SlideShare a Scribd company logo
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
Week 12
Interpolate for Python
การประมาณค่าช่วง Interpolate
คือ การประมาณหรือการวัดค่าปรากฏการณ์ต่างๆเชิงพื้นที่ เช่น ความสูง การประมาณ
ค่าความเข้มของสาร ประมาณขนาดของปรากฏการณ์ เพื่อหาพื้นผิวต่อเนี่องกันที่เกิดจากการ
ประมาณค่าช่วง ซึ่งประเภทข้อมูลที่นามาประมาณค่าช่วงคือ ข้อมูลประเภทจุด เพราะข้อมูล
ประเภทจุดสามารถไปได้หลายทิศทางรอบตัวซึ่งเหมาะสมกับการประมาณค่าช่วงที่สามารถไป
ได้หลายทิศทางรอบตัว ซึ่งการประมาณค่าช่วงที่มีความถูกต้องมากจะขึ้นอยู่กับจานวนจุด ยิ่ง
มีจานวนจุดมากเท่าไหร่ ก็จะมีความถูกต้องมากเท่านั้น ซึ่งจะแบ่งวิธีออกเป็น IDW ,
Kriging , Natural Neighbor , Spline , Trend
** ซึ่งวันนี้เราจะมายกตัวอย่างการประมาณค่าช่วงปริมาณน้าฝนโดยอ้างอิงข้อมูลจาก
สสช. สานักงานสถิติแห่งชาติ
ไปดูขั้นตอนการทากันเลย
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
เข้าไปที่เว็บไซต์ http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries27.html จะขึ้นหน้าเว็บ
ดังภาพ
จากนั้นคลิกเข้าไปที่จังหวัด “ชลบุรี” ดังภาพ
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
เมื่อดาวน์โหลดมาเสร็จจะแสดงค่า “สถิติปริมาณน้าฝน” ดังภาพ
กดที่ Enable Editing ตรงบริเวณแถบสีเหลือง
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จะขึ้นดังภาพ
ไปที่ File > New > Blank Project จะขึ้นดังภาพ
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
แล้วใส่ดังกล่าวโดยอ้างอิงจากค่าสถิติปริมาณน้าฝนก่อนหน้า ให้เป็นสถานีตัวแรกโดยดูที่ปี 2554
จากนั้นอ้างอิงข้อมูลจากสถานีให้ครบทุกสถานี
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีชลบุรี)
แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 714699 , Y = 1477319
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีเกาะสีชัง)
แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 695689 , Y = 1455227
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีพัทยา)
แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 702462 , Y = 1429206
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จากนั้นใส่ค่าของ(สถานีสัตหีบ) X = 713166 , Y = 1399129
จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีแหลมฉบัง)
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 703167 , Y = 1446517
จากนั้นไปที่ Save > Save as > Name : Rainfall > Save as Type : Excel 97-2003
Workbook(*.xls) กด Save
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
เปิดโปรแกรม ArcGIS 10.1 ขึ้นมา แล้วพิมพ์ว่า
arcpy.MakeXYEventLayer_management(r’D:/script_GI/01_58/rainfall.xls/She
et1$’,”X”,”Y”,”RF”,””,”Rainfall”) กด Enter จะขึ้นดังภาพคือ แสดงจุด 5 จุด
นางสาวสุนันทา ชานาญราช
รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01
จากนั้นพิมพ์
arcpy.IDW_ga(“RF”,”Rainfall”,”rainfall”,”rasterRF”,”120”,”2”) กด
Enter จะได้ดังภาพ แสดงปริมาณน้าฝนในแต่ละพื้นที่โดยอ้างอิงจากการไล่ระดับสีต่างๆ โดยสีแดงจะ
เป็นบริเวณที่มีฝนตกมากที่สุด และสีฟ้าจะเป็นบริเวณที่มีฝนตกน้อยที่สุด *เป็นการเสร็จสมบูรณ์

More Related Content

More from sunanta chumnanrach

LandUse Lab 3
LandUse Lab 3LandUse Lab 3
LandUse Lab 3
sunanta chumnanrach
 
LandUse Lab 2
LandUse Lab 2LandUse Lab 2
LandUse Lab 2
sunanta chumnanrach
 
LandUse Lab 1
LandUse Lab 1LandUse Lab 1
LandUse Lab 1
sunanta chumnanrach
 
Week15 lab14
Week15 lab14Week15 lab14
Week15 lab14
sunanta chumnanrach
 
Week14 lab13
Week14 lab13Week14 lab13
Week14 lab13
sunanta chumnanrach
 

More from sunanta chumnanrach (16)

LandUse Lab 3
LandUse Lab 3LandUse Lab 3
LandUse Lab 3
 
LandUse Lab 2
LandUse Lab 2LandUse Lab 2
LandUse Lab 2
 
LandUse Lab 1
LandUse Lab 1LandUse Lab 1
LandUse Lab 1
 
Week15 lab14
Week15 lab14Week15 lab14
Week15 lab14
 
Week14 lab13
Week14 lab13Week14 lab13
Week14 lab13
 
Week13 lab12
Week13 lab12Week13 lab12
Week13 lab12
 
Week11 lab10
Week11 lab10Week11 lab10
Week11 lab10
 
Week10 lab9
Week10 lab9Week10 lab9
Week10 lab9
 
Week9 lab8
Week9 lab8Week9 lab8
Week9 lab8
 
Week8 lab7
Week8 lab7Week8 lab7
Week8 lab7
 
Week7 lab6
Week7 lab6Week7 lab6
Week7 lab6
 
Week6 lab5
Week6 lab5Week6 lab5
Week6 lab5
 
Week5 lab4
Week5  lab4Week5  lab4
Week5 lab4
 
Week4 lab3
Week4 lab3Week4 lab3
Week4 lab3
 
Week3 lab2
Week3 lab2Week3 lab2
Week3 lab2
 
Week2 lab1
Week2 lab1Week2 lab1
Week2 lab1
 

Week12 lab11

  • 1. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 Week 12 Interpolate for Python การประมาณค่าช่วง Interpolate คือ การประมาณหรือการวัดค่าปรากฏการณ์ต่างๆเชิงพื้นที่ เช่น ความสูง การประมาณ ค่าความเข้มของสาร ประมาณขนาดของปรากฏการณ์ เพื่อหาพื้นผิวต่อเนี่องกันที่เกิดจากการ ประมาณค่าช่วง ซึ่งประเภทข้อมูลที่นามาประมาณค่าช่วงคือ ข้อมูลประเภทจุด เพราะข้อมูล ประเภทจุดสามารถไปได้หลายทิศทางรอบตัวซึ่งเหมาะสมกับการประมาณค่าช่วงที่สามารถไป ได้หลายทิศทางรอบตัว ซึ่งการประมาณค่าช่วงที่มีความถูกต้องมากจะขึ้นอยู่กับจานวนจุด ยิ่ง มีจานวนจุดมากเท่าไหร่ ก็จะมีความถูกต้องมากเท่านั้น ซึ่งจะแบ่งวิธีออกเป็น IDW , Kriging , Natural Neighbor , Spline , Trend ** ซึ่งวันนี้เราจะมายกตัวอย่างการประมาณค่าช่วงปริมาณน้าฝนโดยอ้างอิงข้อมูลจาก สสช. สานักงานสถิติแห่งชาติ ไปดูขั้นตอนการทากันเลย
  • 2. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 เข้าไปที่เว็บไซต์ http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries27.html จะขึ้นหน้าเว็บ ดังภาพ จากนั้นคลิกเข้าไปที่จังหวัด “ชลบุรี” ดังภาพ
  • 3. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 เมื่อดาวน์โหลดมาเสร็จจะแสดงค่า “สถิติปริมาณน้าฝน” ดังภาพ กดที่ Enable Editing ตรงบริเวณแถบสีเหลือง
  • 4. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จะขึ้นดังภาพ ไปที่ File > New > Blank Project จะขึ้นดังภาพ
  • 5. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 แล้วใส่ดังกล่าวโดยอ้างอิงจากค่าสถิติปริมาณน้าฝนก่อนหน้า ให้เป็นสถานีตัวแรกโดยดูที่ปี 2554 จากนั้นอ้างอิงข้อมูลจากสถานีให้ครบทุกสถานี
  • 6. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีชลบุรี) แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 714699 , Y = 1477319
  • 7. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีเกาะสีชัง) แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 695689 , Y = 1455227
  • 8. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีพัทยา) แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 702462 , Y = 1429206
  • 9. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จากนั้นใส่ค่าของ(สถานีสัตหีบ) X = 713166 , Y = 1399129 จากนั้นนาชื่อสถานีไปค้นหาในโปรแกรม Google Earth เพื่อนาค่าพิกัดมาใส่ (สถานีแหลมฉบัง)
  • 10. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 แล้วนามาใส่ค่า X,Y ดังภาพ ใส่ค่า X = 703167 , Y = 1446517 จากนั้นไปที่ Save > Save as > Name : Rainfall > Save as Type : Excel 97-2003 Workbook(*.xls) กด Save
  • 11. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 เปิดโปรแกรม ArcGIS 10.1 ขึ้นมา แล้วพิมพ์ว่า arcpy.MakeXYEventLayer_management(r’D:/script_GI/01_58/rainfall.xls/She et1$’,”X”,”Y”,”RF”,””,”Rainfall”) กด Enter จะขึ้นดังภาพคือ แสดงจุด 5 จุด
  • 12. นางสาวสุนันทา ชานาญราช รหัสนิสิต 58170136 กลุ่ม 01 จากนั้นพิมพ์ arcpy.IDW_ga(“RF”,”Rainfall”,”rainfall”,”rasterRF”,”120”,”2”) กด Enter จะได้ดังภาพ แสดงปริมาณน้าฝนในแต่ละพื้นที่โดยอ้างอิงจากการไล่ระดับสีต่างๆ โดยสีแดงจะ เป็นบริเวณที่มีฝนตกมากที่สุด และสีฟ้าจะเป็นบริเวณที่มีฝนตกน้อยที่สุด *เป็นการเสร็จสมบูรณ์