SlideShare a Scribd company logo
ดอกไม้กินได้
ดอกเข็ม
     ดอกเข็ ม มี ห ลายสี เช่ น สี ข าว สี
แดง สีเหลือง สีชมพู และสีแสด ดอก
เข็ ม ที่ ใ ช้ ท าอาหารคื อ เข็ ม ดอกเล็ ก ๆ
ได้ แ ก่ เข็ ม ขาว เข็ ม ชมพู เข็ ม แดง
ส่วนเข็มเศรษฐีดอกใหญ่ไม่นิยมนามา
กิน ดอกเข็มจะมีน้าหวานตรงโคนดอก
เด็ ก ๆ สมั ย ก่ อ นน าดอกเข็ ม มาดู ด
น้ าหวานกิ น เล่ น ดอกเข็ ม ออกดอก
ตลอดปี แต่ จ ะให้ ด อกดกช่ ว งฤดู ฝ น
คนสมัยก่อนใช้ดอกเข็มชุบแป้งทอดเป็น
เหมือด (เครื่องเคียง) กินกับขนมจี น
น้ าพริ ก รสชาติ ด อกเข็ ม ไม่ ข ม แต่ มี
ความมัน แป้งที่ใช้ชุบทอดใช้แป้งข้าว
เจ้า ใส่น้าปูนใสและกะทิเล็กน้อย
ดอกพวงชมพู
        พวงชมพู เ ป็ น พั น ธุ์ ไ ม้ เ ลื้ อ ย
มีมือสาหรับเกาะพันต้นไม้หรือกิ่ง
ไม้เพื่อการทรงตัว ลาต้นหรือเถา
จ ะ เ ป็ น สี น้ า ต า ล เ ข้ ม ด อ ก
พวงชมพูออกดอกเป็นช่อรวมกัน
เป็นกลุ่มตามซอกใบ ง่ามกิ่ง และ
ปลายยอด ส่วนปลายยอดสุดจะ
เป็นมือเกาะ ลักษณะรูปร่างของ
ดอกมี ทรงคล้า ยรู ปหั ว ใจมี ข นาด
เล็ก ขึ้นง่าย เหี่ยวเร็วเมื่อเก็บจาก
ต้ น ดอกมี ก ลี บ 3 กลี บ สี ช มพู
สดใส ใช้ชุบแป้งทอด เป็นเหมือด
กิ น กั บ ขนมจี น น้ าพริ ก มี ร สมั น
และขมเล็กน้อย
ดอกลั่ นทมคนโบราณไม่นิยมปลูกในบ้า น          ดอกลั่นทม
บางคนบอกว่าเป็นเพราะชื่อที่พ้องกับคาว่า “ระทม”
แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็น “ลีลาวดี” คนทาง
ภาคเหนื อ เรี ย กว่ า ดอกจาปาลาว ช่ ว งฤดู ฝนดอก
ลั่นทมจะดกกว่าช่วงอื่น มีกลิ่นหอมอ่อน มีหลายสี
คื อ สี ข าว สี ช มพู สี ช มพู อ มขาว สี แ ดง สี แ ดง
เหลือง เป็นต้น สีขาวมี 2 ชนิด ได้แก่ ชนิดดอก
ใหญ่ กลีบใหญ่บาง และชนิดดอกเล็ก กลีบหนา มีสี
เหลือง ข้างในกลีบชิดกว่าชนิดดอกใหญ่ ดอกสีขาว
ดอกใหญ่ น ามาชุ บ แป้ ง ทอดเป็ น เหมื อ ดขนมจี น
น้าพริก แต่ต้องตัดตรงส่วนก้านดอกบริเวณที่ติดกับ
กลีบเลี้ยงออกเพราะตรงส่วนนี้จะขม ส่วนสีอื่น ๆ ไม่
นามากิน
ดอกบานไม่รู้โรยเป็นไม้ล้มลุก ลาต้น             ดอกบานไม่รู้โรย
ตั้ง ตรง แต่โ คนต้น เอนราบกับดิน และมี
รากตามข้อ ลาต้นมีสีแดง กิ่งอ่อนมีขน
อยู่ ทั่ ว ไป ดอกออกเป็ น กระจุ ก กลม ๆ
ประกอบด้ วยดอกเล็ ก ๆ จานวนมากบน
ก้านช่อ ดอกบานไม่รู้โรยมีหลายสี เช่น
สีแดง สีขาว และสีชมพู เป็นต้น ใช้เป็น
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ค ว า ม มั่ น ค ง ใ น ชี วิ ต
โดยมากใช้ คู่ กั บ ดอกรั ก นั ก ประดิ ษ ฐ์
ดอกไม้แบบโบราณรู้จักดอกบานไม่รู้โรยดี
เพราะใช้ทาทั้งพานและพุ่ม
          ห ล า ย ค น ค ง ไ ม่ คิ ด ว่ า ด อ ก
บานไม่ รู้ โ รยกิ น ได้ แต่ ค นโบราณหลาย
ท่านเอาดอกบานไม่รู้โรยมาชุบแป้งทอด
กิน เป็นเหมือดขนมจีนน้าพริกได้อร่อย
รสชาติมัน
กุหลาบมอญเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก       ดอกกุหลาบมอญ
ตามลาต้นและกิ่งมีหนาม ใบเป็นรูปไข่
ปลายใบแหลม ตามขอบจั ก เป็ น ฟั น
เลื่อย ดอกออกเป็นช่อ 3-4 ดอกที่ปลาย
กิ่ ง ออกดอกได้ ต ลอดทั้ ง ปี ดอก
กุหลาบมอญมีสีชมพูและสีแดง กลีบ
เรียงซ้อนกันอย่างหลวม ๆ มีกลิ่นหอม
รสชาติ มั น กลี บ ดอกน ามาใส่ ย ากุ้ ง
สกั ด น้ ามั น หอมระเหย ท าดอกไม้
ประดิษฐ์และบุหงาแห้ง
ต้ า ง ห ล ว ง เ ป็ น ไ ม้ ถิ่ น ท า ง   ต้างหลวง (ดอกต้าน)
ภาคเหนื อ ดอกมี ลั ก ษณะเป็ น ช่ อ
กลมสี เ หลื อ งอมขาว ชาวเหนื อ
นิยมนาดอกอ่อนของต้างหลวงมา
ลวกหรื อ ต้ ม ให้ สุ ก กิ น เป็ น ผั ก จิ้ ม
กับน้าพริกตาแดง น้าพริกปลาร้า
แกงแคร่วมกับผักชนิดต่าง ๆ แกง
กับปลาแห้ง หรือแกงใส่หัวปลีด้วย
ก็ได้
ดาวเรื อ งเป็ น ไม้ พุ่ ม ชนิ ด สั้ น        ดอกดาวเรือง
ล าต้ น ตั้ งตรง สู งประมาณ 50 ซม.
ใบมีกลิ่นฉุน ออกเป็นช่อแบบขนนก
ตรงกันข้ามเป็นคู่ ๆ ดอกเป็นกระจุก
กลี บ ดอกสี ส้ ม หรื อ เหลื อ ง มี ถิ่ น
กาเนิดแถบอเมริกาใต้ เป็นดอกไม้ที่
นามาใช้ในงานมงคลต่าง ๆ เพราะคา
ว่ า “ดาวเรื อ ง” พ้ อ งเสี ย งกั บ ค าว่ า
“รุ่ ง เรื อ ง” ท าให้ ชี วิ ต เจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง
นอกจากนี้ดอกดาวเรืองยังนามากิน
ได้ อี ก ด้ ว ย ดาวเรื อ งสี เ หลื อ งเป็ น
ดาวเรื อ งที่ กิ น ได้ ดอกตู ม ทาง
ภาคเหนื อ ใช้ กิ น กั บ ลาบ กลี บ ดอก
ดาวเรืองบานใช้ยากับกุ้ง
ดอกมะลิ เ ป็ น ไม้ พุ่ ม ขนาดกลาง สู ง    ดอกมะลิ
ประมาณ 5 ฟุต ใบมนป้อม ปลายใบแหลม
โคนสอบ ขอบใบเรียวไม่มีจัก มีสีเขียวเข้ม
เป็นมัน มะลิมีทั้งดอกซ้อนไม่ซ้อน ดอกมีสี
ขาว กลิ่นหอม ดอกมะลินามาตากแห้งชงน้า
ดื่ ม แทนชา และใช้ ท าบุ ห งาแห้ ง มะลิ เ ป็ น
ดอกไม้ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นสัญลักษณ์ของ
แม่ และเป็นดอกไม้ที่นิยมใช้บูชาพระ ใช้ลอย
น้าเอากลิ่นผสมในน้าดื่ม น้าสาหรับทาขนม
หวาน และน้าเชื่อมใส่ขนม
        กลิ่ น หอมของน้ าเชื่ อ มจากดอกมะลิ
กลิ่ น หอมของข้ า วตู ห รือ ถั่ ว กวนได้ จากดอก
กระดังงาไทยและมะลิ กลิ่นหอมของน้ากะทิ
และน้าเชื่อมในซ่าหริ่มก็มาจากดอกกระดังงา
ไทยลนไฟกับมะลิ
สวัสดีครับ…

More Related Content

Similar to ดอกไม้กินได้

โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
Chok Ke
 
ดอกไม้
ดอกไม้ดอกไม้
ดอกไม้
nt020757
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีFearn Chi
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
khuwawa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 

Similar to ดอกไม้กินได้ (12)

โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
ดอกไม้
ดอกไม้ดอกไม้
ดอกไม้
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
Ita
ItaIta
Ita
 
Ita
ItaIta
Ita
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สี
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 

ดอกไม้กินได้

  • 2. ดอกเข็ม ดอกเข็ ม มี ห ลายสี เช่ น สี ข าว สี แดง สีเหลือง สีชมพู และสีแสด ดอก เข็ ม ที่ ใ ช้ ท าอาหารคื อ เข็ ม ดอกเล็ ก ๆ ได้ แ ก่ เข็ ม ขาว เข็ ม ชมพู เข็ ม แดง ส่วนเข็มเศรษฐีดอกใหญ่ไม่นิยมนามา กิน ดอกเข็มจะมีน้าหวานตรงโคนดอก เด็ ก ๆ สมั ย ก่ อ นน าดอกเข็ ม มาดู ด น้ าหวานกิ น เล่ น ดอกเข็ ม ออกดอก ตลอดปี แต่ จ ะให้ ด อกดกช่ ว งฤดู ฝ น คนสมัยก่อนใช้ดอกเข็มชุบแป้งทอดเป็น เหมือด (เครื่องเคียง) กินกับขนมจี น น้ าพริ ก รสชาติ ด อกเข็ ม ไม่ ข ม แต่ มี ความมัน แป้งที่ใช้ชุบทอดใช้แป้งข้าว เจ้า ใส่น้าปูนใสและกะทิเล็กน้อย
  • 3. ดอกพวงชมพู พวงชมพู เ ป็ น พั น ธุ์ ไ ม้ เ ลื้ อ ย มีมือสาหรับเกาะพันต้นไม้หรือกิ่ง ไม้เพื่อการทรงตัว ลาต้นหรือเถา จ ะ เ ป็ น สี น้ า ต า ล เ ข้ ม ด อ ก พวงชมพูออกดอกเป็นช่อรวมกัน เป็นกลุ่มตามซอกใบ ง่ามกิ่ง และ ปลายยอด ส่วนปลายยอดสุดจะ เป็นมือเกาะ ลักษณะรูปร่างของ ดอกมี ทรงคล้า ยรู ปหั ว ใจมี ข นาด เล็ก ขึ้นง่าย เหี่ยวเร็วเมื่อเก็บจาก ต้ น ดอกมี ก ลี บ 3 กลี บ สี ช มพู สดใส ใช้ชุบแป้งทอด เป็นเหมือด กิ น กั บ ขนมจี น น้ าพริ ก มี ร สมั น และขมเล็กน้อย
  • 4. ดอกลั่ นทมคนโบราณไม่นิยมปลูกในบ้า น ดอกลั่นทม บางคนบอกว่าเป็นเพราะชื่อที่พ้องกับคาว่า “ระทม” แต่ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็น “ลีลาวดี” คนทาง ภาคเหนื อ เรี ย กว่ า ดอกจาปาลาว ช่ ว งฤดู ฝนดอก ลั่นทมจะดกกว่าช่วงอื่น มีกลิ่นหอมอ่อน มีหลายสี คื อ สี ข าว สี ช มพู สี ช มพู อ มขาว สี แ ดง สี แ ดง เหลือง เป็นต้น สีขาวมี 2 ชนิด ได้แก่ ชนิดดอก ใหญ่ กลีบใหญ่บาง และชนิดดอกเล็ก กลีบหนา มีสี เหลือง ข้างในกลีบชิดกว่าชนิดดอกใหญ่ ดอกสีขาว ดอกใหญ่ น ามาชุ บ แป้ ง ทอดเป็ น เหมื อ ดขนมจี น น้าพริก แต่ต้องตัดตรงส่วนก้านดอกบริเวณที่ติดกับ กลีบเลี้ยงออกเพราะตรงส่วนนี้จะขม ส่วนสีอื่น ๆ ไม่ นามากิน
  • 5. ดอกบานไม่รู้โรยเป็นไม้ล้มลุก ลาต้น ดอกบานไม่รู้โรย ตั้ง ตรง แต่โ คนต้น เอนราบกับดิน และมี รากตามข้อ ลาต้นมีสีแดง กิ่งอ่อนมีขน อยู่ ทั่ ว ไป ดอกออกเป็ น กระจุ ก กลม ๆ ประกอบด้ วยดอกเล็ ก ๆ จานวนมากบน ก้านช่อ ดอกบานไม่รู้โรยมีหลายสี เช่น สีแดง สีขาว และสีชมพู เป็นต้น ใช้เป็น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ค ว า ม มั่ น ค ง ใ น ชี วิ ต โดยมากใช้ คู่ กั บ ดอกรั ก นั ก ประดิ ษ ฐ์ ดอกไม้แบบโบราณรู้จักดอกบานไม่รู้โรยดี เพราะใช้ทาทั้งพานและพุ่ม ห ล า ย ค น ค ง ไ ม่ คิ ด ว่ า ด อ ก บานไม่ รู้ โ รยกิ น ได้ แต่ ค นโบราณหลาย ท่านเอาดอกบานไม่รู้โรยมาชุบแป้งทอด กิน เป็นเหมือดขนมจีนน้าพริกได้อร่อย รสชาติมัน
  • 6. กุหลาบมอญเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ดอกกุหลาบมอญ ตามลาต้นและกิ่งมีหนาม ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม ตามขอบจั ก เป็ น ฟั น เลื่อย ดอกออกเป็นช่อ 3-4 ดอกที่ปลาย กิ่ ง ออกดอกได้ ต ลอดทั้ ง ปี ดอก กุหลาบมอญมีสีชมพูและสีแดง กลีบ เรียงซ้อนกันอย่างหลวม ๆ มีกลิ่นหอม รสชาติ มั น กลี บ ดอกน ามาใส่ ย ากุ้ ง สกั ด น้ ามั น หอมระเหย ท าดอกไม้ ประดิษฐ์และบุหงาแห้ง
  • 7. ต้ า ง ห ล ว ง เ ป็ น ไ ม้ ถิ่ น ท า ง ต้างหลวง (ดอกต้าน) ภาคเหนื อ ดอกมี ลั ก ษณะเป็ น ช่ อ กลมสี เ หลื อ งอมขาว ชาวเหนื อ นิยมนาดอกอ่อนของต้างหลวงมา ลวกหรื อ ต้ ม ให้ สุ ก กิ น เป็ น ผั ก จิ้ ม กับน้าพริกตาแดง น้าพริกปลาร้า แกงแคร่วมกับผักชนิดต่าง ๆ แกง กับปลาแห้ง หรือแกงใส่หัวปลีด้วย ก็ได้
  • 8. ดาวเรื อ งเป็ น ไม้ พุ่ ม ชนิ ด สั้ น ดอกดาวเรือง ล าต้ น ตั้ งตรง สู งประมาณ 50 ซม. ใบมีกลิ่นฉุน ออกเป็นช่อแบบขนนก ตรงกันข้ามเป็นคู่ ๆ ดอกเป็นกระจุก กลี บ ดอกสี ส้ ม หรื อ เหลื อ ง มี ถิ่ น กาเนิดแถบอเมริกาใต้ เป็นดอกไม้ที่ นามาใช้ในงานมงคลต่าง ๆ เพราะคา ว่ า “ดาวเรื อ ง” พ้ อ งเสี ย งกั บ ค าว่ า “รุ่ ง เรื อ ง” ท าให้ ชี วิ ต เจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง นอกจากนี้ดอกดาวเรืองยังนามากิน ได้ อี ก ด้ ว ย ดาวเรื อ งสี เ หลื อ งเป็ น ดาวเรื อ งที่ กิ น ได้ ดอกตู ม ทาง ภาคเหนื อ ใช้ กิ น กั บ ลาบ กลี บ ดอก ดาวเรืองบานใช้ยากับกุ้ง
  • 9. ดอกมะลิ เ ป็ น ไม้ พุ่ ม ขนาดกลาง สู ง ดอกมะลิ ประมาณ 5 ฟุต ใบมนป้อม ปลายใบแหลม โคนสอบ ขอบใบเรียวไม่มีจัก มีสีเขียวเข้ม เป็นมัน มะลิมีทั้งดอกซ้อนไม่ซ้อน ดอกมีสี ขาว กลิ่นหอม ดอกมะลินามาตากแห้งชงน้า ดื่ ม แทนชา และใช้ ท าบุ ห งาแห้ ง มะลิ เ ป็ น ดอกไม้ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นสัญลักษณ์ของ แม่ และเป็นดอกไม้ที่นิยมใช้บูชาพระ ใช้ลอย น้าเอากลิ่นผสมในน้าดื่ม น้าสาหรับทาขนม หวาน และน้าเชื่อมใส่ขนม กลิ่ น หอมของน้ าเชื่ อ มจากดอกมะลิ กลิ่ น หอมของข้ า วตู ห รือ ถั่ ว กวนได้ จากดอก กระดังงาไทยและมะลิ กลิ่นหอมของน้ากะทิ และน้าเชื่อมในซ่าหริ่มก็มาจากดอกกระดังงา ไทยลนไฟกับมะลิ