SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
รายงาน
วิช า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
            ง 33102
  เรื่อ ง อาชญากรรมคอมพิว เตอร์


             จัด ทำา โดย


นายณัฐ พล เจ้ย ทองศรี เลขที่ 5 ม .6/2


                เสนอ


      อาจารย์จ ุฑ ารัต น์ ใจบุญ
 โรงเรีย นรัษ ฎานุป ระดิษ ฐ์อ นุส รณ์
คำา นำา
    รายงานฉบับ นี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช าการ
งานอาชีพ และเทคโนโลยี ง 33102 รายงาน
ฉบับ นี้ไ ด้ร วบข้อ มูล เกี่ย วกับ อาชญากรรม
คอมพิว เตอร์เ พื่อ ที่จ ะให้ผ ู้อ ่า นได้ร บ ผล
                                           ั
ประโยชน์ม ากที่ส ด   ุ
                  หากผิด พลาดประการใด
ขออภัย ณ ทีน ี้
           ่
สารบัญ
เรื่อ ง
      หน้า
อาชญากรรมคอมพิว เตอร์
           1-3
Hacker – Cracker
   4

อ้า งอิง                    5
อาชญากรรมคอมพิว เตอร์
                อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ


อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำาที่ผิด
กฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์
และข้อมูลทีอยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรร
               ่
มที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่ง
อาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไร
ก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
โดยตรง


ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรม
และการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิด (The Tenth United Nations Congress on the
Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุง
เวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำาแนกประเภทของ
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึง
โดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม
คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือ
ข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่
ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์


โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บ
รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทาง
คอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
ประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
ขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความ
พยายามในการปัญหานี้
อาชญากรรม     6   ประเภทดังกล่าวได้แก่
การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการ
ทำาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่อ
อาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การ
ละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำาหน่ายหรือ
เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้
สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ
รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอม
แปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป
โดยการกระทำาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism)
จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือ
ทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกำาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC
2252A การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการ
กระทำาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพ
ลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำาที่ขัดต่อ
กฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำาหรับอาชญากรรม แบบ
เก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่อง
ทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ก่อให้เกิด
การถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำาหรับ
การศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชนจำาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธี
การใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ
โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยว
กับข้อกำาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการ
ป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด


อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรม
ประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์
การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย
ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูป
แบบ หนึ่งที่มีความสำาคัญ


อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
1.   พวกเด็กหัดใหม่   (Novice)

2.   พวกวิกลจริต   (Deranged persons)

3.   อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำาผิด    (Organized crime)

4.   อาชญากรอาชีพ     (Career)

5.   พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6.   พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
7.   ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี   (Hacker/Cracker )




Hackerหมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบ
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์
โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้
แต่อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์


               หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์
          Cracker
เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทำาลายหรือลบ
แฟ้มข้อมูล หรือทำาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการ
ทำาลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์
อ้างอิง


   http://www.microsoft.com/thailand/pi
racy/cybercrime.aspx

More Related Content

What's hot (13)

รายงาน111
รายงาน111รายงาน111
รายงาน111
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อย
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานโจ
รายงานโจรายงานโจ
รายงานโจ
 
รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะ
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
นิติศักดิ์
นิติศักดิ์นิติศักดิ์
นิติศักดิ์
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
ธนาวัตร
ธนาวัตรธนาวัตร
ธนาวัตร
 

Similar to อาชญากรรม ก้อง

Similar to อาชญากรรม ก้อง (20)

อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงาน โอ
รายงาน โอรายงาน โอ
รายงาน โอ
 
แนน คอม Pdf
แนน คอม Pdfแนน คอม Pdf
แนน คอม Pdf
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อาย
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 

More from A'waken P'Kong

อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้องA'waken P'Kong
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้องA'waken P'Kong
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้องA'waken P'Kong
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้องA'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 

More from A'waken P'Kong (9)

อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
อาชญากรรม ก้อง
อาชญากรรม   ก้องอาชญากรรม   ก้อง
อาชญากรรม ก้อง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

อาชญากรรม ก้อง

  • 1. รายงาน วิช า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ง 33102 เรื่อ ง อาชญากรรมคอมพิว เตอร์ จัด ทำา โดย นายณัฐ พล เจ้ย ทองศรี เลขที่ 5 ม .6/2 เสนอ อาจารย์จ ุฑ ารัต น์ ใจบุญ โรงเรีย นรัษ ฎานุป ระดิษ ฐ์อ นุส รณ์
  • 2. คำา นำา รายงานฉบับ นี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช าการ งานอาชีพ และเทคโนโลยี ง 33102 รายงาน ฉบับ นี้ไ ด้ร วบข้อ มูล เกี่ย วกับ อาชญากรรม คอมพิว เตอร์เ พื่อ ที่จ ะให้ผ ู้อ ่า นได้ร บ ผล ั ประโยชน์ม ากที่ส ด ุ หากผิด พลาดประการใด ขออภัย ณ ทีน ี้ ่
  • 3. สารบัญ เรื่อ ง หน้า อาชญากรรมคอมพิว เตอร์ 1-3 Hacker – Cracker 4 อ้า งอิง 5
  • 4. อาชญากรรมคอมพิว เตอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำาที่ผิด กฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลทีอยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรร ่ มที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่ง อาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไร ก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรม และการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุง เวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำาแนกประเภทของ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึง โดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือ ข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทาง ปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บ รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบันและความ พยายามในการปัญหานี้
  • 5. อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการ ทำาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่อ อาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำาหน่ายหรือ เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้ สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอม แปลง การก่อการร้าย ฯลฯ) การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทำาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือ ทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกำาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการ กระทำาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพ ลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำาที่ขัดต่อ กฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำาหรับอาชญากรรม แบบ เก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่อง ทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ก่อให้เกิด การถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
  • 6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำาหรับ การศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชนจำาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธี การใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยว กับข้อกำาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการ ป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรม ประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์ การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูป แบบ หนึ่งที่มีความสำาคัญ อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริต (Deranged persons) 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำาผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
  • 7. 7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) Hackerหมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบ คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหาผลประโยชน์ หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ Cracker เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไปทำาลายหรือลบ แฟ้มข้อมูล หรือทำาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการ ทำาลายระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 8. อ้างอิง http://www.microsoft.com/thailand/pi racy/cybercrime.aspx