาชนะดินเผาไฟต�่ำเรียกว่า โจมอน (Jomon) เรียกตามลวดลายที่ผิวภาชนะ ซึ่งเป็นลายเชือก (Cord - marked) ท�ำจากดินขดหรือดินแผ่นแล้วท�ำผิวเรียบโดย ตีรอยต่อตามขดดิน ตกแต่งพื้นผิวด้วยการกดลายจากเปียเชือกหรือเสื่อ หลังจาก ยุคภาชนะโจมอน ก็มีภาชนะดินเผาชื่อว่า ยาโยอิ ฮาจิ (Yayoi Haji) เป็นดินเผา เอิร์ทเทนแวร์(EarthernWare) เผาในอุณหภูมิ700 - 750 องศาเซลเซียส ต่อมา ได้มีการท�ำภาชนะสโตนแวร์เผาไฟสูงขึ้นประมาณ1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส ซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเทศเกาหลีโดยใช้การเคลือบขี้เถ้า เมื่อเข้าสู่คริสต์ศตวรรษ ที่ 13 มีการผลิตภาชนะสโตนแวร์มากขึ้นและค้นพบดินเกาลิน (รูปทรงภาชนะใน ช่วงนี้ส่วนหนึ่งมีลักษณะงานคล้ายงานเครื่องปั้นดินเผาเกาหลี ในภาชนะสีน�้ำเงิน -  ขาว) ในคริสต์ศตวรรษที่14 มีการก่อตั้งศูนย์กลางการผลิตเครื่องปั้นดินเผา6 แห่ง ซึ่งมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันคือ เชโตะ(Seto) โตโกนาเมะ(Tokoname) ชิงารากิ (Shigaraki) แทมบะ (Tamba) บิเซน (Bizen) และอิชิเซน (Echizen) นอกจากนี้ ยังมีการผลิตภาชนะชงชามากขึ้น ภาชนะรากุก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญใช้ ในพิธีชงชา ท�ำจากดินหยาบ ทนต่อความร้อนและความเย็นรวดเร็วได้ เผาเคลือบ ไฟต�่ำ ต่อมาญี่ปุ่นสามารถค้นพบวัตถุดิบที่ให้สีใหม่ๆ หลายชนิด ท�ำให้รูปแบบและ อิมาริ(Imari) ภาชนะพอร์ซเลนที่ตกแต่งด้วย การเขียนสีแดง ทอง คราม หรูหราสวยงาม สีสันตามธรรมชาติบนภาชนะ เปลี่ยนไป ดอกไม้จะมีสีเขียว ผลไม้มีสีครามและสีแดง เป็นต้น ภาชนะอิมาริ(Imari)เป็นพอร์ซเลน มีชื่อเสียงมาก ส่งออกไปยัง ยุโรป ตกแต่งด้วยสีแดง ทอง คราม หรูหราและงดงาม(สุขุมาล 2548, 48 - 50)
  • 31. 20เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ เซโตะ (Seto) ตกแต่งภาชนะโดยใช้ ดินขาวเขียนสีน�้ำเงินเผาเคลือบ อุณหภูมิ สูง 1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส โจมอน (Jomon) ภาชนะตกแต่งกดลาย เผาอุณหภูมิ 700 - 750 องศาเซลเซียส แทมบะ (Tamba) ภาชนะชงชาญี่ปุ่นและขวดสาเก เผาอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ขึ้นไป
  • 32. 21 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ที่มาแนวคิดการสร้างสรรค์ ในอดีตกาลสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ได้แบ่งเผ่าพันธุ์การอยู่รวมกัน การ สื่อสารร่วมกัน สร้างอาณาเขตที่อยู่อาศัย ต่อมามนุษย์ได้เริ่มรู้จักเรียนรู้พัฒนาการ คิดค้นสรรพสิ่งต่างๆ ที่อ�ำนวยความสะดวกและการปกป้องตัวเอง การดูแลรักษา อาณาเขตดินแดนของตนจากอดีตเข้าสู่โลกสังคมโลกาภิวัตน์ การพัฒนาทางด้าน กระแสทุนนิยมเข้ามาอย่างรวดเร็ว มนุษย์มีสมองและความคิดสร้างสรรพสิ่งให้ เกิดขึ้นบนโลก คอยผลิตเทคโนโลยีก้าวล�้ำน�ำสมัยเพื่อตอบสนองความต้องการกับ ตัวเอง การแข่งขัน การสร้างความเป็นผู้น�ำมหาอ�ำนาจภายในประเทศ สงคราม ความขัดแย้ง ความสูญเสีย รวมไปถึงทรัพยากรทางธรรมชาติบนโลก ทั้งหมดก่อ ให้เกิดผลกระทบอย่างมหาศาล ขาดความสมดุลทางระบบนิเวศน์ ภัยธรรมชาติที่ เข้ามาท�ำลาย โรคระบาดที่เกิดขึ้นรวมถึงความขัดแย้งกันเองของมนุษย์ เมื่อสังคม ของมนุษย์มีการพัฒนา ความซับซ้อนพฤติกรรมมนุษย์จึงบังเกิดขึ้น พฤติกรรม ในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในสังคม แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม ที่ 1 ได้แก่ คนที่เกิดระหว่างประมาณ ค.ศ. 1930 กลุ่มที่ 2 เกิดระหว่างประมาณ ค.ศ.1945 หลังสงครามโลกจนถึงประมาณ ค.ศ.1965 และกลุ่มสุดท้ายส�ำหรับคน ที่เกิดหลังจากนั้น กลุ่มที่1 มีชีวิตในวัยเด็กจนถึงวัยรุ่นช่วงใดช่วงหนึ่งอยู่ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่2 และหลังสงครามเลิกใหม่ๆ สภาพทางสังคมเศรษฐกิจมีความ วุ่นวายและตกต�่ำ คนหลายร้อยล้านคนได้รับความทุกข์จากการสูญเสียสมาชิก ครอบครัวไป คนอีกจ�ำนวนมากเช่นเดียวกันที่มีสภาพบ้านแตกสาแหรกขาดหรือ มีชีวิตอยู่ท่ามกลางความกลัวและความไม่ปลอดภัย อาหารไม่มีกินหรือไม่พอกิน การด�ำรงชีวิตมีเพียงการอยู่ไปได้วันต่อวัน ผู้ที่ผ่านสภาพเช่นว่านั้นได้ก็สร้างนิสัยประหยัดและอดทน ยอมรับเรื่องชะตากรรม และอาญาสิทธิ์ ยอมรับการขาดสิทธิเสรีภาพเพื่อแลกกับความอยู่รอด ความรู้สึก
  • 33. 22เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ภาพข้อมูลภัยจากเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ และอารมณ์ที่ถูกเก็บกด ความโกรธและความระแวง เป็นความทรงจ�ำถึงความทุกข์ ทรมาน เมื่อสงครามสงบ ความกลัวและความหวาดระแวงที่ฝังลึกจึงแสดงออก เป็นพฤติกรรมของยุคหลังสงคราม เป็นพฤติกรรมการแสวงหามาตรการเพื่อความ มั่นคงและปลอดภัย ระบบและกฎเกณฑ์สังคมต่างๆ ถูกสร้างขึ้นใหม่เพราะกลัว สงคราม กลัวความเจ็บปวดและสูญเสีย จากการผลักดันของจิตใต้ส�ำนึกส่งผลให้คน ที่เป็นผู้ใหญ่ส่งเสริมการเพิ่มประชากรเพื่อทดแทนการสูญเสียในระหว่างสงคราม ผู้น�ำประเทศต่างหมกมุ่นอยู่กับค�ำว่าพัฒนา การเตรียมสังคมประเทศชาติใหม่ ด้านความพร้อมและความปลอดภัย ซึ่งการพัฒนาความพร้อมและความปลอดภัย ต้องใช้ทุนทรัพย์ท�ำให้เป็นสาเหตุที่ส�ำคัญยิ่งของการแข่งขัน เกิดการเร่งรัดท�ำลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง ส่วนความหวาดระแวงสงคราม ท�ำให้มีการแข่งขันทางด้านยุทโธปกรณ์ การแบ่งขั้วและสงครามเย็น การป้องกัน ประเทศด้วยการสร้างสมอาวุธล้วนเกิดในช่วงเวลาของคนกลุ่มที่ 1 แทบทั้งสิ้น เพียงชั่วเวลาไม่ถึง 30 ปีหลังสงคราม ความสูญเสียของทรัพยากรธรรมชาติและ การท�ำลายสิ่งแวดล้อมได้เพิ่มทวีมากขึ้น คนที่เกิดในช่วงเวลานี้จึงเป็นหัวหอกใน การชักน�ำสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลง ความหายนะทางพฤติกรรมที่ส�ำคัญของคน รุ่นดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงต่อคนในกลุ่มที่2 ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดใน ช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัวแล้ว
  • 34. 23 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 คนในกลุ่มที่2 ผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์ของความทุกข์ยากของสงครามและความ ล�ำบากยากเข็ญ เด็กและวัยหนุ่มสาวในคนกลุ่มนี้ไม่สามารถยอมรับระเบียบวินัย และกฎเกณฑ์ในการมุ่งสะสมอาวุธโดยเฉพาะการท�ำลายธรรมชาติ คนในกลุ่มนี้ เรียกร้องสิทธิเสรีภาพและความเป็นอิสระส่วนตัวอย่างแทบไม่มีขอบเขต แต่ใน ขณะเดียวกันได้เกิดความไม่สมดุลระหว่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ ธรรมชาติกับจ�ำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ด้านเศรษฐกิจเสรีที่มีเงินเป็นอุดมคติส่งผล ให้เกิดวิกฤตการณ์ของสังคมอย่างรุนแรงที่สุด โดยเฉพาะในระดับฐานล่าง ความ ยากจนจากความไม่พอดีของความทะเยอทะยานกับความต้องการที่ถูกยั่วยุด้วย ความแตกต่างระหว่างผู้ที่มีมากกับผู้ที่ไม่มีอะไร ส่งผลให้เกิดความล่มสลายใน โครงสร้างของครอบครัวท่ามกลางความขัดแย้งของสภาพวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และสภาพการณ์ของสิ่งแวดล้อมที่ก�ำลังล่มสลายเป็นพื้นฐานโครงสร้าง ของสังคม เพาะบ่มจิตปัญญาต่อคนในกลุ่มที่ 3 ผู้ที่ก�ำลังเติบใหญ่ขึ้นมาทุกวัน ดังนั้น ช่วงหลังทศวรรษที่ 80 จนปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีขบวนการทางสังคม และการเมืองเกิดขึ้นมาในประเทศต่างๆ เป็นขบวนการฟันดาเมนตัลลิสม์ (Fundamentatist) ที่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา กลุ่มนาซีใหม่ กลุ่มหัว รุนแรง ขบวนการแบ่งแยกดินแดนแยกผิวเผ่าพันธุ์ แยกเชื้อชาติรวมทั้งการแบ่ง เขตและสงวนเขต มาตรการทางการค้าและที่ท�ำกิน ทั้งหมดเป็นพฤติกรรมที่เป็น สากล มีสิ่งส�ำคัญที่อยู่เบื้องหลัง คือ จิตใต้ส�ำนึกของผู้ใหญ่ปัจจุบันที่ในวัยเด็ก เคยชินกับอิสรเสรีภาพที่ค่อนข้างอ่อนด้อยในเรื่องของวินัยและความรับผิดชอบ เคยชินกับความสะดวกสบายจากเศรษฐกิจเสรีที่อ�ำนวยแต่ความสนุกฉาบฉวยของ วัฒนธรรมวัตถุ และสิ่งที่เรียกว่าวิถีคุณภาพชีวิตของคนรุ่นใหม่ ทั้งหมดส่งผลให้ เป็นพฤติกรรมต่อต้านสถาบันต่างๆ พวกเขาก�ำลังพยายามแสวงหาสังคมที่คิด ว่าเหมาะสมส�ำหรับพวกเขา ไม่ว่าด้วยความรุนแรง หรือการหลีกหนีความกดดัน ด้วยการพึ่งพระเครื่อง เหรียญตรา หรืออะไรก็ได้ที่คิดว่าช่วยพวกเขาให้ได้รับการ บรรเทาเบาบางความเจ็บปวดสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในช่วงของหัวเลี้ยวหัวต่อของ
  • 35. 24เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ การเปลี่ยนแปลง จึงขึ้นอยู่กับสติปัญญาของชาวโลกทุกๆ คนในปัจจุบันจะต้อง ช่วยกันคิดร่วมกันหาทางปรับปรุงระบบรูปแบบและโครงสร้างของสังคม ทัศนคติ ของการอยู่ร่วมกันในสังคมโลกให้สอดคล้องกับทิศทางของการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการศึกษาและจิตปัญญาบนพื้นฐานของศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนพื้น ฐานของวิทยาศาสตร์ด้วยการส่งเสริมพัฒนาเผยแพร่สู่ประชาชนอย่างเป็นรูป ธรรม เห็นพ้องต้องกันหรือเห็นด้วยในความต่าง มองผลในระยะยาว วิเคราะห์หา จุดดีและจุดเสียและพัฒนาอย่างเป็นระบบ สิ่งเหล่านี้ถ้ามนุษย์เข้าใจและมีเหตุผล ต่อกัน ความสันติสุขบนโลกและสิ่งแวดล้อมก็จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น (ประสาน 2538, 80) อิทธิพลที่ได้รับ ความทุกข์ ความเหงา ความเศร้า ความกดดัน และความเหินห่างทางด้านจิตใจ ของมนุษย์ด้วยกันเองเป็นผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ผู้วิจัยสนใจประเด็นเนื้อหาของ สภาวะทางด้านอารมณ์และจิตใจของมนุษย์ที่ถูกสภาพแวดล้อมทางสังคมเข้ามารุม เร้า ซึ่งมีอิทธิพลต่อความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน เช่น ความขัดแย้งต่างๆ ของ มนุษย์ในสังคมที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาการแตกแยกแบ่งพรรคแบ่งฝ่ายการเอา รัดเอาเปรียบต่อมนุษย์ด้วยกันก่อให้เกิดปัญหาวุ่นวายทางสังคมและประเทศ ความ ตึงเครียด ความกดดันส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจและร่างกาย เกิดโรคภัย ความ เจ็บป่วย การพลัดพราก และความสูญเสีย เป็นต้น เป็นประเด็นที่ผู้วิจัยหยิบยก ขึ้นมาและเป็นอิทธิพลที่ได้รับ
  • 36. 25 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ผลกระทบทางสังคมที่มีต่อสภาวะจิตใจและร่างกายของมนุษย์ด้วยกัน ภาพข้อมูลและที่มาก่อนผลงานวาดเส้น ใบไม้ รากไม้ ซากศพมนุษย์
  • 37. 26เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ แบบจ�ำลองผลงานประติมากรรมก่อนผลงานวิจัย เทคนิคที่เลือกใช้ของผลงานวิจัยวาดเส้น เทคนิคการขูดขีดม้วนห่อของดินแผ่นและการปั้นเป็นเทคนิคที่ผู้วิจัยเลือกใช้มา อันดับแรก เพราะเป็นเทคนิคที่ใช้ตกแต่งเมื่อสร้างรูปทรงตอนเป็นดินเกือบทุกชิ้น รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ประกอบการท�ำพื้นผิวร่องรอยของผลงานทั้งที่เป็นดินดิบและ เมื่อท�ำในตอนเคลือบสี เทคนิคการขึ้นโครงสร้างตะแกรงลวดและใช้ผ้าชุบน�้ำดินเผา เคลือบก็เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดใช้เทคนิคเหล่านี้มา และนอกจากนั้น
  • 38. 27 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ในผลงานวิจัยวาดเส้นยังมีเทคนิคที่กล่าวมาข้างต้นผสมผสานกันลงในผลงานบาง ชิ้น เพียงแต่มิได้ระบุไว้ล่วงหน้าถึงความมากน้อยของเทคนิคใดๆ โดยเฉพาะในผล งานชิ้นนั้นๆ ใช้การตัดสินใจในขณะปฏิบัติงาน โดยค�ำนึงถึงความความเหมาะสม ตามทัศนคติและประสบการณ์เท่าที่มีถ่ายทอดจินตนาการจากอารมณ์ความรู้สึก ของตนเองลงในผลงานวาดเส้นเพื่อสะท้อนมุมมองให้เห็นแง่คิดและเทคนิคในการ สร้างสรรค์ผลงาน เทคนิคการม้วนห่อขูดขีดของดินแผ่นปั้นและกดประทับพื้นผิวของงานตกแต่ง เครื่องปั้นดินเผา เทคนิคการวาดเขียนสีและตกแต่งเนื้อดินในงานเครื่องปั้นดินเผา
  • 40. 29 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ภาพผลงานการเผาดิบ (Biscuit) วิเคราะห์ผลงานวิจัย วาดเส้นสร้างสรรค์รูปทรงมนุษย์ 23 ชิ้น ผู้วิจัยได้วิจัยและก�ำหนดผลงานวาดเส้นทั้งหมด 23 ชิ้น ในแต่ละชิ้นมีรายละเอียด เทคนิคคล้ายคลึงกัน เพียงแต่ปรับเปลี่ยนทางด้านรูปทรงของมนุษย์ในท่าทางที่ แตกต่างกัน ดังนั้น ผู้วิจัยได้เขียนวิเคราะห์ถึงผลงานในภาพรวมทั้งหมด เพื่อที่ จะได้เห็นการพัฒนาทางด้านรูปทรงเทคนิคและเนื้อหาให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในผล งานแต่ละชิ้น ผู้วิจัยได้รวบรวมผลงานในแต่ละชิ้นตั้งแต่ชิ้นที่ 1 ถึง 23 มาแสดง ให้เห็นด้านองค์ประกอบทางทัศนธาตุ ด้านเส้น รูปทรง ปริมาตร พื้นผิว และสี และหลังจากนั้นจึงวิเคราะห์เทคนิครูปทรงแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานวาดเส้น
  • 41. 30เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์ชิ้นที่ 1 - 5 เส้นรอบนอก ผู้วิจัยได้ก�ำหนดรูปทรงมนุษย์โดยกรรมวิธีการปั้นและขูดขีดม้วนห่อดุนแผ่นดินให้ เกิดรอยนูนเว้า รอยหยักโค้งในต�ำแหน่งของแผ่นดินภายในรูปทรงกลมและรูปทรงรี เพื่อให้เห็นทิศทางการเคลื่อนไหวของเส้นรอบนอกอย่างมีอิสระ ม้วนไหลเวียน บรรจบในรูปทรงของแผ่นดินบนผลงานวาดเส้น 1 2 3 4 5
  • 42. 31 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 เส้นรอบใน ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเส้นรอบในสร้างรูปทรงมนุษย์ให้เกิดขึ้นโดยมีการวาดขูดขีดเส้น รอบในเป็นตัวก�ำหนดบอกทิศทางการเคลื่อนไหวท่าทางของมนุษย์ในแต่ละชิ้น ใน ผลงานชิ้นที่1,4,5 รูปทรงมนุษย์จะเห็นได้ชัดว่ามีใบหน้า ล�ำตัว แขนขา การวาง ต�ำแหน่งของเส้นและรูปทรง มีการเน้นเขียนสีเคลือบ คัดรูปทรงมนุษย์ให้เด่นชัด ลงบนแผ่นดิน มีมิติแสงเงา น�้ำหนักของเส้นรอบในของสีเคลือบลงบนภาพ ส่วนใน ผลงานชิ้นที่2 และ3 ค่าน�้ำหนักเส้นรอบในยังสร้างรูปทรงมนุษย์ไม่ชัดเจนเพราะ สีที่ใช้ในการเคลือบค่อนข้างเด่นออกมามากเกินไป แต่ก็ยังคงมีโครงสร้างของเส้น รอบในที่ยังบอกต�ำแหน่งทิศทางของรูปทรงมนุษย์อยู่ 1 2 3 4 5
  • 43. 32เส้นสร้างสรรค์ รูปทรงมนุษย์ ปริมาตร ปริมาตรพื้นผิวที่เห็นได้ชัดของผลงานชิ้นที่ 2, 3 และชิ้นที่ 4, 5 มีรอยยับย่นบน พื้นผิวของดิน เห็นส่วนโค้งส่วนเว้าอย่างมีอิสระ ปริมาตรในผลงานชิ้นที่ 2 และ 3 สร้างมิติเห็นค่าน�้ำหนักแสงเงาบนแผ่นดิน มีจินตนาการของรูปร่างมนุษย์ชัดเจน และคลุมเครือบ้างบางส่วน เป็นจังหวะในทิศทางที่เกิดขึ้นของปริมาตรที่ลึกตื้น โค้งเว้าทางรูปทรงของผลงาน 1 2 3 4 5
  • 44. 33 วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 ภาพผลงานวิจัยวาดเส้นสร้างสรรค์ชิ้นที่ 1 - 5 พื้นผิวและสี ลักษณะการก�ำหนดพื้นผิวและสีที่สร้างขึ้น เช่น การขูดขีดและการกดประทับลง แผ่นดิน การเขียนด้วยน�้ำดิน (Slip) และการใช้ผ้าชุบน�้ำดินสร้างพื้นผิวบนร่อง รอย การเคลือบสีหนาและบางท�ำให้เกิดค่าน�้ำหนักของสีเข้มอ่อนของแสงเงาสร้าง ให้เกิดมิติทางรูปทรง ผลงานวาดเส้นรูปทรงมนุษย์จึงมีท่าทางเคลื่อนไหวบอกถึง สภาวะอารมณ์และความเปลี่ยนแปลงของรูปทรง เส้น สี ปริมาตร และพื้นผิว ตาม จินตนาการที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดในการสร้างสรรค์ 1 2 3 4 5