SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 295 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M02 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุด
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา
เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223
ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้อง
คานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบ
ชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 296 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M02.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M02.2 การเตรียมการ
ประกอบชิ้นส่วนย่อย
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่
เหมาะสมในการประกอบชิ้นส่วนย่อย
ของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M02.3 ประกอบชิ้น
ส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ
3.1 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์
ก่อนการประกอบ
3.2 ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์
ปั๊มโลหะ
3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 297 | P a g e
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์ปรับประกอบ
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจาก
ร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หมายถึง ชิ้นส่วนที่ได้มาจากการผลิต ด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น งานกัด งาน
กลึง เพื่อนามาประกอบเป็นแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะได้
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 298 | P a g e
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกใน
แบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะได้ โดยต้องบันทึกใน
แบบฟอร์มการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี)
16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบชิ้นส่วนย่อย
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน การประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 299 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M03 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา
เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223
ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้องคานึงถึงความ
ปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single
Symmetrical part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 300 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M03.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M03.2 การเตรียมการ
ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่
เหมาะสมในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ
2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M03.3 ประกอบแม่พิมพ์
ปั๊มโลหะ
3.4 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์
ก่อนการประกอบ
3.5 ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3.6 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 301 | P a g e
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบแม่พิมพ์
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวข้องกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจากร่องรอย
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หมายถึง ชิ้นส่วนที่ได้มาจากการผลิต ด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น งานกัด งาน
กลึง เป็นต้น เพื่อนามาประกอบเป็นแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ได้อย่างถูกต้อง และ
ปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชนิดแม่พิมพ์
Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical
part ได้
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 302 | P a g e
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือและ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์
Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึก
ในแบบฟอร์มการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี)
16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.4 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.5 เครื่องมือประเมิน การประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 303 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M04 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบการทางานของ
แม่พิมพ์โลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา
เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223
ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า โดยจะต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสม
กับกระบวนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Single
die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 304 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M04.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M04.2 การเตรียมการ
ทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
2.1 เตรียมเครื่องเพลส
2.2 เตรียมชุดแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M04.3 ทดลองทางานของ
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า
3.1 ติดตั้งชุดแม่พิมพ์
3.2 ตรวจสอบการทางานของชุดแม่พิมพ์
3.3 ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
3.4 จดบันทึกผลการตรวจสอบ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส
4. ประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส
5. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบชุดแม่พิมพ์กับเครื่องเพลส
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 305 | P a g e
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่ตัวเปล่า
โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
การเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า หมายถึง การทดสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยการติดตั้งแม่พิมพ์ บน
เครื่องปั๊มโลหะ และให้เครื่องทางานโดยไม่มีการป้อนวัตถุดิบ
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะ
เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/
Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single
Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า (ถ้ามี)
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 306 | P a g e
16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.6 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.7 เครื่องมือประเมิน ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 307 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M05 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี
ความซับซ้อน
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง
เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล,
7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้องคานึงถึงความ
ปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะที่มีความซับซ้อน ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical
part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 308 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M05.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M05.2 การเตรียมการ
ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี
ความซับซ้อน
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่
เหมาะสมในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ
2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M05.3 ประกอบแม่พิมพ์
ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน
3.7 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์
ก่อนการประกอบ
3.8 ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3.9 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
2. ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบแม่พิมพ์
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 309 | P a g e
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการ
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน โดย
พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน หมายถึง แม่พิมพ์แบบต่อเนื่อง (Progressive Die) หรือ
แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ชนิด
แม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างถูกต้อง
และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน
ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical partได้
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้า
มี)
2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ชนิดแม่พิมพ์ Progressive
die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical partได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการ
ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี)
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 310 | P a g e
16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.8 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.9 เครื่องมือประเมิน การประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 311 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M06 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง
เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล,
7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า โดยจะต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสม
กับกระบวนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิด
แม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 312 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M06.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M06.2 การเตรียมการ
ทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่
มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า
2.1 เตรียมเครื่องเพลส
2.2 เตรียมชุดแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M06.3 ทดลองทางานของ
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความ
ซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัว
เปล่า
3.1 ติดตั้งชุดแม่พิมพ์
3.2 ตรวจสอบการทางานของชุดแม่พิมพ์
3.3 ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัว
เปล่า
3.4 จดบันทึกผลการตรวจสอบ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส
3. ประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส
4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 313 | P a g e
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบชุดแม่พิมพ์กับเครื่องเพลส
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ
เคลื่อนที่ตัวเปล่า โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้าน
ความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน หมายถึงแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single
Non-Symmetrical part
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี
ความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์
Single Non-Symmetrical part ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์
Single Non-Symmetrical part ได้
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 314 | P a g e
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ
เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์ Single Non-
Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า (ถ้ามี)
16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.10 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ
เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.11 เครื่องมือประเมิน ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบ
ตัวเปล่า
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 315 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M07 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส
3. ทบทวนครั้งที่ N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบพิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่างเทคนิค
วิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล,7233
ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส โดยสามารถ
จัดเตรียมความพร้อมของเครื่องเพลส เครื่องมือและอุปกรณ์ ซึ่งรวมถึงควบคุมการขนย้ายชุดแม่พิมพ์ การ
ติดตั้งชุดแม่พิมพ์ การปรับตั้งชุดแม่พิมพ์ และการถอดชุดแม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส ได้อย่างถูกต้อง
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 316 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M07.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M07.2 การเตรียมความ
พร้อม ก่อนติดตั้งแม่พิมพ์
2.1 จัดเตรียมความพร้อม และควบคุม
การขนย้ายชุดแม่พิมพ์
2.2 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของชุด
แม่พิมพ์
2.3 ตรวจสอบคุณลักษณะของเครื่อง
เพรส
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M07.3 ควบคุมการติดตั้ง
แม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพรส
3.1 ตรวจสอบการทางานของเครื่องเพรส
ก่อนติดตั้งชุดแม่พิมพ์
3.2 ควบคุมการติดตั้งชุดแม่พิมพ์เข้ากับ
เครื่องเพรส
3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการ
ปรับตั้งชุดแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M07.4 ควบคุมการถอด
แม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส
4.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่องเพลส
และชุดแม่พิมพ์ก่อนถอดแม่พิมพ์
4.2 ควบคุมการถอดชุดแม่พิมพ์ออกจาก
เครื่องเพรส
4.3 ดูแล และเก็บรักษาชุดแม่พิมพ์
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 317 | P a g e
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. การติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. กฏความปลอดภัยในการทางาน
3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. อ่านแบบแม่พิมพ์
5. เครื่องมือและอุปกรณ์การติดตั้งแม่พิมพ์
6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส โดยพิจารณา
จากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
การติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส หมายถึง การนาแม่พิมพ์ปั๊มโลหะติดตั้งบนเครื่องเพรส เพื่อทดสอบ
การทางานของแม่พิมพ์และเครื่องเพรส
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 318 | P a g e
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรสได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการทางาน ในการติดตั้งและการถอดแม่พิมพ์
3. ผู้เข้ารับการประเมิน สามารถดูแล และเก็บรักษา ชุดแม่พิมพ์ได้มีประสิทธิภาพ หลังเลิกใช้งาน
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบระบบการ
ทางานของเครื่องเพรส เครื่องมือ และอุปกรณ์ ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยต้องบันทึกใน
แบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. ติดตั้ง และถอดชุดแม่พิมพ์ กับเครื่องเพลส ได้อย่างถูกต้อง
3. ตรวจสอบและการเก็บรักษา ชุดแม่พิมพ์ หลังเลิกใช้งาน ได้อย่างถูกต้อง
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมความพร้อม ก่อนติดตั้งแม่พิมพ์
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน ควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพรส
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.4 เครื่องมือประเมิน ควบคุมการถอดแม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 319 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M08 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout)
3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง
เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล,
7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) บนเครื่องเพรส โดย
สามารถจัดเตรียมความพร้อมของเครื่องเพรส เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุชิ้นงานทดลองแม่พิมพ์ ซึ่งก็จะ
รวมถึงการติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่าและปรับตั้งชุด
แม่พิมพ์ เพื่อให้สามารถทาการปั๊มโลหะกับวัสดุชิ้นงานจริงได้อย่างถูกต้อง ตรงตามแบบงานที่กาหนด
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 320 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน
Element Performance Criteria Assessment
103M08.1 ความปลอดภัยใน
การทางาน
1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน
การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง
ปฏิบัติงาน
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M08.2 การเตรียมความ
พร้อม ก่อนการทดลองแม่พิมพ์
ปั๊มโลหะ
2.1 จัดเตรียมความพร้อมเครื่องมือ
อุปกรณ์ สารหล่อลื่น และวัสดุชิ้นงาน
ทดลองแม่พิมพ์
2.2 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของชุด
แม่พิมพ์
2.3 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ
เครื่องเพรส
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M08.3 การติดตั้งและ
ตรวจสอบการทางานของ
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า
3.1ติดตั้งชุดแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพลส
3.2 ตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
103M08.4 การปรับตั้งพร้อม
ทดลองการทางานของแม่พิมพ์
ปั๊มโลหะ
4.1 ทดลองการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า
4.2 ปรับตั้งการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม
โลหะพร้อมเดินเครื่องทดลองจริงกับวัสดุ
ชิ้นงานโลหะ
1. สังเกตการปฏิบัติงาน
ณ สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริง หรือการ
สาธิตการทางาน
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 321 | P a g e
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. อ่านแบบแม่พิมพ์
4. เครื่องมือและอุปกรณ์การติดตั้งแม่พิมพ์
5. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ
3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ
2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ
3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ
4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน
(ค) คาแนะนาในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจากร่องรอย
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้
15. ขอบเขต (Range Statement)
ทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) คือการทดลองโดยเดินเครื่องเพรส และแม่พิมพ์ปั๊มโลหะเคลื่อนที่
แบบตัวเปล่า เพื่อให้สามารถทาการปั๊มโลหะกับวัสดุชิ้นงานจริง
(ก) คาแนะนา
1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
(Tryout) ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ(Tryout)
3. ผู้เข้ารับการประเมิน สามารถตรวจสอบความถูกต้องในการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่าและทดลองปั๊มจริง
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 322 | P a g e
(ข) คาอธิบายรายละเอียด
1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบ
ระบบการทางานของเครื่องเพลส เครื่องมือ และอุปกรณ์ ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยต้อง
บันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2. ติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า โดยต้อง
บันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมความพร้อม ก่อนการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน การติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบ
ตัวเปล่า
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.4 เครื่องมือประเมิน การปรับตั้งพร้อมทดลองการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 323 | P a g e
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M09 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วิเคราะห์ปัญหาจากการทดลอง
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
3. ทบทวนครั้งที่ N/A 4. สร้างใหม่ 
5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification)
อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง
เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต
6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถวิเคราะห์ปัญหาจากการทดลองแม่พิมพ์ ตั้งแต่การเตรียมการ
การวิเคราะห์และสรุปผลการวิเคราะห์แม่พิมพ์ ให้สามารถนาไปใช้โดยยึดถือปฏิบัติในการกาหนดแนว
ทางการแก้ไขต่อไป
7. สาหรับระดับคุณวุฒิ
8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี)
N/A
10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A
1 2 3 4 5 6 7

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 324 | P a g e
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
สมรรถนะย่อย
Element
เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน
Performance Criteria
วิธีการประเมิน
Assessment
103M09.1 เตรียมองค์ประกอบ
ในการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
เพื่อทาการวิเคราะห์
1.1 ข้อกาหนดด้านความ
ปลอดภัยในขณะทดลองแม่พิมพ์
1.2 ชนิด/ประเภทและขนาดของ
แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ
1.3 Process ของแม่พิมพ์
1.4 แบบชิ้นงานและแบบแม่พิมพ์
1.5 แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แม่พิมพ์ (Inspection Sheet)
1.6 ข้อมูลการบันทึกปัญหาต่าง
ๆระหว่างการทดลองแม่พิมพ์
1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ
ทางาน
2. การสัมภาษณ์
103M09.2 วิเคราะห์ปัญหาจาก
การทดลองแม่พิมพ์
2.1 ความถูกต้องครบถ้วน
สมบูรณ์ของชิ้นส่วน อุปกรณ์ใน
แม่พิมพ์
2.2 ค่าตัวเลขต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริง
ในการติดตั้งแม่พิมพ์
2.3 วิเคราะห์ข้อมูลจากการ
ตรวจสอบชิ้นส่วนแม่พิมพ์ทั้งอยู่
กับที่และขณะเคลื่อนที่ (Static &
Dynamic Check)
2.4 ระดับคะแนนหรือเปอร์เซ็นต์
ที่ประเมินในการทดลองแม่พิมพ์
ครั้งนั้น
1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ
ทางาน
2. การสัมภาษณ์
103M09.3 สรุปผลการวิเคราะห์ 3.1 รวบรวมปัญหาสาเหตุ
แยกแยะเป็นประเด็นที่ชัดเจน
3.2 กาหนดเป้าหมายในการแก้ไข
ปรับปรุง
3.3 บันทึกผลการวิเคราะห์
3.4 การจัดทามาตรฐานการ
วิเคราะห์ผลการทดลองแม่พิมพ์
ไว้ใช้ในหน่วยงาน
1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการ
ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ
ทางาน
2. การสัมภาษณ์
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
คุณวุฒิวิชาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 4
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   หน่วยสมรรถนะ ประกอบ

More Related Content

More from Totsaporn Inthanin

More from Totsaporn Inthanin (20)

ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
 
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
 
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
 
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
 
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
 
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดสูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
 
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกแม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
 
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
 
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
 
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
 
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
 
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
 

มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ หน่วยสมรรถนะ ประกอบ

  • 1. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 295 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M02 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุด แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223 ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้อง คานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบ ชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 2. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 296 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M02.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M02.2 การเตรียมการ ประกอบชิ้นส่วนย่อย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ เหมาะสมในการประกอบชิ้นส่วนย่อย ของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M02.3 ประกอบชิ้น ส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ 3.1 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์ ก่อนการประกอบ 3.2 ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ ปั๊มโลหะ 3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) N/A 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
  • 3. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 297 | P a g e (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์ปรับประกอบ 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจาก ร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หมายถึง ชิ้นส่วนที่ได้มาจากการผลิต ด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น งานกัด งาน กลึง เพื่อนามาประกอบเป็นแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะได้
  • 4. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 298 | P a g e (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกใน แบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะได้ โดยต้องบันทึกใน แบบฟอร์มการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี) 16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบชิ้นส่วนย่อย 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.3 เครื่องมือประเมิน การประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 5. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 299 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M03 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223 ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้องคานึงถึงความ ปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 6. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 300 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M03.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M03.2 การเตรียมการ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ เหมาะสมในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ 2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M03.3 ประกอบแม่พิมพ์ ปั๊มโลหะ 3.4 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์ ก่อนการประกอบ 3.5 ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3.6 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) N/A 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ประกอบชิ้นส่วนย่อยของชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
  • 7. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 301 | P a g e (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบแม่พิมพ์ 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวข้องกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจากร่องรอย หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) ชิ้นส่วนแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หมายถึง ชิ้นส่วนที่ได้มาจากการผลิต ด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น งานกัด งาน กลึง เป็นต้น เพื่อนามาประกอบเป็นแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ได้อย่างถูกต้อง และ ปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้
  • 8. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 302 | P a g e (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือและ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึก ในแบบฟอร์มการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี) 16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.4 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.5 เครื่องมือประเมิน การประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 9. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 303 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M04 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบการทางานของ แม่พิมพ์โลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7222 ช่างทา เครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม, 7223 ช่างปรับตั้งและใช้เครื่องมือกล 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า โดยจะต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสม กับกระบวนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 10. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 304 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M04.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M04.2 การเตรียมการ ทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 2.1 เตรียมเครื่องเพลส 2.2 เตรียมชุดแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M04.3 ทดลองทางานของ แม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า 3.1 ติดตั้งชุดแม่พิมพ์ 3.2 ตรวจสอบการทางานของชุดแม่พิมพ์ 3.3 ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 3.4 จดบันทึกผลการตรวจสอบ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) N/A 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส 4. ประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส 5. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบชุดแม่พิมพ์กับเครื่องเพลส 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
  • 11. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 305 | P a g e 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่ตัวเปล่า โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) การเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า หมายถึง การทดสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยการติดตั้งแม่พิมพ์ บน เครื่องปั๊มโลหะ และให้เครื่องทางานโดยไม่มีการป้อนวัตถุดิบ (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะ เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้ (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Single die และ แม่พิมพ์ Compound die/ Progressive die หรือ แม่พิมพ์ Single Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า (ถ้ามี)
  • 12. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 306 | P a g e 16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.6 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.7 เครื่องมือประเมิน ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 13. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 307 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M05 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี ความซับซ้อน 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยจะต้องคานึงถึงความ ปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมกับกระบวนการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะที่มีความซับซ้อน ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 14. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 308 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M05.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M05.2 การเตรียมการ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี ความซับซ้อน 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ เหมาะสมในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ 2.2 เตรียมชิ้นส่วนแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M05.3 ประกอบแม่พิมพ์ ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน 3.7 ตรวจสอบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์ ก่อนการประกอบ 3.8 ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3.9 ตรวจสอบความถูกต้องของชุด แม่พิมพ์ปั๊มโลหะหลังทาการประกอบ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 2. ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบแม่พิมพ์ 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ
  • 15. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 309 | P a g e 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน โดย พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน หมายถึง แม่พิมพ์แบบต่อเนื่อง (Progressive Die) หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ชนิด แม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical partได้ (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้า มี) 2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical partได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการ ประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (ถ้ามี)
  • 16. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 310 | P a g e 16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.8 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.9 เครื่องมือประเมิน การประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 17. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 311 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M06 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า โดยจะต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการทางาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสม กับกระบวนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิด แม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 18. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 312 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M06.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M06.2 การเตรียมการ ทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่ มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า 2.1 เตรียมเครื่องเพลส 2.2 เตรียมชุดแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M06.3 ทดลองทางานของ แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความ ซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัว เปล่า 3.1 ติดตั้งชุดแม่พิมพ์ 3.2 ตรวจสอบการทางานของชุดแม่พิมพ์ 3.3 ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัว เปล่า 3.4 จดบันทึกผลการตรวจสอบ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส 3. ประกอบชุดแม่พิมพ์ปั๊มโลหะกับเครื่องเพลส 4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
  • 19. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 313 | P a g e (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์การประกอบชุดแม่พิมพ์กับเครื่องเพลส 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ เคลื่อนที่ตัวเปล่า โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้าน ความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) แม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน หมายถึงแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือ แม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มี ความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์ Single Non-Symmetrical part ได้
  • 20. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 314 | P a g e (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. สามารถเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า ชนิดแม่พิมพ์ Progressive die ซับซ้อน หรือแม่พิมพ์ Single Non- Symmetrical part ได้ โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มการตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า (ถ้ามี) 16. หน่วยสมรรถนะร่วม(ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.10 เครื่องมือประเมิน การเตรียมการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะ เคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.11 เครื่องมือประเมิน ทดลองทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะที่มีความซับซ้อน ขณะเคลื่อนที่แบบ ตัวเปล่า 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 21. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 315 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M07 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส 3. ทบทวนครั้งที่ N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบพิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่างเทคนิค วิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล,7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส โดยสามารถ จัดเตรียมความพร้อมของเครื่องเพลส เครื่องมือและอุปกรณ์ ซึ่งรวมถึงควบคุมการขนย้ายชุดแม่พิมพ์ การ ติดตั้งชุดแม่พิมพ์ การปรับตั้งชุดแม่พิมพ์ และการถอดชุดแม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส ได้อย่างถูกต้อง 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 22. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 316 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M07.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M07.2 การเตรียมความ พร้อม ก่อนติดตั้งแม่พิมพ์ 2.1 จัดเตรียมความพร้อม และควบคุม การขนย้ายชุดแม่พิมพ์ 2.2 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของชุด แม่พิมพ์ 2.3 ตรวจสอบคุณลักษณะของเครื่อง เพรส 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M07.3 ควบคุมการติดตั้ง แม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพรส 3.1 ตรวจสอบการทางานของเครื่องเพรส ก่อนติดตั้งชุดแม่พิมพ์ 3.2 ควบคุมการติดตั้งชุดแม่พิมพ์เข้ากับ เครื่องเพรส 3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการ ปรับตั้งชุดแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M07.4 ควบคุมการถอด แม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส 4.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่องเพลส และชุดแม่พิมพ์ก่อนถอดแม่พิมพ์ 4.2 ควบคุมการถอดชุดแม่พิมพ์ออกจาก เครื่องเพรส 4.3 ดูแล และเก็บรักษาชุดแม่พิมพ์ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3
  • 23. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 317 | P a g e 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. การติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. กฏความปลอดภัยในการทางาน 3. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. อ่านแบบแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์การติดตั้งแม่พิมพ์ 6. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส โดยพิจารณา จากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) การติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรส หมายถึง การนาแม่พิมพ์ปั๊มโลหะติดตั้งบนเครื่องเพรส เพื่อทดสอบ การทางานของแม่พิมพ์และเครื่องเพรส
  • 24. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 318 | P a g e (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์บนเครื่องเพรสได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการทางาน ในการติดตั้งและการถอดแม่พิมพ์ 3. ผู้เข้ารับการประเมิน สามารถดูแล และเก็บรักษา ชุดแม่พิมพ์ได้มีประสิทธิภาพ หลังเลิกใช้งาน (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบระบบการ ทางานของเครื่องเพรส เครื่องมือ และอุปกรณ์ ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยต้องบันทึกใน แบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. ติดตั้ง และถอดชุดแม่พิมพ์ กับเครื่องเพลส ได้อย่างถูกต้อง 3. ตรวจสอบและการเก็บรักษา ชุดแม่พิมพ์ หลังเลิกใช้งาน ได้อย่างถูกต้อง 16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมความพร้อม ก่อนติดตั้งแม่พิมพ์ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.3 เครื่องมือประเมิน ควบคุมการติดตั้งแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพรส 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.4 เครื่องมือประเมิน ควบคุมการถอดแม่พิมพ์ออกจากเครื่องเพลส 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 25. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 319 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M08 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) 3. ทบทวนครั้งที่N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต, 8281 ผู้ประกอบผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกล, 7233 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) บนเครื่องเพรส โดย สามารถจัดเตรียมความพร้อมของเครื่องเพรส เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุชิ้นงานทดลองแม่พิมพ์ ซึ่งก็จะ รวมถึงการติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่าและปรับตั้งชุด แม่พิมพ์ เพื่อให้สามารถทาการปั๊มโลหะกับวัสดุชิ้นงานจริงได้อย่างถูกต้อง ตรงตามแบบงานที่กาหนด 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 26. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 320 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน วิธีการประเมิน Element Performance Criteria Assessment 103M08.1 ความปลอดภัยใน การทางาน 1.1 ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยใน การทางานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัย ส่วนบุคคล 1.2 ตรวจสอบระบบการทางานของ เครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลัง ปฏิบัติงาน 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M08.2 การเตรียมความ พร้อม ก่อนการทดลองแม่พิมพ์ ปั๊มโลหะ 2.1 จัดเตรียมความพร้อมเครื่องมือ อุปกรณ์ สารหล่อลื่น และวัสดุชิ้นงาน ทดลองแม่พิมพ์ 2.2 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของชุด แม่พิมพ์ 2.3 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของ เครื่องเพรส 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M08.3 การติดตั้งและ ตรวจสอบการทางานของ แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า 3.1ติดตั้งชุดแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องเพลส 3.2 ตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 103M08.4 การปรับตั้งพร้อม ทดลองการทางานของแม่พิมพ์ ปั๊มโลหะ 4.1 ทดลองการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า 4.2 ปรับตั้งการทางานของแม่พิมพ์ปั๊ม โลหะพร้อมเดินเครื่องทดลองจริงกับวัสดุ ชิ้นงานโลหะ 1. สังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริง หรือการ สาธิตการทางาน 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) คุณวุฒิวิชาชีพ อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 3 13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. เลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ติดตั้งแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 4. ปฏิบัติงานตรวจสอบชิ้นงานด้วยเครื่องวัด ตามแบบสั่งงาน
  • 27. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 321 | P a g e (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 2. หลักการทางานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. อ่านแบบแม่พิมพ์ 4. เครื่องมือและอุปกรณ์การติดตั้งแม่พิมพ์ 5. เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจสอบ 14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. ผลงานประกอบการประเมิน หรือ 3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกต (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ 2. เอกสารรับรองผลการเรียนรู้หรือผลการอบรม หรือ 3. แบบบันทึกประกอบผลการสัมภาษณ์ หรือ 4. ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน หรือแนวคาถามที่ใช้ประเมิน (ค) คาแนะนาในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ โดยพิจารณาจากร่องรอย หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ วิธีการประเมิน 1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 15. ขอบเขต (Range Statement) ทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) คือการทดลองโดยเดินเครื่องเพรส และแม่พิมพ์ปั๊มโลหะเคลื่อนที่ แบบตัวเปล่า เพื่อให้สามารถทาการปั๊มโลหะกับวัสดุชิ้นงานจริง (ก) คาแนะนา 1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ (Tryout) ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย 2. ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน หรืออธิบายขั้นตอนการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ(Tryout) 3. ผู้เข้ารับการประเมิน สามารถตรวจสอบความถูกต้องในการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่าและทดลองปั๊มจริง
  • 28. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 322 | P a g e (ข) คาอธิบายรายละเอียด 1. ให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และตรวจสอบ ระบบการทางานของเครื่องเพลส เครื่องมือ และอุปกรณ์ ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยต้อง บันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 2. ติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบตัวเปล่า โดยต้อง บันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี) 16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) N/A 17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) N/A 18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) 18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทางาน 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.2 เครื่องมือประเมิน การเตรียมความพร้อม ก่อนการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.3 เครื่องมือประเมิน การติดตั้งและตรวจสอบการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ขณะเคลื่อนที่แบบ ตัวเปล่า 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.4 เครื่องมือประเมิน การปรับตั้งพร้อมทดลองการทางานของแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
  • 29. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 323 | P a g e หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence) 1. รหัสหน่วยสมรรถนะ 103M09 2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วิเคราะห์ปัญหาจากการทดลอง แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 3. ทบทวนครั้งที่ N/A 4. สร้างใหม่  5. สาหรับชื่ออาชีพและ รหัสอาชีพ (Occupational Classification) อาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ, 3115 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครื่องกล, 3119.20 ช่าง เทคนิควิศวกรรมควบคุม, 3119.40 ช่างเทคนิควิศวกรรมการผลิต 6. คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถวิเคราะห์ปัญหาจากการทดลองแม่พิมพ์ ตั้งแต่การเตรียมการ การวิเคราะห์และสรุปผลการวิเคราะห์แม่พิมพ์ ให้สามารถนาไปใช้โดยยึดถือปฏิบัติในการกาหนดแนว ทางการแก้ไขต่อไป 7. สาหรับระดับคุณวุฒิ 8. กลุ่มอาชีพ (Sector) อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้(ถ้ามี) N/A 10. ข้อกาหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) N/A 1 2 3 4 5 6 7 
  • 30. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ 324 | P a g e 11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) สมรรถนะย่อย Element เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน Performance Criteria วิธีการประเมิน Assessment 103M09.1 เตรียมองค์ประกอบ ในการทดลองแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ เพื่อทาการวิเคราะห์ 1.1 ข้อกาหนดด้านความ ปลอดภัยในขณะทดลองแม่พิมพ์ 1.2 ชนิด/ประเภทและขนาดของ แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ 1.3 Process ของแม่พิมพ์ 1.4 แบบชิ้นงานและแบบแม่พิมพ์ 1.5 แบบฟอร์มการตรวจสอบ แม่พิมพ์ (Inspection Sheet) 1.6 ข้อมูลการบันทึกปัญหาต่าง ๆระหว่างการทดลองแม่พิมพ์ 1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ ทางาน 2. การสัมภาษณ์ 103M09.2 วิเคราะห์ปัญหาจาก การทดลองแม่พิมพ์ 2.1 ความถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์ของชิ้นส่วน อุปกรณ์ใน แม่พิมพ์ 2.2 ค่าตัวเลขต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริง ในการติดตั้งแม่พิมพ์ 2.3 วิเคราะห์ข้อมูลจากการ ตรวจสอบชิ้นส่วนแม่พิมพ์ทั้งอยู่ กับที่และขณะเคลื่อนที่ (Static & Dynamic Check) 2.4 ระดับคะแนนหรือเปอร์เซ็นต์ ที่ประเมินในการทดลองแม่พิมพ์ ครั้งนั้น 1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ ทางาน 2. การสัมภาษณ์ 103M09.3 สรุปผลการวิเคราะห์ 3.1 รวบรวมปัญหาสาเหตุ แยกแยะเป็นประเด็นที่ชัดเจน 3.2 กาหนดเป้าหมายในการแก้ไข ปรับปรุง 3.3 บันทึกผลการวิเคราะห์ 3.4 การจัดทามาตรฐานการ วิเคราะห์ผลการทดลองแม่พิมพ์ ไว้ใช้ในหน่วยงาน 1. การสังเกตการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในการ ปฏิบัติงานจริงหรือการสาธิตการ ทางาน 2. การสัมภาษณ์ 12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) คุณวุฒิวิชาชีพช่างปรับประกอบแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ ชั้น 4