SlideShare a Scribd company logo
อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย
"SMART INDUSTRY "
จัดทำโดย
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
รำยงำนสรุปสัมมนำวิชำกำรผ่ำนระบบออนไลน์
วิชำสัมมนำทำงเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
โดยความร่วมมือของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 2
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รำยงำนสรุปสัมมนำวิชำกำรผ่ำนระบบออนไลน์
วิชำสัมมนำทำงเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
เรื่อง อุตสำหกรรมอัจฉริยะลำสมัย " SMART INDUSTRY "
วันที่ 4 ธันวำคม 2564
ออนไลน์ผ่ำนระบบ Webex ณ มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช
โดยควำมร่วมมือของคณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรมและบัณฑิตวิทยำลัย
มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช
ดำเนินโครงกำรโดย
นักศึกษำสำขำวิชำเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
หลักสูตรปรัชญำดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหำบัณฑิต
คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย "SMART INDUSTRY"
โดยนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
รายนามที่ปรึกษาเอกสาร: ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานหลักสูตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์ เลขานุการและกรรมการหลักสูตร
ดร.วีรพล ปานศรีนวล คณะกรรมการหลักสูตร
บรรณาธิการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์หาญพล มิตรวงศ์
กองบรรณาธิการ: นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ
นายนิวัต บิลและหมัน
นายสันติชัย สุวรรณฤทธิ์
ผู้จัดพิมพ์และเผยแพร่: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
อาคาร 18 ห้อง 1811
ม.1 ต.ท่างิว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280
โทร: 075-377439 แฟกซ์: 075-377439
กราฟฟิก: นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ
พิมพ์ครังแรก: มกราคม 2565
จ้านวนพิมพ์: 50 เล่ม
พิมพ์ที่: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
อาคาร 18 ม.1 ต.ท่างิว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280
โทร: 075-377439 แฟกซ์: 075-377439
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 4
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สารจากคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์
การสัมมนาเชิงวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” เป็นการสัมมนา เพื่อให้
นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาตนสู่นักวิจัยและนักพัฒนาวิชาการที่สูงขึนในสายวิชาอาชีพ
เพื่อตอบโจทย์ต่อการพัฒนาการวิจัยและการพัฒนาประเทศ การสัมมนาในครังนีได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษาได้พูดคุยถาม - ตอบ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมล้าสมัย ท้าให้เกิดการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างนักศึกษาและผู้เชี่ยวชาญในสายงานที่เกี่ยวข้องทังในสถาบันการศึกษาเดียวกันและระหว่าง
สถาบันอื่นอันจะน้าไปสู่การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและผู้ร่วมรับฟังสัมมนาต่อไป
กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART
INDUSTRY” ในครังนีจะเป็นอีกก้าวหนึ่งที่จะเปิดโอกาสให้กับอาจารย์ นักศึกษา และตลอดจนผู้สนใจทุกท่าน ได้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเป็นเครือข่ายการสร้างสรรค์องค์ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และงานวิจัย สามารถ
น้าองค์ความรู้ที่ได้จากการรับฟังสัมมนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริงกับสังคม
และประเทศชาติในอนาคตสืบไป
(ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์)
คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 5
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สารจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์
โครงการบริการวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย: SMART INDUSTRY” จัดขึนโดยนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป็นโครงการสัมมนาที่มีเป้าหมายหลักในการพัฒนานักเรียน
นักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาในระดับการศึกษาขันพืนฐานและระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงผู้ที่สนใจให้มี
ความรู้ความเข้าใจในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา โดยกิจกรรมการสัมมนาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องดังกล่าวย่อมส่งผลให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครังนี
เกิดความตระหนักและน้าไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาศักยภาพผู้สอนให้ก้าวไปสู่คุณภาพ
ในระดับสากลมากขึน
บัณฑิตวิทยาลัย ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานกรรมการหลักสูตรปรัชญา
ดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้รับผิดชอบหลักของ
โครงการ ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ สุด
สมบูรณ์ และ ดร.วีระพล ปานศรีนวล อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตลอดจน
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่มีส่วนส้าคัญในการด้าเนินการโครงการ
ให้ส้าเร็จลุล่วงด้วยดี โดยมีกลุ่มเป้าหมายทังที่เป็นนักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาในพืนที่ให้บริการของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
(รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 6
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สารจากประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี
การจัดท้าโครงการบริการวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” จัดโดยหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความมุ่งเน้นให้
นักศึกษามีประสบการณ์ และประมวลความรู้ที่สอดคล้องกับรายวิชาสัมมนางานวิจัยทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
อันช่วยส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้และพัฒนาโจทย์วิจัยทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม งานจัดการสัมมนาวิชาการ
เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” จึงเป็นโจทย์ที่ส้าคัญสู่การพัฒนา การเรียนรู้ระดับ
บัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทยในปัจจุบัน และส่งผลยิ่งต่อการเรียนรู้เส้นทางของนัก
การศึกษา นักวิชาการ และนักวิจัย ดังเข็มมุ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ผลเชิงประจักษ์จากการปฏิบัติจริงสู่การเป็นนักคิด นักปฏิบัติ และมีจิตสาธารณะ จากโครงการครังนี จะ
ส่งผลระยะยาวและสร้างองค์ความรู้สู่พัฒนาตนของนักศึกษาอย่างยั่งยืน ผลดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือจาก
ผู้รู้ บุคคล และหน่วยงานหลายฝ่าย ซึ่งขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงในที่นี ที่ท้าให้โครงการภายใต้ความรับผิดชอบ
ของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และบัณฑิต
วิทยาลัย ประสพความส้าเร็จด้วยดี สามารถบริการวิชาการสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพ
ตามเป้าประสงค์ที่ตังไว้ ขอขอบพระคุณวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากรร่วมสัมมนาวิชาการ นักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมทุกคนที่ร่วมมือร่วมใจท้าให้โครงการส้าเร็จสมดังที่หลักสูตรตังใจไว้ทุกประการ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี)
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 7
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สารบัญ
เรื่อง หน้า
สารจากผู้บริหาร 4
สารจากคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์
4
สารจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์
5
สารจากประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี
6
พิธีเปิดงานสัมมนาวิชาการ 8
ค้ากล่าวรายงานโครงการสัมมนาวิชาการ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี
9
ค้ากล่าวเปิดโครงการสัมมนาวิชาการ
โดย คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์
11
ค้ากล่าวปิดโครงการสัมมนาวิชาการ
โดย ผู้ช่วยคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์
12
สัมมนาวิชาการเรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย " SMART INDUSTRY " 13
หัวข้อ "แนวโน้มเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม" โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย 13
หัวข้อ "ทัศนะและแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีการก่อสร้างและโยธา" โดย รศ.ดร.สราวุธ จริตงาม 26
ประมวลภาพกิจกรรมการจัดสัมมนาวิชาการ 37
ประมวลภาพการเตรียมกิจกรรม 37
ประมวลภาพการจัดกิจกรรมการสัมมนาวิชาการ 46
ภาคผนวก
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ 55
ก้าหนดการ 62
ค้าสั่งแต่งตังคณะกรรมการ 64
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 8
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พิธีเปิดงำนสัมมนำวิชำกำร
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 9
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ค้ากล่าวรายงาน
เรียน ท่าน ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท่านวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัย
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผู้เข้าร่วมสัมมนา และนักศึกษา
ทุกท่าน
ผม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รู้สึกเป็นเกียรติยิ่งที่ท่านให้เกียรติเป็น ประธานในพิธีเปิดและเข้าร่วม
กิจกรรมโครงการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรม
กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้าน
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” ในวันนี
ด้วยหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ก้าหนดจัดโครงการสัมมนาทาง
วิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” วันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม 2564 นี ในรูปแบบ
ออนไลน์ โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร นักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นผู้รับผิดชอบ
ด้าเนินโครงการ เพื่อสร้างประสบการณ์เรียนรู้ทางวิชาการและสร้างทักษะการจัดกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการ
ระดับสูงให้กับบุคลากรทังภายในและภายนอกหลักสูตร สร้างองค์ความรู้ระดับสูงที่ทันสมัย ทันโลก ทันต่อ
สถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อีกทังเป็นการบริการวิชาการแก่ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า และผู้สนใจทั่วไป
รวมกว่า 300 คน การสัมมนาวิชาการสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมครังนีจะช่วยพัฒนา
ความรู้ที่เท่าทันกับสถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของไทยในยุคปัจจุบัน ส่งเสริมบัณฑิตสู่มาตรฐาน
วิชาการ วิชาชีพ และคุณวุฒิทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และเผยแพร่ความรู้สู่บุคลากรประจ้าการในท้องถิ่นอัน
เป็นหัวใจส้าคัญของการจัดการศึกษาระดับสูงได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิผล
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 10
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
บัดนีได้เวลาอันสมควรแล้ว ขอกราบเรียนเชิญท่านประธานกล่าวเปิดโครงการพัฒนานักศึกษาให้มี
คุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท-
ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรม
อัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” ขอกราบเรียนเชิญครับผม
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี)
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 11
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ค้ากล่าวเปิดงาน
ท่านวิทยากร ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและผู้เข้าร่วมสัมมนาทุก
ท่าน กระผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มีโอกาสมาเป็นประธานพิธีเปิด โครงการพัฒนานักศึกษาให้มี
คุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรม กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญา
โท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง
“อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย” ในวันนี จากค้ากล่าวรายงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธาน
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท้าให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และความเป็นมาของ
การจัดการอบรมฯ ในครังนี ซึ่งเป็นโอกาสอันดี ที่ปัจจุบันบุคลากรทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในระดับท้องถิ่นมี
ความส้าคัญยิ่งต่อการพัฒนาท้องถิ่นการพัฒนาและให้ความรู้กับนักศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตเพื่อก้าวสู่การศึกษา
ระดับสูงจึงเป็นการสร้างความร่วมมือกันในการพัฒนาจังหวัดและพืนที่โดยรอบของมหาวิทยาลัยผ่านการสัมมนา
ทางวิชาการและการจัดประสบการณ์ของนักศึกษาของหลักสูตรท้าให้นักศึกษาเรียนรู้และเข้าสู่กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิสาขาวิชาและมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และน้าเอาองค์ความรู้ไป
พัฒนาชุมชนต่อไปได้
ขอขอบคุณคณะผู้จัดท้าโครงการนี ท่านวิทยากรที่มาให้ความรู้ และขออวยพรให้เยาวชนและผู้เข้าร่วม
สัมมนาในวันนีจงน้าความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ เพื่อใช้แก้ไขปัญหาทางวิชาชีพและจงประสบความสุขความเจริญตลอดไป
บัดนีได้เวลาอันสมควรแล้ว ผมขอเปิด โครงการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4
ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม)
ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย” ณ บัดนี
(ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์)
คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 12
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ค้ากล่าวปิดงาน
ผม ผศ.ดร.วีระยุทธ์ สุดสมบูรณ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ในนามของคณะท้างานโครงการประชุมสัมมนาวิชาการ
ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย: SMART INDUSTRY” รู้สึกเป็นเกียรติและ
ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่กรุณาให้เกียรติรับเชิญมาเป็นประธานในพิธีปิดโครงการในครังนี
โครงการที่จัดขึน สามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้ทางวิชาการและสร้างทักษะการจัดกิจกรรมสัมมนา
ทางวิชาการระดับสูงให้กับบุคลากรทังภายในและภายนอกหลักสูตรหลักสูตร อีกทังผู้ร่วมรับฟังสามารถน้าองค์
ความรู้ที่ทันสมัย ทันโลก ทันต่อสถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไปประยุกต์ใช้ในอนาคตได้
ในการนีโครงการดังกล่าวได้รับเกียรติจากท่านวิทยากร รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย และ รศ.ดร.สราวุธ
จริตงาม ให้เกียรติมาบรรยายความรู้ให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนา กระผมในนามตัวแทนของคณะท้างานและผู้เข้าร่วม
รับฟังสัมมนาในครังนี ขอขอบพระคุณท่านวิทยากรทัง 2 ท่าน เป็นอย่างสูง ที่ท่านได้ให้เกียรติมาบรรยายในหัวข้อ
อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY กระผมและผู้เข้าร่วมรับฟังทุกคนจะขอน้าความรู้ ที่ได้รับใน
วันนี ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพต่อไป
ขณะนีได้เวลาอันเหมาะสมในการจัดโครงการในครังนี ผมขอปิดการสัมมนาเรื่องอุตสาหกรรมอัจฉริยะ
ล้าสมัย : SMART INDUSTRY ณ บัดนี
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์)
ผู้ช่วยคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 13
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
บทสรุปสัมมนำวิชำกำร
"แนวโน้มเทคโนโลยีและกำรจัดกำรอุตสำหกรรม"
โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 14
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
บทสรุปสัมมนาวิชาการ
"แนวโน้มเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม"
โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล
Smart คือยุคที่เปลี่ยนผ่านเป็นยุคดิจิทัล ซึ่งในปัจจุบันโลกได้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล ส่งผลให้ดิจิทัล
เข้ามามีบทบาทมากขึนในชีวิตประจ้าวันของประชากรโลก หากไม่ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต หรือพัฒนาการประกอบ
ธุรกิจให้เข้ากับยุคสมัย ก็จะได้รับผลกระทบอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งมีตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง
ของโลกที่เข้าสู่ยุคดิจิทัล ดังนี
1. แอปพลิเคชัน
หากกล่าวถึง แอปพลิเคชัน จะเห็นได้ว่าแอปพลิเคชันเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ้าวันเป็นอย่างมาก
ดังจะเห็นได้จากการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ เช่น แอปพลิเคชันการให้ความช่วยเหลือจากรัฐบาล แอปพลิเคชันการ
ซือขายสินค้าออนไลน์ และแอปพลิเคชันเพื่อการบริการและท่องเที่ยว ซึ่งรัฐบาลไทยพยายามใช้สมาร์ตเพื่อให้
ประชาชนได้รับการช่วยเหลือ เข้าถึงข้อมูลของโครงการต่าง ๆ โดยใช้ดิจิทัล เช่น โครงการคนละครึ่ง โครงการยิ่ง
ใช้ยิ่งได้ โครงการเราเที่ยวด้วยกัน เป็นต้น โครงการ ดังกล่าว เป็นระบบการช่วยเหลือของรัฐบาล ซึ่งประชาชน
ชาวไทยสามารถเข้าใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” อยู่ในสมาร์ตโฟน เท่านัน ท้าให้วิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป และเข้าถึงดิจิทัลได้มากยิ่งขึน
ในอดีตการซือขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับบุคคลที่ไม่รู้จักหรือไม่พบเจอกัน ถือเป็นเรื่องไม่ปกติ เพราะ
กลัวการหลอกลวง แต่ในปัจจุบันกลับมีแอปพลิเคชันการซือขายผ่านระบบออนไลน์โดยที่ผู้ซือและผู้ขายไม่พบเจอ
กัน เช่น แอปพลิเคชัน lazada และ shopee เป็นต้น อีกทังยังมีที่แอปพลิเคชันให้บริการรถสาธารณะ ผ่านแอป
พลิเคชัน Grab การจองที่พักเพื่อการท่องเที่ยวหรือธุรกิจโดยใช้แอปพลิเคชัน Airbnb ซึ่งแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 15
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
กล่าวมานี ท้าให้ผู้ใช้มีความสะดวกสบายขึนสามารถดูความน่าเชื่อถือได้จากรีวิวและการบริการผ่านระดับ
คะแนนท้าให้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสังคมยุคนี
ยุคดิสรัปเตอร์ (Disruptor) การปรับเปลี่ยน แอปพลิเคชันต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ้าวัน
เช่น Netflix เป็นแอปพลิเคชัน ให้บริการภาพยนตร์ ละคร ซีรีย์ต่าง ๆ สามารถซือรายการที่สนใจได้ ผ่านแอป
พลิเคชันเหล่านี และแอพพลิเคชั่นพืนฐาน เช่น Facebook Tik tok เข้ามาเปลี่ยนชีวิตของมนุษย์ หรือจากการ
เปลี่ยนระบบสมาร์ตต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น รถยนต์ไร้คนขับเป็น smart transportation เป็นรถยนต์ไร้คนขับซึ่งใน
ประเทศจีนถือว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ต่อไปในอนาคตอาจจะได้รับความนิยมในประเทศไทยด้วยเช่นกัน
2. กล้องถ่ายรูปและโทรศัพท์มือถือ
กล้องถ่ายรูปมีการพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย ในอดีตนิยมใช้กล้องฟิล์ม ซึ่งฟิล์ม
ที่ได้รับความนิยมและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก คือ โกดัก แต่ปัจจุบันเมื่อมีการพัฒนาเป็นกล้องดิจิทัลท้าให้กล้อง
ฟิล์มได้รับความนิยมลดน้อยลง แม้ว่าฟิล์มโกดักจะเป็นผู้ผลิตอุปกรณ์และเคมีภัณฑ์ของกล้องเป็นรายแรก ๆ ของ
โลก แต่หากไม่พัฒนาตามความเปลี่ยนแปลงของโลกในแต่ละยุคสมัยก็ไม่สามารถด้าเนินธุรกิจต่อไปได้ ในยุคที่มี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อนที่จะเข้าสู่ยุคปัจจุบัน โทรศัพท์มือถือที่ได้รับความนิยมจะมีการป้อนข้อมูลโดย
การกดปุ่ม เช่น โทรศัพท์มือถือรุ่น Nokia 3310 ปัจจุบันเมื่อมีการพัฒนาเป็นสมาร์ตโฟน โทรศัพท์มือถือจาก
บริษัทที่เคยได้รับความนิยมในอดีต ก็ไม่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน
3. การปรับเปลี่ยนการให้บริการธนาคาร และการยุบรวมบริษัท
ความเปลี่ยนแปลงของธุรกิจเกิดขึนอย่างรวดเร็ว ธุรกิจที่เห็นได้ชัด คือ ธนาคาร เมื่อพฤติกรรมของ
ลูกค้าหรือผู้ใช้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อยุคดิจิทัลเข้ามา ธนาคารต่าง ๆ ก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน ท้าให้มีการลดสาขา
ลง และให้ลูกค้าใช้บริการผ่านการสมัครแอปพลิเคชันผ่านทางสมาร์ตโฟนแทน โดยลูกค้าสามารถท้าธุรกรรม
ทางการเงินได้ทุกที่ทุกเวลา การเปลี่ยนแปลงของธนาคาร เช่น การลดสาขาธนาคารกสิกรไทยซึ่งลดลง 73 สาขา
ธนาคารไทยพาณิชย์ลดลง 60 สาขา ธนาคารธนชาติลดลง 14 สาขา แต่ปัจจุบัน ธนาคารแต่ละแห่งพยายาม
สร้างแอปพลิเคชันขึนมา เพื่อที่จะท้าธุรกรรมทางการเงินโดยไม่ต้องเดืนทางไปธนาคาร และมีการยุบรวม
ธนาคารทหารไทยกับธนาคารธนชาติ นอกจากธนาคารที่ได้รับผลกระทบแล้ว บริษัทที่เปิดให้บริการสัญญาณ
โทรศัพท์มือถือบริษัท True และ Dtac ร่วมมือกัน เพื่อต้องการที่จะด้าเนินธุรกิจให้มีศักยภาพสูงขึนและสามารถ
แข่งขันกบบริษัทอื่นได้ วารสารในประเทศไทย เช่น สกุลไทย สยามรัฐ ขวัญเรือน ที่เคยได้รับความนิยมในยุคสมัย
ที่ผ่านมา ปัจจุบันได้ปิดกิจการลง หรือแม้กระทั่งเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บไฟล์ข้อมูลวิดีโอต่าง ๆ อุตสาหกรรม
มีเดียก็จะเปลี่ยนไป ปัจจุบันเด็กรุ่นใหม่ไม่นิยมสื่อที่กล่าวมา แต่จะใช้สมาร์ตเพียงอย่างเดียว เสมือนว่าสมาร์ต
โฟนเป็นปัจจัยที่ส้าคัญอีกอย่างหนึ่งในชีวิตปัจจุบัน
เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital literacy)
เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital literacy) คือ ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy
หมายถึง ทักษะในการน้าเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และ
การท้างานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการท้างาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 16
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประสิทธิภาพ ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ 1. การใช้ (Use) 2. เข้าใจ (Understand) 3.การสร้าง
(create) 4.เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคโนโลยี 5G หรือในอนาคตพัฒนา
เป็นเทคโนโลยี 6G สอดรับกับการพัฒนาของโลกดิจิทัลของการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ตามนโยบาย Thailand
4.0 Digital Literacy ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทัง 9 ด้าน ได้แก่
1. การใช้คอมพิวเตอร์
2. การใช้อินเตอร์เน็ต
3. การใช้งานเพื่อความมั่นคง
4. การใช้โปรแกรมประมวลค้า
5. การใช้โปรแกรมตารางค้านวณ
6. การใช้โปรแกรมน้าเสนองาน
7. การสร้างสื่อดิจิทัล
8. การท้างานร่วมกันแบบออนไลน์
9. การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย
ลักษณะของทักษะการใช้ดิจิทัล หลักสูตรต่าง ๆ เป็นหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐานหรือหลักสูตร
ทางด้านมัธยมศึกษา ถ่ายทอดเพื่อให้เด็กยุคใหม่ได้เข้าใจติดตามและด้าเนินการให้สอดรับกับการพัฒนาของโลก
ดิจิทัลของการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ตามนโยบาย Thailand 4.0
Digital Thailand
1. ความหมายของ Digital Thailand
Digital Thailand หมายถึง ประเทศไทยที่สามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดิจิทัล
อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์และทรัพยากรอื่นใด เพื่อ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ประชาชนทุกคนสามารถ
เข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง อันถือเป็นสาธารณูปโภคพืนฐานประเภทหนึ่งจากการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 17
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
และบริการสาธารณะเพื่อคุณภาพของประชาชนดีขึน โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางสังคม จะต้องเข้าถึงเทคโนโลยี
ดิจิทัลและสื่อดิจิทัลอย่างเท่าเทียมกัน
2. ภูมิทัศน์ดิจิ
ิทัล
ภูมิทัศน์ดิจิ
ิทัลของประเทศไทยในระยะเวลา 20 ปี
ระยะที่ 1 Digital Foundation (1 ปี 6 เดือน) เป็นระยะที่ประเทศไทยมุ่งลงทุนและสร้างฐานรากใน
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ในภายหลัง ขับเคลื่อนแผนฯอย่างเป็นรูปธรรม
ผ่านโครงการขับเคลื่อนเร่งด่วน นอกจากนียังผลักดันชุดกฎหมายที่ครอบคลุม และปฏิรูปองค์กรในการขับเคลื่อน
งาน
ระยะที่ 2 Digital Thailand I: Inclusion (5 ปี) เป็นระยะที่ประเทศไทยก้าวย่างเข้าสู่การเป็นดิจิทัลไทย
แลนด์ที่ท้าให้ทุกภาคส่วนของประเทศสามารถเข้าถึง มีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ
สังคม มุ่งเน้น Inclusive Growth, Inclusive Development
ระยะที่ 3 Digital Thailand II: Full Transformation (10 ปี) ประเทศไทยก้าวไปสู่การเป็นดิจิทัลไทย
แลนด์ที่ขับเคลื่อน และใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ
ระยะที่ 4 Global Digital Leadership ( 20 ปี) เป้าหมายของการพัฒนาระยะยาวเป็นไปอย่าง
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีที่มุ่งให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่พัฒนาแล้ว (รายได้ข้ามผ่านกับดักรายได้ปาน
กลาง) ที่สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างมูลค่าในทางเศรษฐกิจ คุณค่าทางสังคมอย่างยั่งยืน
3. พฤติกรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย
Dtac กับ M Thai ได้ด้าเนินการส้ารวจ 5 พฤติกรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย ในชื่อ “สุดยอด
พฤติกรรมน่าหงุดหงิดในการใช้อินเทอร์เน็ต” พบว่า พฤติกรรมที่น่าหงุดหงิด 5 ล้าดับของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคือ 1)
การใช้ค้าพูดหยาบคาย 43% (2) การแพร่กระจายข่าวลือที่เป็นเท็จ 40% (3) การส่งค้าเชิญชวนเล่นเกมออนไลน์
32% (4) การโพสต์ข้อความก่อกวนเพื่อยั่วยุ 28% และ (5) การเผยแพร่เนือหาที่ไม่เหมาะสม 20% ส่วน 3
พฤติกรรมยอดฮิตของคนไทยบนโลกออนไลน์ ได้แก่ 1. โพสต์รูปภาพอาหาร 2. บ่น 3. แชร์รูปภาพ การสะกด
ค้าผิดและการใช้ค้าผิดหลักไวยากรณ์
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 18
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมสมาร์ตอินดัสตรี 4.0
ยุคเทคโนโลยีหรือว่าใช้สมาร์ตต่าง ๆ การหาช่องทางออนไลน์ เช่น การขายประสบการณ์ทางด้านใช้ยู
ทูบ หรือ การขายทักษะในเรื่องร้องเพลง รวมถึงการขายความรู้หรือคอร์ทเรียนต่าง ๆ มีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ต
สามารถลงทะเบียนเพื่อเข้าศึกษาหาความรู้ในเรื่องที่สนใจตามความต้องการ หรือ บริษัท หน่วยงานต่าง ๆ ที่มี
องค์ความรู้สามารถสร้างเนือหารายการ ให้ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนศึกษาด้วยตนเอง
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของโลก หลากหลายธุรกิจหรือมนุษย์ในแต่ละช่วงพยายามหาวิธีการปรับตัว
เช่น การขายทักษะหรือขายคอนเทนต์ต่าง ๆ ผ่านสมาร์ต ยุคเทคโนโลยีดิจิทัลทุกที่ทุกเวลา ธุรกิจต่าง ๆพยายาม
สร้างแบรนด์โลโก้เพื่อการขายหรือการจดจ้าของผู้คน บ่งบอกรายละเอียดของธุรกิจ และพยายามสร้างแอป
พลิเคชันเพื่อรองรับเทคโนโลยีดิจิทัล เพราะในโลกปัจจุบันผู้ซือกับผู้ขายไม่จ้าเป็นพบเจอกันเหมือนอย่างในอดีต
ในปัจจุบันไม่จ้าเป็นต้องไปเลือกซือของหน้าร้าน สามารถเลือกซือออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันหรือแบรนด์โลโก้
เพื่อต้องการให้ลูกค้าเข้าใจและเห็น สามารถน้าแบรนด์โลโก้ของบริษัทหรือห้างร้านไปใช้ประโยชน์ ซึ่งที่กล่าวมา
ทังหมด คือ การเข้าสู่ Thailand 4.0
อุตสาหกรรมสมาร์ตอินดัสตรี 4.0 เข้ามาบทบาทชีวิตประจ้าวันทุกเรื่อง เช่น แม่ค้าในตลาดมีสมาร์ต
โฟน การซือขายผ่านแอปพลิเคชั่น เป๋าตัง หรือการเข้าอินเตอร์เน็ตของต้าบล หมู่บ้าน ในพืนที่ห่างไกล ส่วนของ
อุตสาหกรรม 4.0 หรือ Industry 4.0 และ ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยน
เศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ซึ่งกว่าจะมาเป็น ประเทศไทย 4.0 ต้องผ่านประเทศ
ไทย 1.0 2.0 และ 3.0 มาก่อน ประเทศไทย 1.0 ยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลียงหมู เป็ด
ไก่ น้าผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ ประเทศไทย 2.0 ยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนีเรามีเครื่องมือเข้ามา
ช่วย เราผลิตเสือผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากขึน ประเทศ
ไทย 3.0 หรือยุคปัจจุบัน ยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ
ปูนซีเมนต์ เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่งออก ในช่วงแรกประเทศไทย 3.0 เติบโต
อย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงเพียงร้อยละ 3 - 4 ต่อปีเท่านัน ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปาน
กลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการแข่งขันที่สูงขึน เราจึงต้องเปลี่ยนสู่ยุค ประเทศไทย 4.0
เพื่อให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง
กลุ่มอุตสาหกรรมที่พัฒนาประเทศ 4.0 หรือ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เพื่ออนาคตตาม มติ คณะรัฐมนตรี พศ.2558 ได้แก่ 5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve)
ประกอบด้วย
1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive)
2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics)
3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and
Wellness Tourism)
4)การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5) อุตสาหกรรมการแปรรูป
อาหาร (Food for the Future)
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 19
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
5) อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve)
- หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (ROBOTICS)
- อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (AVIATION AND LOGISTICS)
- อุตสาหกรรมดิจิทัล (DIGITAL)
- อุตสาหกรรมเชือเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (BIOFUELS AND BIOCHEMICALS)
- อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (MEDICAL HUB)
การพัฒนาการพัฒนาบุคลากรตามประเทศไทย 4.0 เพื่อให้สามารถแข่งขันระดับชาติได้ การผลิตสินค้า
ที่มีตราของชาติมีส่วนส้าคัญมาก นั่นคือต้องมีการวางแผนด้านก้าลังคนของชาติ โดยจัดการรวมคนที่มี
ความสามารถรายสาขา พร้อมกับการใช้คนงานที่มีความสามารถ เพื่อป้อนเข้าสู่ตลาดคนที่มีความสามารถโดยมี
การอบรมพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ มีสวัสดิการและมีการป้องกันการลาออกของพนักงานเพื่อให้สามารถ
ผลิตสินค้าและบริการได้อย่างมีคุณภาพ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในประเทศไทย 4.0 ต้องหมั่นเรียนรู้โดย
การวางมาตรฐาน และท้างานตามหน้าที่ เพื่อท้าให้มีเอกลักษณ์ และใช้ความรักในการท้างาน ส่วนเรียนรู้การ
สร้าง ต้องเรียนบนฐานความเป็นจริง เรียนรู้เพิ่มเติม พร้อมกับมีการสื่อสารกับทุกคนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไป
ตามแนวคิด เรียนรู้การใช้งาน สามารถแนะน้าให้ค้าปรึกษาได้ การเรียนรู้การเอาใจใส่ต้องมีการสร้างนิสัยของ
การเรียนรู้ในแต่ละคน โดยมีมาตรการจูงใจให้เกิดการเรียนรู้เพื่อการสร้างความร่วมมือ และมีการจูงใจให้แบ่งปัน
ความรู้กัน และสุดท้ายคือการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ซึ่งต้องมีการจดบันทึกและเสร็จสินตามผลลัพธ์ต้องมีการสร้าง
การยอมรับ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในทฤษฎีที่ปฏิบัติ ผ่านการท้างานตามงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ และ
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และสุดท้ายเมื่อบรรลุความส้าเร็จที่ตังไว้ควรจะประกาศแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
Thailand 4.0
รัฐบาลประกาศ Thailand 4.0 ที่มาจาก (Smart Industry Smart City Smart People) เกิดประสิทธิภาพ
การใช้งาน อุตสาหกรรม 4.0 หรือ Industry 4.0 นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของประเทศเยอรมัน ประกาศเมื่อ
ปี ค.ศ. 2013 แนวคิด โลกจะเข้าสู่ช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครังที่ 4 ภายใน 20 ปีข้างหน้า ประเทศเยอรมันผู้น้า
ทางด้านอุตสาหกรรมจึงประกาศนโยบาย เข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 เปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม 4.0 เริ่มตังแต่ ยุค
อุตสาหกรรม 1.0 ตังแต่ปี 1782 การใช้เครื่องจักรไอน้า power generator ยุคอุตสาหกรรม 2.0 ระบบสายพาน
conveyor อุตสาหกรรม 3.0 คอมพิวเตอร์ระบบ NC หรือ PLC นับว่าอุตสาหกรรมพัฒนาขึนมา จนถึงปัจจุบันยุค
Cyber Physical System การเชื่อมโยงระบบ Smart เข้าด้วยกันทังหมด คอมพิวเตอร์ เครื่องจักร คน ระบบ
Automation เปลี่ยนเป็น Smart Automation การพัฒนาอุตสาหกรรมแถบเอเชีย ประเทศจีนเป็นประเทศ
อุตสาหกรรมอันดับต้นแถบเอเชีย เป็นพันธมิตรกับประเทศไทย ประเทศจีนประกาศ ปี 2025 Made in china
สินค้าไฮเทคชันน้าโลก ไม่ใช่สินค้าคุณภาพราคาต่้าราคาถูกที่เคยติดตาผู้คนทั่วโลกในอดีต อุตสาหกรรม 4.0
ประเทศจีนว่าพบมีการพัฒนาแนวทางเดียวกัน ตังแต่เริ่มต้นของอุตสาหกรรม 1.0 2.0 3.0 และสุดท้าย 4.0 เป็น
smart and connected device การเชื่อมโยงทังหมดระหว่าง ผู้ใช้และเครื่องมือเครื่องจักร อุตสาหกรรม 4.0 การ
ผลิตแห่งอนาคต นโยบายและแนวคิดของแต่ละประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา Smart Manufacturing ยุโรป
Factories of the Future เยอรมัน Industry 4.0 ญี่ปุ่น industry value chain 4.0 เกาหลีใต้ manufacturing
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 20
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
innovation ไต้หวัน Productivities 4.0 ไทย Industry 4.0 ประยุกต์แนวทางของเยอรมัน ยุคของการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม เริ่มตังแต่ อุตสาหกรรม 1.0 (ยุคเครื่องจักรไอน้า ) เจมส์ วัตต์ ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้า นิโคแมน
ให้มีประสิทธิภาพมากขึน และน้า มาปรับใช้กับอุตสาหกรรมการทอผ้าจนสามารถให้ผลผลิตมากขึนกว่าเดิมถึง 3
เท่า นอกจากนีเครื่องจักรไอน้ายังได้ถูกพัฒนาให้เป็นตัวขับเคลื่อนหัวรถจักรไอน้า ที่ช่วยในการขนส่ง และการ
คมนาคม อุตสาหกรรม 2.0 (ยุคสายพาน) เฮนรี่ ฟอร์ด ได้น้าระบบสายพานมาใช้ในโรงงานผลิตรถยนต์ของเขา
จนสามารถผลิตสินค้าออกมาได้ในปริมาณมาก โดยเป็นต้นแบบให้โรงงานอื่น ๆ น้าระบบสายพานมาใช้เช่นกัน
ประกอบกับการเปลี่ยนจากเครื่องจักรระบบไอน้าเป็นระบบไฟฟ้า ท้า ให้ยุคนีสินค้ามีต้นทุนที่ลดลง และถูกผลิต
ออกมาเป็นปริมาณมากแต่จะมีรูปแบบลักษณะเดียวกัน หรือที่เรียกว่า Mass Product อุตสาหกรรม 3.0 (ยุค
อัตโนมัติ) ยุคที่โรงงานน้าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิต แบบอัตโนมัติ ท้าให้ลดต้นทุนจากแรงงานคนลงเป็น
อย่างมากนอกจากนียัง สามารถผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ท้า ให้ต้นทุนของราคาสินค้า ลดลง
อย่างมากเฉลี่ยแล้วราคาจะลดลงครึ่งหนึ่ง หรือคุณภาพและนวัตกรรมใหม่ ๆ จะเพิ่มขึนหนึ่งเท่าตัวในระยะเวลา
เพียงหนึ่งปีครึ่ง อุตสาหกรรม 4.0 (ยุคผสานเทคโนโลยี) จะมีการบูรณาการระหว่างเทคโนโลยีดิจิทัล ร่วมกับ
กระบวนการผลิตหรือสินค้า เช่น การส่งข้อมูลการใช้งานหรือปัญหาที่เกิดจาก การใช้งานให้บริษัทที่ผลิตน้า
ข้อมูลไปใช้ปรับปรุงสินค้าในรุ่นต่อไป การเก็บข้อมูล วิเคราะห์พฤติกรรมและตอบสนองลูกค้ารายบุคคล ซึ่ง
แตกต่างจากอุตสาหกรรม ในยุคก่อน ๆ ที่เน้นผลิตสินค้าชนิดเดียวกันในปริมาณมาก
การเปลี่ยนแปลงและการเชื่อมโยงข้อมูลดิจิทัลหลีกเลี่ยงไม่ได้ สมาร์ตต้องมาเกี่ยวข้องกับดิจิทัล
เพราะฉะนันการเปลี่ยนแปลงสู่การเข้าถึงข้อมูลและผลการตัดสินใจแบบทันเวลาจะเปลี่ยนวิธีการด้าเนินทาง
ธุรกิจ ปัจจุบันธุรกิจไหนก็แล้วแต่ถ้าตัดสินใจช้าอาจจะไม่ทันการณ์ อาจจะอยู่หลังสุดแล้ว การเปลี่ยนแปลงถูก
ด้าเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นวงจรข้อมูลและผลการด้าเนินการร่วมกันระหว่างระหว่างระบบอุปกรณ์และระบบ
ดิจิทัลเชื่อมโยงกัน เรียกว่า Physical to Digital หรือ PDP เชื่อมโยงข้อมูลกัน เช่น สร้างระบบเก็บข้อมูลดิจิตอล
และเก็บข้อมูลจากระบบอุปกรณ์เพื่อสร้างผลบันทึกให้แก่ระบบดิจิตอล ส้าหรับการท้างานระบบเครือข่ายผ่านไป
ยังดิจิตอล การวิเคราะห์และเฝ้าระวังเครื่องจักรสามารถสื่อสารระหว่างกันได้เพื่อแชร์ข้อมูลและระบบการ
วิเคราะห์อัจฉริยะขันสูงเข้ามามีบทบาท แล้วก็การสร้างการเปลี่ยนแปลงเพื่อประมวลผลการตัดสินใจให้ไปสู่การ
ท้างานแบบควบคุมแบบอัตโนมัติ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างทางกายภาพและทางดิจิทัลเอง หรือว่า PDP
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าที่ 21
รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY”
4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
9 เทคโนโลยี ประกอบด้วยกันมี 1. หุ่นยนต์อัตโนมัติ (Autonomous Robots) มาเป็นผู้ช่วยในการผลิต 2.
การสร้างแบบจ้าลอง (Simulation) เช่น การดู google street view จะเหมือนเราไปยืนบนถนนในบริเวณนัน 3.
การบูรณาการระบบต่างๆเข้าด้วยกัน (System Integration) 4. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของสิ่งของ (Internet Of
Things) ที่ท้าให้เป็นอุปกรณ์อัจฉริยะ 5. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Cyber security) 6. การประมวล
และเก็บข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (Cloud Computing) 7. การขึนรูปชินงานด้วยเนือวัสดุ (Additive Manufacturing)
เช่น การขึนรูปชินงานในเครื่องพิมพ์ 3 มิติ 8. เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็น
จริง เข้ากับโลกเสมือนโดยผ่านอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เกมส์โปเกมอน, ทีวี 3 มิติ หรือเครื่องเล่นเกม 3D 9. ข้อมูล
ขนาดใหญ่ (Big data) คือชุมนุมของชุดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อน มีทังการบันทึกและจัดเก็บ การค้นหา
การแบ่งปัน และการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมเรียนรู้ไปกับมันในการพัฒนาหรือปรับปรุง ด้วยระบบอุตสาหกรรม
4.0 เสาหลักเทคโนโลยี 9 ด้านของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเป็นตัวเปลี่ยนระบบการผลิต จากระบบหน่วย
การท้างานที่ดี แต่ละหน่วยงานจะถูกเปลี่ยนเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เกิดเป็นโรงงานเรียกว่า การเป็น Smart Factory
เพื่อให้โรงงานเชื่อมโยงกันทุกมิติภายในโรงงาน เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต
ลูกค้า รวมถึงระหว่างคนและเครื่องจักร
การผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Manufacturing)
การผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Manufacturing) เป็นการรวมเทคโนโลยีหลายอย่างเพื่อช่วยเหลือ
กันในการผลิตโดยใช้ข้อมูลที่เป็นเรียลไทม์ในเรื่องการสั่งสินค้าจากลูกค้าเปรียบเทียบอัตราการผลิตกับการใช้
ระบบซัพพลายเชนเพื่อส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าได้รวดเร็วข้อมูลดังกล่าว จะถูกเชื่อมโยงกับลูกค้า ผู้ขายปัจจัยการ
ผลิต โดยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการตัดสินใจผลิต โดยการผลิตในอุตสาหกรรม 4.0 ต้องเป็นการผลิตที่
ส่งผ่านข้อมูล และแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ ผลิตภัณฑ์ (Products)
กระบวนการ (Processes) การผลิต (Manufacture) โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เชื่อมต่อ
ระหว่างลูกค้า คนงาน เครื่องจักร ฐานข้อมูล และการตัดสินใจ หรือซอฟต์แวร์วางแผนทรัพยากรองค์กร
(Enterprise Resource Planning :ERP) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกระบวนการทางธุรกิจโดยใช้
ข้อมูลร่วมกันผ่านทุกฝ่ายในองค์การ และยังสามารถเชื่อมข้อมูลทังซัพพลายเชน ซึ่งจะเป็นข้อมูลในทางธุรกิจที่มี
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"
รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"

More Related Content

Similar to รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"

Digital transformation 2562
Digital transformation 2562Digital transformation 2562
Digital transformation 2562
Prachyanun Nilsook
 
รายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสรายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสMaxky Thonchan
 
Trends & Technology for education 2561#2
Trends & Technology for education 2561#2Trends & Technology for education 2561#2
Trends & Technology for education 2561#2
Prachyanun Nilsook
 
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
Totsaporn Inthanin
 
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัลการพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
Prachyanun Nilsook
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
Prachyanun Nilsook
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY" (14)

Digital transformation 2562
Digital transformation 2562Digital transformation 2562
Digital transformation 2562
 
รายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสรายวิชา ปวส
รายวิชา ปวส
 
Trends & Technology for education 2561#2
Trends & Technology for education 2561#2Trends & Technology for education 2561#2
Trends & Technology for education 2561#2
 
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
ข้อมูลจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สังกัด สอศ. รวมตั้ง...
 
แบบร่างเขียนรายงานโครงการ
แบบร่างเขียนรายงานโครงการแบบร่างเขียนรายงานโครงการ
แบบร่างเขียนรายงานโครงการ
 
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัลการพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
การพัฒนาระบบจัดการคลังปัญญาแบบวิศวกรรมความรู้ดิจิทัล
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
Mr.APISIT UPAKIT
Mr.APISIT UPAKITMr.APISIT UPAKIT
Mr.APISIT UPAKIT
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
 
Cisco packet tracer_1
Cisco packet tracer_1Cisco packet tracer_1
Cisco packet tracer_1
 
Cisco packet tracer_1
Cisco packet tracer_1Cisco packet tracer_1
Cisco packet tracer_1
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
เทคโนโลยีดิจิทัลแห่งอนาคต#2
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2560
 

รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้ำสมัย "SMART INDUSTRY"

  • 1. อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย "SMART INDUSTRY " จัดทำโดย นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช รำยงำนสรุปสัมมนำวิชำกำรผ่ำนระบบออนไลน์ วิชำสัมมนำทำงเทคโนโลยีอุตสำหกรรม โดยความร่วมมือของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • 2. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 2 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รำยงำนสรุปสัมมนำวิชำกำรผ่ำนระบบออนไลน์ วิชำสัมมนำทำงเทคโนโลยีอุตสำหกรรม เรื่อง อุตสำหกรรมอัจฉริยะลำสมัย " SMART INDUSTRY " วันที่ 4 ธันวำคม 2564 ออนไลน์ผ่ำนระบบ Webex ณ มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช โดยควำมร่วมมือของคณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรมและบัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช ดำเนินโครงกำรโดย นักศึกษำสำขำวิชำเทคโนโลยีอุตสำหกรรม หลักสูตรปรัชญำดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหำบัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช
  • 3. รายงานสรุปการสัมมนาวิชาการ เรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย "SMART INDUSTRY" โดยนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช รายนามที่ปรึกษาเอกสาร: ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานหลักสูตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์ เลขานุการและกรรมการหลักสูตร ดร.วีรพล ปานศรีนวล คณะกรรมการหลักสูตร บรรณาธิการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์หาญพล มิตรวงศ์ กองบรรณาธิการ: นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ นายนิวัต บิลและหมัน นายสันติชัย สุวรรณฤทธิ์ ผู้จัดพิมพ์และเผยแพร่: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อาคาร 18 ห้อง 1811 ม.1 ต.ท่างิว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280 โทร: 075-377439 แฟกซ์: 075-377439 กราฟฟิก: นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ พิมพ์ครังแรก: มกราคม 2565 จ้านวนพิมพ์: 50 เล่ม พิมพ์ที่: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อาคาร 18 ม.1 ต.ท่างิว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280 โทร: 075-377439 แฟกซ์: 075-377439
  • 4. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 4 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สารจากคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ การสัมมนาเชิงวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” เป็นการสัมมนา เพื่อให้ นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาตนสู่นักวิจัยและนักพัฒนาวิชาการที่สูงขึนในสายวิชาอาชีพ เพื่อตอบโจทย์ต่อการพัฒนาการวิจัยและการพัฒนาประเทศ การสัมมนาในครังนีได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาได้พูดคุยถาม - ตอบ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมล้าสมัย ท้าให้เกิดการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างนักศึกษาและผู้เชี่ยวชาญในสายงานที่เกี่ยวข้องทังในสถาบันการศึกษาเดียวกันและระหว่าง สถาบันอื่นอันจะน้าไปสู่การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและผู้ร่วมรับฟังสัมมนาต่อไป กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” ในครังนีจะเป็นอีกก้าวหนึ่งที่จะเปิดโอกาสให้กับอาจารย์ นักศึกษา และตลอดจนผู้สนใจทุกท่าน ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเป็นเครือข่ายการสร้างสรรค์องค์ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และงานวิจัย สามารถ น้าองค์ความรู้ที่ได้จากการรับฟังสัมมนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริงกับสังคม และประเทศชาติในอนาคตสืบไป (ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์) คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • 5. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 5 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สารจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์ โครงการบริการวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย: SMART INDUSTRY” จัดขึนโดยนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป็นโครงการสัมมนาที่มีเป้าหมายหลักในการพัฒนานักเรียน นักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาในระดับการศึกษาขันพืนฐานและระดับอาชีวศึกษา รวมไปถึงผู้ที่สนใจให้มี ความรู้ความเข้าใจในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา โดยกิจกรรมการสัมมนาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องดังกล่าวย่อมส่งผลให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครังนี เกิดความตระหนักและน้าไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาศักยภาพผู้สอนให้ก้าวไปสู่คุณภาพ ในระดับสากลมากขึน บัณฑิตวิทยาลัย ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานกรรมการหลักสูตรปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้รับผิดชอบหลักของ โครงการ ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ สุด สมบูรณ์ และ ดร.วีระพล ปานศรีนวล อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตลอดจน วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่มีส่วนส้าคัญในการด้าเนินการโครงการ ให้ส้าเร็จลุล่วงด้วยดี โดยมีกลุ่มเป้าหมายทังที่เป็นนักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาในพืนที่ให้บริการของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • 6. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 6 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สารจากประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี การจัดท้าโครงการบริการวิชาการ “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” จัดโดยหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความมุ่งเน้นให้ นักศึกษามีประสบการณ์ และประมวลความรู้ที่สอดคล้องกับรายวิชาสัมมนางานวิจัยทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อันช่วยส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้และพัฒนาโจทย์วิจัยทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม งานจัดการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” จึงเป็นโจทย์ที่ส้าคัญสู่การพัฒนา การเรียนรู้ระดับ บัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทยในปัจจุบัน และส่งผลยิ่งต่อการเรียนรู้เส้นทางของนัก การศึกษา นักวิชาการ และนักวิจัย ดังเข็มมุ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ผลเชิงประจักษ์จากการปฏิบัติจริงสู่การเป็นนักคิด นักปฏิบัติ และมีจิตสาธารณะ จากโครงการครังนี จะ ส่งผลระยะยาวและสร้างองค์ความรู้สู่พัฒนาตนของนักศึกษาอย่างยั่งยืน ผลดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือจาก ผู้รู้ บุคคล และหน่วยงานหลายฝ่าย ซึ่งขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงในที่นี ที่ท้าให้โครงการภายใต้ความรับผิดชอบ ของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และบัณฑิต วิทยาลัย ประสพความส้าเร็จด้วยดี สามารถบริการวิชาการสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพ ตามเป้าประสงค์ที่ตังไว้ ขอขอบพระคุณวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากรร่วมสัมมนาวิชาการ นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมทุกคนที่ร่วมมือร่วมใจท้าให้โครงการส้าเร็จสมดังที่หลักสูตรตังใจไว้ทุกประการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี) ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • 7. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 7 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สารบัญ เรื่อง หน้า สารจากผู้บริหาร 4 สารจากคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ 4 สารจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์ 5 สารจากประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี 6 พิธีเปิดงานสัมมนาวิชาการ 8 ค้ากล่าวรายงานโครงการสัมมนาวิชาการ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี 9 ค้ากล่าวเปิดโครงการสัมมนาวิชาการ โดย คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ 11 ค้ากล่าวปิดโครงการสัมมนาวิชาการ โดย ผู้ช่วยคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์ 12 สัมมนาวิชาการเรื่อง อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย " SMART INDUSTRY " 13 หัวข้อ "แนวโน้มเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม" โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย 13 หัวข้อ "ทัศนะและแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีการก่อสร้างและโยธา" โดย รศ.ดร.สราวุธ จริตงาม 26 ประมวลภาพกิจกรรมการจัดสัมมนาวิชาการ 37 ประมวลภาพการเตรียมกิจกรรม 37 ประมวลภาพการจัดกิจกรรมการสัมมนาวิชาการ 46 ภาคผนวก โครงการจัดสัมมนาวิชาการ 55 ก้าหนดการ 62 ค้าสั่งแต่งตังคณะกรรมการ 64
  • 8. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 8 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พิธีเปิดงำนสัมมนำวิชำกำร
  • 9. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 9 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ค้ากล่าวรายงาน เรียน ท่าน ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท่านวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัย เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผู้เข้าร่วมสัมมนา และนักศึกษา ทุกท่าน ผม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธานหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รู้สึกเป็นเกียรติยิ่งที่ท่านให้เกียรติเป็น ประธานในพิธีเปิดและเข้าร่วม กิจกรรมโครงการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรม กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้าน เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” ในวันนี ด้วยหลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ก้าหนดจัดโครงการสัมมนาทาง วิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” วันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม 2564 นี ในรูปแบบ ออนไลน์ โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร นักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นผู้รับผิดชอบ ด้าเนินโครงการ เพื่อสร้างประสบการณ์เรียนรู้ทางวิชาการและสร้างทักษะการจัดกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการ ระดับสูงให้กับบุคลากรทังภายในและภายนอกหลักสูตร สร้างองค์ความรู้ระดับสูงที่ทันสมัย ทันโลก ทันต่อ สถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อีกทังเป็นการบริการวิชาการแก่ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า และผู้สนใจทั่วไป รวมกว่า 300 คน การสัมมนาวิชาการสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมครังนีจะช่วยพัฒนา ความรู้ที่เท่าทันกับสถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของไทยในยุคปัจจุบัน ส่งเสริมบัณฑิตสู่มาตรฐาน วิชาการ วิชาชีพ และคุณวุฒิทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และเผยแพร่ความรู้สู่บุคลากรประจ้าการในท้องถิ่นอัน เป็นหัวใจส้าคัญของการจัดการศึกษาระดับสูงได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิผล
  • 10. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 10 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัดนีได้เวลาอันสมควรแล้ว ขอกราบเรียนเชิญท่านประธานกล่าวเปิดโครงการพัฒนานักศึกษาให้มี คุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท- ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรม อัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” ขอกราบเรียนเชิญครับผม (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี) ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
  • 11. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 11 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ค้ากล่าวเปิดงาน ท่านวิทยากร ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและผู้เข้าร่วมสัมมนาทุก ท่าน กระผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มีโอกาสมาเป็นประธานพิธีเปิด โครงการพัฒนานักศึกษาให้มี คุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรม กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญา โท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย” ในวันนี จากค้ากล่าวรายงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย แก้วดี ประธาน หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท้าให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และความเป็นมาของ การจัดการอบรมฯ ในครังนี ซึ่งเป็นโอกาสอันดี ที่ปัจจุบันบุคลากรทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในระดับท้องถิ่นมี ความส้าคัญยิ่งต่อการพัฒนาท้องถิ่นการพัฒนาและให้ความรู้กับนักศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตเพื่อก้าวสู่การศึกษา ระดับสูงจึงเป็นการสร้างความร่วมมือกันในการพัฒนาจังหวัดและพืนที่โดยรอบของมหาวิทยาลัยผ่านการสัมมนา ทางวิชาการและการจัดประสบการณ์ของนักศึกษาของหลักสูตรท้าให้นักศึกษาเรียนรู้และเข้าสู่กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาวิชาและมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และน้าเอาองค์ความรู้ไป พัฒนาชุมชนต่อไปได้ ขอขอบคุณคณะผู้จัดท้าโครงการนี ท่านวิทยากรที่มาให้ความรู้ และขออวยพรให้เยาวชนและผู้เข้าร่วม สัมมนาในวันนีจงน้าความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ เพื่อใช้แก้ไขปัญหาทางวิชาชีพและจงประสบความสุขความเจริญตลอดไป บัดนีได้เวลาอันสมควรแล้ว ผมขอเปิด โครงการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์บัณฑิต 4 ประการ (โครงการที่ 14) กิจกรรมที่ 12 พัฒนานักศึกษา (ปริญญาโท-ปริญญาเอก เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย” ณ บัดนี (ดร.อภิศันย์ ศิริพันธ์) คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • 12. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 12 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ค้ากล่าวปิดงาน ผม ผศ.ดร.วีระยุทธ์ สุดสมบูรณ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ในนามของคณะท้างานโครงการประชุมสัมมนาวิชาการ ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย: SMART INDUSTRY” รู้สึกเป็นเกียรติและ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่กรุณาให้เกียรติรับเชิญมาเป็นประธานในพิธีปิดโครงการในครังนี โครงการที่จัดขึน สามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้ทางวิชาการและสร้างทักษะการจัดกิจกรรมสัมมนา ทางวิชาการระดับสูงให้กับบุคลากรทังภายในและภายนอกหลักสูตรหลักสูตร อีกทังผู้ร่วมรับฟังสามารถน้าองค์ ความรู้ที่ทันสมัย ทันโลก ทันต่อสถานการณ์ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไปประยุกต์ใช้ในอนาคตได้ ในการนีโครงการดังกล่าวได้รับเกียรติจากท่านวิทยากร รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย และ รศ.ดร.สราวุธ จริตงาม ให้เกียรติมาบรรยายความรู้ให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนา กระผมในนามตัวแทนของคณะท้างานและผู้เข้าร่วม รับฟังสัมมนาในครังนี ขอขอบพระคุณท่านวิทยากรทัง 2 ท่าน เป็นอย่างสูง ที่ท่านได้ให้เกียรติมาบรรยายในหัวข้อ อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY กระผมและผู้เข้าร่วมรับฟังทุกคนจะขอน้าความรู้ ที่ได้รับใน วันนี ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพต่อไป ขณะนีได้เวลาอันเหมาะสมในการจัดโครงการในครังนี ผมขอปิดการสัมมนาเรื่องอุตสาหกรรมอัจฉริยะ ล้าสมัย : SMART INDUSTRY ณ บัดนี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ สุดสมบูรณ์) ผู้ช่วยคณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • 13. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 13 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บทสรุปสัมมนำวิชำกำร "แนวโน้มเทคโนโลยีและกำรจัดกำรอุตสำหกรรม" โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย
  • 14. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 14 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บทสรุปสัมมนาวิชาการ "แนวโน้มเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม" โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล Smart คือยุคที่เปลี่ยนผ่านเป็นยุคดิจิทัล ซึ่งในปัจจุบันโลกได้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล ส่งผลให้ดิจิทัล เข้ามามีบทบาทมากขึนในชีวิตประจ้าวันของประชากรโลก หากไม่ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต หรือพัฒนาการประกอบ ธุรกิจให้เข้ากับยุคสมัย ก็จะได้รับผลกระทบอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งมีตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง ของโลกที่เข้าสู่ยุคดิจิทัล ดังนี 1. แอปพลิเคชัน หากกล่าวถึง แอปพลิเคชัน จะเห็นได้ว่าแอปพลิเคชันเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ้าวันเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ เช่น แอปพลิเคชันการให้ความช่วยเหลือจากรัฐบาล แอปพลิเคชันการ ซือขายสินค้าออนไลน์ และแอปพลิเคชันเพื่อการบริการและท่องเที่ยว ซึ่งรัฐบาลไทยพยายามใช้สมาร์ตเพื่อให้ ประชาชนได้รับการช่วยเหลือ เข้าถึงข้อมูลของโครงการต่าง ๆ โดยใช้ดิจิทัล เช่น โครงการคนละครึ่ง โครงการยิ่ง ใช้ยิ่งได้ โครงการเราเที่ยวด้วยกัน เป็นต้น โครงการ ดังกล่าว เป็นระบบการช่วยเหลือของรัฐบาล ซึ่งประชาชน ชาวไทยสามารถเข้าใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” อยู่ในสมาร์ตโฟน เท่านัน ท้าให้วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป และเข้าถึงดิจิทัลได้มากยิ่งขึน ในอดีตการซือขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับบุคคลที่ไม่รู้จักหรือไม่พบเจอกัน ถือเป็นเรื่องไม่ปกติ เพราะ กลัวการหลอกลวง แต่ในปัจจุบันกลับมีแอปพลิเคชันการซือขายผ่านระบบออนไลน์โดยที่ผู้ซือและผู้ขายไม่พบเจอ กัน เช่น แอปพลิเคชัน lazada และ shopee เป็นต้น อีกทังยังมีที่แอปพลิเคชันให้บริการรถสาธารณะ ผ่านแอป พลิเคชัน Grab การจองที่พักเพื่อการท่องเที่ยวหรือธุรกิจโดยใช้แอปพลิเคชัน Airbnb ซึ่งแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่
  • 15. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 15 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กล่าวมานี ท้าให้ผู้ใช้มีความสะดวกสบายขึนสามารถดูความน่าเชื่อถือได้จากรีวิวและการบริการผ่านระดับ คะแนนท้าให้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสังคมยุคนี ยุคดิสรัปเตอร์ (Disruptor) การปรับเปลี่ยน แอปพลิเคชันต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ้าวัน เช่น Netflix เป็นแอปพลิเคชัน ให้บริการภาพยนตร์ ละคร ซีรีย์ต่าง ๆ สามารถซือรายการที่สนใจได้ ผ่านแอป พลิเคชันเหล่านี และแอพพลิเคชั่นพืนฐาน เช่น Facebook Tik tok เข้ามาเปลี่ยนชีวิตของมนุษย์ หรือจากการ เปลี่ยนระบบสมาร์ตต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น รถยนต์ไร้คนขับเป็น smart transportation เป็นรถยนต์ไร้คนขับซึ่งใน ประเทศจีนถือว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ต่อไปในอนาคตอาจจะได้รับความนิยมในประเทศไทยด้วยเช่นกัน 2. กล้องถ่ายรูปและโทรศัพท์มือถือ กล้องถ่ายรูปมีการพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย ในอดีตนิยมใช้กล้องฟิล์ม ซึ่งฟิล์ม ที่ได้รับความนิยมและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก คือ โกดัก แต่ปัจจุบันเมื่อมีการพัฒนาเป็นกล้องดิจิทัลท้าให้กล้อง ฟิล์มได้รับความนิยมลดน้อยลง แม้ว่าฟิล์มโกดักจะเป็นผู้ผลิตอุปกรณ์และเคมีภัณฑ์ของกล้องเป็นรายแรก ๆ ของ โลก แต่หากไม่พัฒนาตามความเปลี่ยนแปลงของโลกในแต่ละยุคสมัยก็ไม่สามารถด้าเนินธุรกิจต่อไปได้ ในยุคที่มี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อนที่จะเข้าสู่ยุคปัจจุบัน โทรศัพท์มือถือที่ได้รับความนิยมจะมีการป้อนข้อมูลโดย การกดปุ่ม เช่น โทรศัพท์มือถือรุ่น Nokia 3310 ปัจจุบันเมื่อมีการพัฒนาเป็นสมาร์ตโฟน โทรศัพท์มือถือจาก บริษัทที่เคยได้รับความนิยมในอดีต ก็ไม่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน 3. การปรับเปลี่ยนการให้บริการธนาคาร และการยุบรวมบริษัท ความเปลี่ยนแปลงของธุรกิจเกิดขึนอย่างรวดเร็ว ธุรกิจที่เห็นได้ชัด คือ ธนาคาร เมื่อพฤติกรรมของ ลูกค้าหรือผู้ใช้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อยุคดิจิทัลเข้ามา ธนาคารต่าง ๆ ก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน ท้าให้มีการลดสาขา ลง และให้ลูกค้าใช้บริการผ่านการสมัครแอปพลิเคชันผ่านทางสมาร์ตโฟนแทน โดยลูกค้าสามารถท้าธุรกรรม ทางการเงินได้ทุกที่ทุกเวลา การเปลี่ยนแปลงของธนาคาร เช่น การลดสาขาธนาคารกสิกรไทยซึ่งลดลง 73 สาขา ธนาคารไทยพาณิชย์ลดลง 60 สาขา ธนาคารธนชาติลดลง 14 สาขา แต่ปัจจุบัน ธนาคารแต่ละแห่งพยายาม สร้างแอปพลิเคชันขึนมา เพื่อที่จะท้าธุรกรรมทางการเงินโดยไม่ต้องเดืนทางไปธนาคาร และมีการยุบรวม ธนาคารทหารไทยกับธนาคารธนชาติ นอกจากธนาคารที่ได้รับผลกระทบแล้ว บริษัทที่เปิดให้บริการสัญญาณ โทรศัพท์มือถือบริษัท True และ Dtac ร่วมมือกัน เพื่อต้องการที่จะด้าเนินธุรกิจให้มีศักยภาพสูงขึนและสามารถ แข่งขันกบบริษัทอื่นได้ วารสารในประเทศไทย เช่น สกุลไทย สยามรัฐ ขวัญเรือน ที่เคยได้รับความนิยมในยุคสมัย ที่ผ่านมา ปัจจุบันได้ปิดกิจการลง หรือแม้กระทั่งเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บไฟล์ข้อมูลวิดีโอต่าง ๆ อุตสาหกรรม มีเดียก็จะเปลี่ยนไป ปัจจุบันเด็กรุ่นใหม่ไม่นิยมสื่อที่กล่าวมา แต่จะใช้สมาร์ตเพียงอย่างเดียว เสมือนว่าสมาร์ต โฟนเป็นปัจจัยที่ส้าคัญอีกอย่างหนึ่งในชีวิตปัจจุบัน เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital literacy) เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital literacy) คือ ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการน้าเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และ การท้างานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการท้างาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี
  • 16. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 16 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประสิทธิภาพ ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ 1. การใช้ (Use) 2. เข้าใจ (Understand) 3.การสร้าง (create) 4.เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคโนโลยี 5G หรือในอนาคตพัฒนา เป็นเทคโนโลยี 6G สอดรับกับการพัฒนาของโลกดิจิทัลของการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ตามนโยบาย Thailand 4.0 Digital Literacy ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทัง 9 ด้าน ได้แก่ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ 2. การใช้อินเตอร์เน็ต 3. การใช้งานเพื่อความมั่นคง 4. การใช้โปรแกรมประมวลค้า 5. การใช้โปรแกรมตารางค้านวณ 6. การใช้โปรแกรมน้าเสนองาน 7. การสร้างสื่อดิจิทัล 8. การท้างานร่วมกันแบบออนไลน์ 9. การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย ลักษณะของทักษะการใช้ดิจิทัล หลักสูตรต่าง ๆ เป็นหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐานหรือหลักสูตร ทางด้านมัธยมศึกษา ถ่ายทอดเพื่อให้เด็กยุคใหม่ได้เข้าใจติดตามและด้าเนินการให้สอดรับกับการพัฒนาของโลก ดิจิทัลของการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ตามนโยบาย Thailand 4.0 Digital Thailand 1. ความหมายของ Digital Thailand Digital Thailand หมายถึง ประเทศไทยที่สามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดิจิทัล อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์และทรัพยากรอื่นใด เพื่อ ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ประชาชนทุกคนสามารถ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง อันถือเป็นสาธารณูปโภคพืนฐานประเภทหนึ่งจากการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ
  • 17. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 17 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และบริการสาธารณะเพื่อคุณภาพของประชาชนดีขึน โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางสังคม จะต้องเข้าถึงเทคโนโลยี ดิจิทัลและสื่อดิจิทัลอย่างเท่าเทียมกัน 2. ภูมิทัศน์ดิจิ ิทัล ภูมิทัศน์ดิจิ ิทัลของประเทศไทยในระยะเวลา 20 ปี ระยะที่ 1 Digital Foundation (1 ปี 6 เดือน) เป็นระยะที่ประเทศไทยมุ่งลงทุนและสร้างฐานรากใน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ในภายหลัง ขับเคลื่อนแผนฯอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านโครงการขับเคลื่อนเร่งด่วน นอกจากนียังผลักดันชุดกฎหมายที่ครอบคลุม และปฏิรูปองค์กรในการขับเคลื่อน งาน ระยะที่ 2 Digital Thailand I: Inclusion (5 ปี) เป็นระยะที่ประเทศไทยก้าวย่างเข้าสู่การเป็นดิจิทัลไทย แลนด์ที่ท้าให้ทุกภาคส่วนของประเทศสามารถเข้าถึง มีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ สังคม มุ่งเน้น Inclusive Growth, Inclusive Development ระยะที่ 3 Digital Thailand II: Full Transformation (10 ปี) ประเทศไทยก้าวไปสู่การเป็นดิจิทัลไทย แลนด์ที่ขับเคลื่อน และใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ ระยะที่ 4 Global Digital Leadership ( 20 ปี) เป้าหมายของการพัฒนาระยะยาวเป็นไปอย่าง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีที่มุ่งให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่พัฒนาแล้ว (รายได้ข้ามผ่านกับดักรายได้ปาน กลาง) ที่สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างมูลค่าในทางเศรษฐกิจ คุณค่าทางสังคมอย่างยั่งยืน 3. พฤติกรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย Dtac กับ M Thai ได้ด้าเนินการส้ารวจ 5 พฤติกรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย ในชื่อ “สุดยอด พฤติกรรมน่าหงุดหงิดในการใช้อินเทอร์เน็ต” พบว่า พฤติกรรมที่น่าหงุดหงิด 5 ล้าดับของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคือ 1) การใช้ค้าพูดหยาบคาย 43% (2) การแพร่กระจายข่าวลือที่เป็นเท็จ 40% (3) การส่งค้าเชิญชวนเล่นเกมออนไลน์ 32% (4) การโพสต์ข้อความก่อกวนเพื่อยั่วยุ 28% และ (5) การเผยแพร่เนือหาที่ไม่เหมาะสม 20% ส่วน 3 พฤติกรรมยอดฮิตของคนไทยบนโลกออนไลน์ ได้แก่ 1. โพสต์รูปภาพอาหาร 2. บ่น 3. แชร์รูปภาพ การสะกด ค้าผิดและการใช้ค้าผิดหลักไวยากรณ์
  • 18. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 18 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมสมาร์ตอินดัสตรี 4.0 ยุคเทคโนโลยีหรือว่าใช้สมาร์ตต่าง ๆ การหาช่องทางออนไลน์ เช่น การขายประสบการณ์ทางด้านใช้ยู ทูบ หรือ การขายทักษะในเรื่องร้องเพลง รวมถึงการขายความรู้หรือคอร์ทเรียนต่าง ๆ มีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ต สามารถลงทะเบียนเพื่อเข้าศึกษาหาความรู้ในเรื่องที่สนใจตามความต้องการ หรือ บริษัท หน่วยงานต่าง ๆ ที่มี องค์ความรู้สามารถสร้างเนือหารายการ ให้ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนศึกษาด้วยตนเอง ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของโลก หลากหลายธุรกิจหรือมนุษย์ในแต่ละช่วงพยายามหาวิธีการปรับตัว เช่น การขายทักษะหรือขายคอนเทนต์ต่าง ๆ ผ่านสมาร์ต ยุคเทคโนโลยีดิจิทัลทุกที่ทุกเวลา ธุรกิจต่าง ๆพยายาม สร้างแบรนด์โลโก้เพื่อการขายหรือการจดจ้าของผู้คน บ่งบอกรายละเอียดของธุรกิจ และพยายามสร้างแอป พลิเคชันเพื่อรองรับเทคโนโลยีดิจิทัล เพราะในโลกปัจจุบันผู้ซือกับผู้ขายไม่จ้าเป็นพบเจอกันเหมือนอย่างในอดีต ในปัจจุบันไม่จ้าเป็นต้องไปเลือกซือของหน้าร้าน สามารถเลือกซือออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันหรือแบรนด์โลโก้ เพื่อต้องการให้ลูกค้าเข้าใจและเห็น สามารถน้าแบรนด์โลโก้ของบริษัทหรือห้างร้านไปใช้ประโยชน์ ซึ่งที่กล่าวมา ทังหมด คือ การเข้าสู่ Thailand 4.0 อุตสาหกรรมสมาร์ตอินดัสตรี 4.0 เข้ามาบทบาทชีวิตประจ้าวันทุกเรื่อง เช่น แม่ค้าในตลาดมีสมาร์ต โฟน การซือขายผ่านแอปพลิเคชั่น เป๋าตัง หรือการเข้าอินเตอร์เน็ตของต้าบล หมู่บ้าน ในพืนที่ห่างไกล ส่วนของ อุตสาหกรรม 4.0 หรือ Industry 4.0 และ ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยน เศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ซึ่งกว่าจะมาเป็น ประเทศไทย 4.0 ต้องผ่านประเทศ ไทย 1.0 2.0 และ 3.0 มาก่อน ประเทศไทย 1.0 ยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลียงหมู เป็ด ไก่ น้าผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ ประเทศไทย 2.0 ยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนีเรามีเครื่องมือเข้ามา ช่วย เราผลิตเสือผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากขึน ประเทศ ไทย 3.0 หรือยุคปัจจุบัน ยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่งออก ในช่วงแรกประเทศไทย 3.0 เติบโต อย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงเพียงร้อยละ 3 - 4 ต่อปีเท่านัน ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปาน กลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการแข่งขันที่สูงขึน เราจึงต้องเปลี่ยนสู่ยุค ประเทศไทย 4.0 เพื่อให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง กลุ่มอุตสาหกรรมที่พัฒนาประเทศ 4.0 หรือ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เพื่ออนาคตตาม มติ คณะรัฐมนตรี พศ.2558 ได้แก่ 5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) ประกอบด้วย 1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive) 2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) 3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) 4)การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5) อุตสาหกรรมการแปรรูป อาหาร (Food for the Future)
  • 19. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 19 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 5) อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) - หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (ROBOTICS) - อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (AVIATION AND LOGISTICS) - อุตสาหกรรมดิจิทัล (DIGITAL) - อุตสาหกรรมเชือเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (BIOFUELS AND BIOCHEMICALS) - อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (MEDICAL HUB) การพัฒนาการพัฒนาบุคลากรตามประเทศไทย 4.0 เพื่อให้สามารถแข่งขันระดับชาติได้ การผลิตสินค้า ที่มีตราของชาติมีส่วนส้าคัญมาก นั่นคือต้องมีการวางแผนด้านก้าลังคนของชาติ โดยจัดการรวมคนที่มี ความสามารถรายสาขา พร้อมกับการใช้คนงานที่มีความสามารถ เพื่อป้อนเข้าสู่ตลาดคนที่มีความสามารถโดยมี การอบรมพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ มีสวัสดิการและมีการป้องกันการลาออกของพนักงานเพื่อให้สามารถ ผลิตสินค้าและบริการได้อย่างมีคุณภาพ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในประเทศไทย 4.0 ต้องหมั่นเรียนรู้โดย การวางมาตรฐาน และท้างานตามหน้าที่ เพื่อท้าให้มีเอกลักษณ์ และใช้ความรักในการท้างาน ส่วนเรียนรู้การ สร้าง ต้องเรียนบนฐานความเป็นจริง เรียนรู้เพิ่มเติม พร้อมกับมีการสื่อสารกับทุกคนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไป ตามแนวคิด เรียนรู้การใช้งาน สามารถแนะน้าให้ค้าปรึกษาได้ การเรียนรู้การเอาใจใส่ต้องมีการสร้างนิสัยของ การเรียนรู้ในแต่ละคน โดยมีมาตรการจูงใจให้เกิดการเรียนรู้เพื่อการสร้างความร่วมมือ และมีการจูงใจให้แบ่งปัน ความรู้กัน และสุดท้ายคือการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ซึ่งต้องมีการจดบันทึกและเสร็จสินตามผลลัพธ์ต้องมีการสร้าง การยอมรับ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในทฤษฎีที่ปฏิบัติ ผ่านการท้างานตามงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ และ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และสุดท้ายเมื่อบรรลุความส้าเร็จที่ตังไว้ควรจะประกาศแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ Thailand 4.0 รัฐบาลประกาศ Thailand 4.0 ที่มาจาก (Smart Industry Smart City Smart People) เกิดประสิทธิภาพ การใช้งาน อุตสาหกรรม 4.0 หรือ Industry 4.0 นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของประเทศเยอรมัน ประกาศเมื่อ ปี ค.ศ. 2013 แนวคิด โลกจะเข้าสู่ช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครังที่ 4 ภายใน 20 ปีข้างหน้า ประเทศเยอรมันผู้น้า ทางด้านอุตสาหกรรมจึงประกาศนโยบาย เข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 เปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม 4.0 เริ่มตังแต่ ยุค อุตสาหกรรม 1.0 ตังแต่ปี 1782 การใช้เครื่องจักรไอน้า power generator ยุคอุตสาหกรรม 2.0 ระบบสายพาน conveyor อุตสาหกรรม 3.0 คอมพิวเตอร์ระบบ NC หรือ PLC นับว่าอุตสาหกรรมพัฒนาขึนมา จนถึงปัจจุบันยุค Cyber Physical System การเชื่อมโยงระบบ Smart เข้าด้วยกันทังหมด คอมพิวเตอร์ เครื่องจักร คน ระบบ Automation เปลี่ยนเป็น Smart Automation การพัฒนาอุตสาหกรรมแถบเอเชีย ประเทศจีนเป็นประเทศ อุตสาหกรรมอันดับต้นแถบเอเชีย เป็นพันธมิตรกับประเทศไทย ประเทศจีนประกาศ ปี 2025 Made in china สินค้าไฮเทคชันน้าโลก ไม่ใช่สินค้าคุณภาพราคาต่้าราคาถูกที่เคยติดตาผู้คนทั่วโลกในอดีต อุตสาหกรรม 4.0 ประเทศจีนว่าพบมีการพัฒนาแนวทางเดียวกัน ตังแต่เริ่มต้นของอุตสาหกรรม 1.0 2.0 3.0 และสุดท้าย 4.0 เป็น smart and connected device การเชื่อมโยงทังหมดระหว่าง ผู้ใช้และเครื่องมือเครื่องจักร อุตสาหกรรม 4.0 การ ผลิตแห่งอนาคต นโยบายและแนวคิดของแต่ละประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา Smart Manufacturing ยุโรป Factories of the Future เยอรมัน Industry 4.0 ญี่ปุ่น industry value chain 4.0 เกาหลีใต้ manufacturing
  • 20. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 20 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม innovation ไต้หวัน Productivities 4.0 ไทย Industry 4.0 ประยุกต์แนวทางของเยอรมัน ยุคของการปฏิวัติ อุตสาหกรรม เริ่มตังแต่ อุตสาหกรรม 1.0 (ยุคเครื่องจักรไอน้า ) เจมส์ วัตต์ ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้า นิโคแมน ให้มีประสิทธิภาพมากขึน และน้า มาปรับใช้กับอุตสาหกรรมการทอผ้าจนสามารถให้ผลผลิตมากขึนกว่าเดิมถึง 3 เท่า นอกจากนีเครื่องจักรไอน้ายังได้ถูกพัฒนาให้เป็นตัวขับเคลื่อนหัวรถจักรไอน้า ที่ช่วยในการขนส่ง และการ คมนาคม อุตสาหกรรม 2.0 (ยุคสายพาน) เฮนรี่ ฟอร์ด ได้น้าระบบสายพานมาใช้ในโรงงานผลิตรถยนต์ของเขา จนสามารถผลิตสินค้าออกมาได้ในปริมาณมาก โดยเป็นต้นแบบให้โรงงานอื่น ๆ น้าระบบสายพานมาใช้เช่นกัน ประกอบกับการเปลี่ยนจากเครื่องจักรระบบไอน้าเป็นระบบไฟฟ้า ท้า ให้ยุคนีสินค้ามีต้นทุนที่ลดลง และถูกผลิต ออกมาเป็นปริมาณมากแต่จะมีรูปแบบลักษณะเดียวกัน หรือที่เรียกว่า Mass Product อุตสาหกรรม 3.0 (ยุค อัตโนมัติ) ยุคที่โรงงานน้าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิต แบบอัตโนมัติ ท้าให้ลดต้นทุนจากแรงงานคนลงเป็น อย่างมากนอกจากนียัง สามารถผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ท้า ให้ต้นทุนของราคาสินค้า ลดลง อย่างมากเฉลี่ยแล้วราคาจะลดลงครึ่งหนึ่ง หรือคุณภาพและนวัตกรรมใหม่ ๆ จะเพิ่มขึนหนึ่งเท่าตัวในระยะเวลา เพียงหนึ่งปีครึ่ง อุตสาหกรรม 4.0 (ยุคผสานเทคโนโลยี) จะมีการบูรณาการระหว่างเทคโนโลยีดิจิทัล ร่วมกับ กระบวนการผลิตหรือสินค้า เช่น การส่งข้อมูลการใช้งานหรือปัญหาที่เกิดจาก การใช้งานให้บริษัทที่ผลิตน้า ข้อมูลไปใช้ปรับปรุงสินค้าในรุ่นต่อไป การเก็บข้อมูล วิเคราะห์พฤติกรรมและตอบสนองลูกค้ารายบุคคล ซึ่ง แตกต่างจากอุตสาหกรรม ในยุคก่อน ๆ ที่เน้นผลิตสินค้าชนิดเดียวกันในปริมาณมาก การเปลี่ยนแปลงและการเชื่อมโยงข้อมูลดิจิทัลหลีกเลี่ยงไม่ได้ สมาร์ตต้องมาเกี่ยวข้องกับดิจิทัล เพราะฉะนันการเปลี่ยนแปลงสู่การเข้าถึงข้อมูลและผลการตัดสินใจแบบทันเวลาจะเปลี่ยนวิธีการด้าเนินทาง ธุรกิจ ปัจจุบันธุรกิจไหนก็แล้วแต่ถ้าตัดสินใจช้าอาจจะไม่ทันการณ์ อาจจะอยู่หลังสุดแล้ว การเปลี่ยนแปลงถูก ด้าเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นวงจรข้อมูลและผลการด้าเนินการร่วมกันระหว่างระหว่างระบบอุปกรณ์และระบบ ดิจิทัลเชื่อมโยงกัน เรียกว่า Physical to Digital หรือ PDP เชื่อมโยงข้อมูลกัน เช่น สร้างระบบเก็บข้อมูลดิจิตอล และเก็บข้อมูลจากระบบอุปกรณ์เพื่อสร้างผลบันทึกให้แก่ระบบดิจิตอล ส้าหรับการท้างานระบบเครือข่ายผ่านไป ยังดิจิตอล การวิเคราะห์และเฝ้าระวังเครื่องจักรสามารถสื่อสารระหว่างกันได้เพื่อแชร์ข้อมูลและระบบการ วิเคราะห์อัจฉริยะขันสูงเข้ามามีบทบาท แล้วก็การสร้างการเปลี่ยนแปลงเพื่อประมวลผลการตัดสินใจให้ไปสู่การ ท้างานแบบควบคุมแบบอัตโนมัติ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างทางกายภาพและทางดิจิทัลเอง หรือว่า PDP
  • 21. ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ 21 รายงานการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อุตสาหกรรมอัจฉริยะล้าสมัย : SMART INDUSTRY” 4 ธันวาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 9 เทคโนโลยี ประกอบด้วยกันมี 1. หุ่นยนต์อัตโนมัติ (Autonomous Robots) มาเป็นผู้ช่วยในการผลิต 2. การสร้างแบบจ้าลอง (Simulation) เช่น การดู google street view จะเหมือนเราไปยืนบนถนนในบริเวณนัน 3. การบูรณาการระบบต่างๆเข้าด้วยกัน (System Integration) 4. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของสิ่งของ (Internet Of Things) ที่ท้าให้เป็นอุปกรณ์อัจฉริยะ 5. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Cyber security) 6. การประมวล และเก็บข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (Cloud Computing) 7. การขึนรูปชินงานด้วยเนือวัสดุ (Additive Manufacturing) เช่น การขึนรูปชินงานในเครื่องพิมพ์ 3 มิติ 8. เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็น จริง เข้ากับโลกเสมือนโดยผ่านอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เกมส์โปเกมอน, ทีวี 3 มิติ หรือเครื่องเล่นเกม 3D 9. ข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big data) คือชุมนุมของชุดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อน มีทังการบันทึกและจัดเก็บ การค้นหา การแบ่งปัน และการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมเรียนรู้ไปกับมันในการพัฒนาหรือปรับปรุง ด้วยระบบอุตสาหกรรม 4.0 เสาหลักเทคโนโลยี 9 ด้านของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเป็นตัวเปลี่ยนระบบการผลิต จากระบบหน่วย การท้างานที่ดี แต่ละหน่วยงานจะถูกเปลี่ยนเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เกิดเป็นโรงงานเรียกว่า การเป็น Smart Factory เพื่อให้โรงงานเชื่อมโยงกันทุกมิติภายในโรงงาน เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ลูกค้า รวมถึงระหว่างคนและเครื่องจักร การผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Manufacturing) การผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Manufacturing) เป็นการรวมเทคโนโลยีหลายอย่างเพื่อช่วยเหลือ กันในการผลิตโดยใช้ข้อมูลที่เป็นเรียลไทม์ในเรื่องการสั่งสินค้าจากลูกค้าเปรียบเทียบอัตราการผลิตกับการใช้ ระบบซัพพลายเชนเพื่อส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าได้รวดเร็วข้อมูลดังกล่าว จะถูกเชื่อมโยงกับลูกค้า ผู้ขายปัจจัยการ ผลิต โดยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการตัดสินใจผลิต โดยการผลิตในอุตสาหกรรม 4.0 ต้องเป็นการผลิตที่ ส่งผ่านข้อมูล และแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ ผลิตภัณฑ์ (Products) กระบวนการ (Processes) การผลิต (Manufacture) โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เชื่อมต่อ ระหว่างลูกค้า คนงาน เครื่องจักร ฐานข้อมูล และการตัดสินใจ หรือซอฟต์แวร์วางแผนทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning :ERP) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกระบวนการทางธุรกิจโดยใช้ ข้อมูลร่วมกันผ่านทุกฝ่ายในองค์การ และยังสามารถเชื่อมข้อมูลทังซัพพลายเชน ซึ่งจะเป็นข้อมูลในทางธุรกิจที่มี