SlideShare a Scribd company logo
    การกักเก็บ ฝาย (Check  Dam) คือ ???  สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน้ำ ซึ่งปกติมักจะกั้นลำห้วยลำธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้ำ หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากช่วงที่น้ำไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน้ำให้ช้าลง และกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลลงไปทับถมลำน้ำตอนล่าง ซึ่งเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำได้ดีมากวิธีการหนึ่ง ฝายมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ               1.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบท้องถิ่นเบื้องต้น (แบบ ผสมผสาน) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “ฝายแม้ว” เป็นการก่อสร้างด้วยวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ วิธีการนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยมาก ซึ่งการก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารแบบท้องถิ่นเบื้องต้นสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น
-   ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยหิน-  ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยถุงบรรจุดินหรือทราย-  ก่อสร้างด้วยคอกหมูแกนดินอัดขนาบด้วยหิน-  ก่อสร้างแบบเรียงด้วยหินแบบง่าย-  ก่อสร้างแบบคอกหมูหินทิ้ง-  ก่อสร้างแบบหลักคอนกรีตหินทิ้ง-  ก่อสร้างแบบถุงทรายซีเมนต์-  ก่อสร้างแบบคันดิน-  ก่อสร้างแบบหลักไม้ไผ่สานขัดกันอันเป็นภูมิปัญญา แบบหินทิ้ง                                 แบบคอกหมู2         แบบไม้ไผ่  แบบตาข่าย แบบคอกหมูแกนดิน
2.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบเรียงด้วยหินค่อนข้างถาวร (แบบกึ่งถาวร)ก่อสร้างด้วยหินเรียงเป็นพนังกั้นน้ำ สร้างบริเวณตอนกลางและตอนล่างของ ลำห้วยหรือร่องน้ำจะสามารถดักตะกอนและเก็บกักน้ำในช่วงฤดูแล้งได้ฝายต้นน้ำลำธารแบบกึ่งถาวร ที่เหมาะกับบริเวณตอนกลางของลำห้วยหรือร่องน้ำที่กระแสน้ำไม่แรง แบบก่อดินซีเมนต์     			                 แบบก่อซีเมนต์
3.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (แบบถาวร) เป็นการก่อสร้างแบบถาวรส่วนมากจะดำเนินการในบริเวณตอนปลายของลำห้วยหรือร่องห้วยจะสามารถดักตะกอนและเก็บกักน้ำในฤดูแล้งได้ดี
แบบที่ 1 แบบตาข่าย ฝายผสมผสานแบบตาข่าย แบ่งออกเป็น 3 แบบ1. ฝายผสมผสานแบบตาข่ายแบบที่ 1 เทคอนกรีตทับหลัง2. ฝายผสมผสานแบบตาข่ายแบบที่ 2 ไม่เทคอนกรีตทับหลัง3. ฝายผสมผสานแบบตาข่ายแบบที่ 3 ไม่เทฐานและทับหลัง วัสดุ- Wire Mesh- หิน ,[object Object]
เสาคอนกรีต,[object Object]
หิน,[object Object]
แบบที่ 3 แบบถาวร วัสดุ ,[object Object]
เหล็กเส้น
หิน,[object Object]

More Related Content

More from Bunchong Somboonchai

Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.pptHo c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Bunchong Somboonchai
 
Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016
Bunchong Somboonchai
 
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่Bunchong Somboonchai
 
Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01
Bunchong Somboonchai
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
Bunchong Somboonchai
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
Bunchong Somboonchai
 
Waterfall
WaterfallWaterfall
ยอดดอย
ยอดดอยยอดดอย
ยอดดอย
Bunchong Somboonchai
 
แม่แจ่ม
แม่แจ่มแม่แจ่ม
แม่แจ่ม
Bunchong Somboonchai
 
ย้ายหูกระจง 2 slide share
ย้ายหูกระจง  2  slide shareย้ายหูกระจง  2  slide share
ย้ายหูกระจง 2 slide share
Bunchong Somboonchai
 
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
งานวัสดุ   Flag stone landscape stepsงานวัสดุ   Flag stone landscape steps
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
Bunchong Somboonchai
 
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหินงานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
Bunchong Somboonchai
 
Tree doctor cnx
Tree doctor cnxTree doctor cnx
Tree doctor cnx
Bunchong Somboonchai
 

More from Bunchong Somboonchai (20)

Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.pptHo c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
Ho c4 4 pricing landscape maintenance work.ppt
 
Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016Mascot na gfair2016
Mascot na gfair2016
 
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
งานดูแลรักษาต้นไม้ในเขตเมือง 2 หลักการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่
 
Bhubing Palace Chiangmai
Bhubing Palace ChiangmaiBhubing Palace Chiangmai
Bhubing Palace Chiangmai
 
Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01Baandin jakkawan01
Baandin jakkawan01
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
 
Baandin jakkawan
Baandin jakkawanBaandin jakkawan
Baandin jakkawan
 
เวลา อาสา
เวลา อาสาเวลา อาสา
เวลา อาสา
 
Waterfall
WaterfallWaterfall
Waterfall
 
ยอดดอย
ยอดดอยยอดดอย
ยอดดอย
 
แม่แจ่ม
แม่แจ่มแม่แจ่ม
แม่แจ่ม
 
ย้ายหูกระจง 2 slide share
ย้ายหูกระจง  2  slide shareย้ายหูกระจง  2  slide share
ย้ายหูกระจง 2 slide share
 
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
งานวัสดุ   Flag stone landscape stepsงานวัสดุ   Flag stone landscape steps
งานวัสดุ Flag stone landscape steps
 
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหินงานวัสดุ_ปูพื้นหิน
งานวัสดุ_ปูพื้นหิน
 
Tree doctor cnx
Tree doctor cnxTree doctor cnx
Tree doctor cnx
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
LA445 01
LA445 01 LA445 01
LA445 01
 
B
BB
B
 
B
BB
B
 
A
AA
A
 

การกักเก็บฝาย

  • 1. การกักเก็บ ฝาย (Check  Dam) คือ ???  สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน้ำ ซึ่งปกติมักจะกั้นลำห้วยลำธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้ำ หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากช่วงที่น้ำไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน้ำให้ช้าลง และกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลลงไปทับถมลำน้ำตอนล่าง ซึ่งเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำได้ดีมากวิธีการหนึ่ง ฝายมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ               1.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบท้องถิ่นเบื้องต้น (แบบ ผสมผสาน) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “ฝายแม้ว” เป็นการก่อสร้างด้วยวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ วิธีการนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยมาก ซึ่งการก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารแบบท้องถิ่นเบื้องต้นสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น
  • 2. - ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยหิน- ก่อสร้างด้วยท่อนไม้ขนาบด้วยถุงบรรจุดินหรือทราย- ก่อสร้างด้วยคอกหมูแกนดินอัดขนาบด้วยหิน- ก่อสร้างแบบเรียงด้วยหินแบบง่าย-  ก่อสร้างแบบคอกหมูหินทิ้ง-  ก่อสร้างแบบหลักคอนกรีตหินทิ้ง-  ก่อสร้างแบบถุงทรายซีเมนต์-  ก่อสร้างแบบคันดิน- ก่อสร้างแบบหลักไม้ไผ่สานขัดกันอันเป็นภูมิปัญญา แบบหินทิ้ง                                 แบบคอกหมู2        แบบไม้ไผ่ แบบตาข่าย แบบคอกหมูแกนดิน
  • 3. 2.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบเรียงด้วยหินค่อนข้างถาวร (แบบกึ่งถาวร)ก่อสร้างด้วยหินเรียงเป็นพนังกั้นน้ำ สร้างบริเวณตอนกลางและตอนล่างของ ลำห้วยหรือร่องน้ำจะสามารถดักตะกอนและเก็บกักน้ำในช่วงฤดูแล้งได้ฝายต้นน้ำลำธารแบบกึ่งถาวร ที่เหมาะกับบริเวณตอนกลางของลำห้วยหรือร่องน้ำที่กระแสน้ำไม่แรง แบบก่อดินซีเมนต์ แบบก่อซีเมนต์
  • 4. 3.  ฝายต้นน้ำลำธารแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (แบบถาวร) เป็นการก่อสร้างแบบถาวรส่วนมากจะดำเนินการในบริเวณตอนปลายของลำห้วยหรือร่องห้วยจะสามารถดักตะกอนและเก็บกักน้ำในฤดูแล้งได้ดี
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 10.