SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
MYANM
AR
The republic of the union of Myanmar
ธงชาติเมียรม่าร์
ตราสัญญาลักษณ์ของประเทศ
เมียรม่าร์
ภูมิหลังของ
พม่าสาธารณรัฐสหภาพเมียนม่าร์หรือ "พม่า"
(เดิมในภาษาอังกฤษเรียกชาวพม่าว่า
Bamar หรือ บาหม่า)
นับเป็นมหาอำานาจแห่ง"อุษาคเนย์“
อุษาคเนย์มีอาณาเขตตั้งแต่พม่าไปจน
จรดฟิลิปปินส์และจากเวียดนามไป
จรดอินโดนีเซีย
ยุคล่าอาณานิคม
อังกฤษ อังกฤษซึ่งเป็นมหาอำานาจทางทะเลในยุคนั้นได้
เข้าครอบครองพม่าในฐานะประเทศอาณานิคมและ
เล็งเห็นว่าพม่านั้นเป็นจุดยุทธศาสตร์สำาคัญทางการ
ค้าเช่นเดียวกับอินเดียจึงได้ตั้งเมืองย่างกุ้ง (Yongon
หรือ Rangoon) เป็นเมืองหลวง
สงครามโลกครั้งที่สองนี้เอง ที่กองทัพพม่า
หรือ "ทัดมาดอ" หรือ “ตั้ดมาดอ”
(Tatmadaw) ได้ถือกำาเนิดขึ้นบนผืนแผ่น
ดินไทยโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อ
 ร่วมกับกองทัพญี่ปุ่นในช่วง
สงครามโลกครั้งที่สอง ที่กำาลัง
รุกข้ามพรมแดนจาก
ประเทศไทยเข้าไปในพม่า
ทำาการต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม
อังกฤษที่กดขี่ข่มเหงชาวพม่า
มาตลอดระยะเวลาแห่งการ
 ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองพม่าก็กลาย
เป็นสมรภูมิสำาคัญที่ใช้เป็นการรบขั้นแตกหัก
ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรที่เคลื่อนทัพมาจาก
อินเดียและจักรวรรดิญี่ปุ่น
ภายหลังความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่นในสงครามโลก
ครั้งที่สองแล้ว นายพล ออง ซาน ก็เจรจากับอังกฤษ
เพื่อขอแยกตัวเป็นเอกราช ส่วนชนกลุ่มน้อย
มากมายหลายชาติพันธ์ที่เคยรวมอยู่กับพม่าในยุค
อาณานิคมก็ปฏิเสธที่จะรวมเป็นแผ่นดินเดียวกับ
พม่า โดยเฉพาะชนเผ่ากระเหรี่ยง (Karen)
พม่าก็ได้รับเอกราชจากอังกฤษเมื่อวันที่ 4
มกราคม ค.ศ.1948 (พ.ศ.2491)นับตั้งแต่ได้
เอกราชเป็นต้นมากองทัพพม่าถือเป็นองค์กร
สำาคัญที่สุดและเป็นหลักในการปกครอง
ประเทศพม่ามาตลอด
เมื่อวันที่ 8 เดือน 8 (สิงหาคม)
ปี ค.ศ.1988
นับเป็นเหตุการณ์ที่ส่งผลให้พม่าตก
เป็นเป้าสายตาของสังคมโลก ทั้งนี้
นักศึกษาและประชาชนจำานวนมากได้
ถูกรัฐบาลทหารของพม่าปราบปราม
อย่างรุนแรง มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต
จำานวนมาก ส่งผลให้มีผู้ลี้ภัยหนีข้าม
พรมแดนเข้ามายังประเทศไทยเป็น
จำานวนมาก
การจลาจลในครั้งนี้มีผลอย่างมากต่อการ
ตัดสินใจย้ายเมืองหลวงจากนครย่างกุ้งไปสู่
กรุง"เนปีดอว์" (Naypyidaw)
ทำาไมถึงเปลี่ยนจากย่างกุ้งเป็น
เนปิดอว์ (Naypyidaw)
เมืองของนครย่างกุ้งนั้นไม่มีความเหมาะสมใน
การต่อสู้กับฝูงชน (MOB) ที่เคลื่อนตัวไปตามท้อง
ถนน ศูนย์กลางทางทหารตลอดจนหน่วยทหาร
ต่างๆ เช่น กระทรวงกลาโหมก็ถูกฝูงชนปิดล้อม
ทางเข้าออก อย่างแน่นขนัดในขณะเดียวกัน
ประชาชนทั่วไปก็มีพื้นที่ชุมนุมหรือรวมพลอยู่ใกล้
กับสถานที่ราชการเป็นผลให้มีความสุมเสี่ยงต่อ
การจารกรรมข้อมูล
 อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้รัฐบาลทหาร
ของพม่าเกิดแนวคิดที่จะย้ายเมือง
หลวงก็คือ นายพลซอ หม่องได้เปิด
เผยถึงการปรากฏตัวของเรือบรรทุก
เครื่องบินสหรัฐและเรือรบอีก 4 ลำาที่
อ่าวเมาะตะมะ ทำาให้มีการประเมินว่า
นครย่างกุ้งนั้นอยู่ในภูมิประเทศที่ล่อ
แหลมต่อการยึดครองจากศัตรู
ภายนอก
ภายหลังจากการจลาจล 8/8/88 ในวันที่ 18
กันยายน ค.ศ.1988 กองทัพพม่าภายใต้การนำาของ
พลเอกอาวุโส "ซอหม่อง" (Saw Maung) ได้เข้า
ควบคุมการบริหารประเทศอย่างเต็มรูปแบบ มีการ
จัดตั้ง "สภาฟื้นฟูกฏหมายและระเบียบแห่งรัฐ" หรือ
"สลอร์ก"(SLORC : State Law and Order
Restoration Council) ทำาการยกเลิกรัฐธรรมนูญ
ฉบับปีค.ศ.1974
จนกระทั่งประเทศซาอุดิอารเบียได้เรียกร้อง
ให้สหประชาชาติส่งกำาลังทหารไปล้มล้าง
รัฐบาลเผด็จการของพม่า เนื่องจากชาวมุสลิม
โรฮิงยาในรัฐยะไข่หรือรัฐอารากันถูกกดขี่
ข่มเหงจากรัฐบาลอย่างไร้มนุษยธรรม
นอกจากนี้พม่ายังถูกกล่าวหาว่ามีการเกณฑ์
เด็กและเยาวชนอายุตำ่ากว่า 18ปี
ในปีค.ศ.1997 พม่าก้าวเข้าสู่ความเป็นสมาชิก
ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียง
ใต้หรืออาเซียน (ASEAN: Assosiation of South
East Asian Nations) รัฐบาลทหารของพม่าได้
ประกาศยกเลิกสภาฟื้นฟูกฏหมายและระเบียบแห่ง
รัฐหรือ "สลอร์ก" และมีการจัดตั้ง "สภาสันติภาพ
และการพัฒนาแห่งรัฐ "หรือเอสพีดีซี (SPDC:
State Peace and Development Council) ขึ้น
แทน
สภาพภูมิประเทศ
 ประเทศเมียนมาร์ (Myanmar)เป็นประเทศ
ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทร
อินโดจีนซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุด
 มีพรมแดนติดต่อกับ 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย
จีน ลาว อินเดียและบังคลาเทศ
 มีพื้นที่ 677,000ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ
ตั้งอยู่ตามแนวอ่าวเบงกอลและทะเล
อันดามัน
 มีชายแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือติดกับบัง
เมืองท่าและเมือง
หลวงเมียนมาร์มีเมืองหลวงชื่อ เนปิดอร์ แปลว่า
นครหลวงใหม่
ตั้งอยู่ตรงกึ่งกลางของประเทศอยู่ระหว่างย่างกุ้ง
กับมัณฑะเลย์
ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตรหรือ
ใหญ่กว่าเกาะสิงคโปร์
เมืองเนปิดอร์
มีการวางผังเมืองเป็น 4 โซนหลักได้แก่
โซนราชการ โซนโรงแรม โซน
อุตสาหกรรม โซนทหาร
สัญลักษณ์ที่น่าสังเกตของเมือง คือ พระ
ราชานุสาวรีย์ของบูรพกษัตริย์ทั้ง 3
พระองค์ของเมียนมาร์ ได้แก่ พระเจ้าอ
โนรธาแห่งพุกาม พระเจ้าบุเรงนองแห่งหง
สาวดีและพระเจ้าอลองชญาแห่งชเวโบ
ได้สร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติบูรพกษัริย์
เมืองย่างกุ้ง
เดิมมีชื่อว่า ดาโกง แม้ว่าปัจจุบันจะเป็น
เพียงแค่อดีตเมืองหลวงของประเทศ แต่
ย่างกุ้งก็ยังคงให้ความสำาคัญในการเป็น
เมืองศูนย์กลางการค้า การกระจายสินค้า
ไปสู่ภาคต่างๆของประเทศ
นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางการค้า
อัญมณีและการส่งออกไม้สัก
อ
เมืองหงสาวดี
เมืองหงสาวดี หรือ พะโค ในอดีตเคยเป็นเมือง
หลวงของเมียนมาร์มาก่อน
หงสาวดีเจริญรุ่งเรืองสุดขีดในสมัยของพระเจ้า
บุเรงนอง เนื่องจากพระองศ์ทรงให้สร้างพระราชวัง
ของพระองศ์ชื่อ กัมโพชธานี ซึ่งนับเป็นพระราชวัง
ใหญ่โต สร้างโดยการเกณฑ์ข้าทาสจากเมืองขึ้น
ต่างๆ
รัฐ1. รัฐชิน (Chin) มีเมืองหลวงชื่อ เมือง
ฮะคา
2. รัฐกะฉิ่น (Kachin) มีเมืองหลวงชื่อ
เมืองมิตจีนา
3. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) มีเมืองหลวงชื่อ
เมืองปะอาน
4. รัฐกะยา (Kayah) มีเมืองหลวงชื่อ
เมืองหลอยก่อ
5. รัฐมอญ (Mon) มีเมืองหลวงชื่อ เมือง
เมาะละแหม่ง
6. รัฐยะไข่ (Rakhine) มีเมืองหลวงชื่อ
เมืองซิตตเว
ระบบการปกครอง
ก่อนปี พ.ศ. 2554 เมียนมาร์มีระบอบการปกครอง
โดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนา
แห่งรัฐ
(State Peace and DevelopmentCouncil-
SPDC) โดยมีประธาน SPDC เป็นประมุขของ
ประเทศ และมีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะ
รัฐบาล
ปัจจุบันประเทศพม่ามีการปกครอง รัฐสภาที่สมาชิกมา
จากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขประเทศ
และหัวหน้ารับบาล
ในปัจจุบัน ประกอบด้วยรัฐมนตรี 29 คน
และรัฐมนตรีช่วย 39 คน
ประธานาธิบดี : นายเต็ง เส่ง
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดกองทัพเมียนมาร์ :
พล.ท. มินต์ อ่อง หล่า
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ :
นายวันนะ หม่อง ลวิน
คณะรัฐมนตรีของเมียรน
มาร์
นายเต็ง เส่ง ประธานาธิบดี
ประชากร / ศาสนา
/ภาษาจำานวนประชากรประมาณ 58 ล้านคน
ประชากรเมียนมาร์ประกอบไปด้วยชาติพันธ์
ดังนี้ คือ พม่า 63%
มอญ 5% ยะไข่ 5% กะเหรี่ยง 3.5% คะฉิ่น
3% ไทย 3% ชิน 1%
ศาสนาพุทธ 92.3% นอกจากนี้ยังประกอบ
ด้วยศาสนาคริสต์
4% ศาสนาอิสลาม 3% ศาสนาฮินดู 0.7%
นอกจากภาษาพม่าซึ่งเป็นภาษาราชการ
การดำาเนินชีวิต และ การแต่ง
กาย
ลองจี (Longi)
สกุลเงิน : จ๊าต (Kyat)
เส้นทางคมนาคมพม่าไปยัง
ไทย
เส้นทางถนนที่ใช้
คมนาคม ส่งสินค้าระหว่าง
ไทย-เมียนมาร์ มีจุดผ่าน
แดนถาวรตามแนวชายแดน
ไทย-เมียนมาร์ ใน 7 จังหวัด
คือ เชียงราย แม่ฮ่องสอน
เชียงใหม่ ตาก กาญจนบุรี
ประจวบคีรีขันธ์ และระนอง
เส้นทางสายสำาคัญที่เป็น
การขนส่งทางนำ้า และ ท่าเรือ
นำ้าลึกเมียนมาร์มีแม่นำ้าสายสำาคัญ 4
สาย ดังนี้
1. แม่นำ้าเอยาวดี
(Ayeyarwaddy
 2. แม่นำ้าตาลวิน (Thanlyin)
ทะเลอันดามันที่มณฑลเมาะ
ลำาไย
3. แม่นำ้าซิทตวง (Sittaung)
4. แม่นำ้าชินวิน (Chindwin)
เส้นทางคมนาคม
ทางรถไฟสายแรกคือสายย่างกุ้ง
มี 3 สาย
1.เมียนมาร์ - ไทย
2. เมียนมาร์ - จีน
3. เมียนมาร์ - อินเดีย
การคมนาคมทางอากาศ
 เมียนมาร์มีท่าอากาศยาน
ภายในประเทศมากถึง 84
แห่ง โดยมีสายการบินที่
สำาคัญ ได้แก่ สนามบิน
นานาชาติ มี 2 แห่ง คือ ที่
กรุงย่างกุ้ง และเขตมัณฑะ
เลย์
เศรษฐกิจของเมียรม่าร์
ส่งออกที่สำาคัญคือก๊าซธรรมชาติ ไม้และ
ผลิตภัณฑ์จากไม้ อาหารประเภทสัตว์นำ้า
เสื้อผ้า ธัญพืชและพืชไร่ โลหะและแร่ธาตุ
สินค้านำาเข้าที่สำาคัญ คือ เครื่องจักรและ
อุปกรณ์ขนส่งที่ไม่ใช้ไฟฟ้าและใช้ไฟฟ้า สิ่ง
ทอ นำ้ามันเพื่อการบริโภค ธาตุโลหะและ
ผลิตภัณฑ์โลหะ
การลงทุนในเมียรม่าร์
บริษัทต่างชาติสามารถแต่งตั้งบุคคลหรอผู้
ประกอบการเป็นตัวแทนธุรกิจในเมียนม่าร์ได้
โดยตัวแทนจะต้องจดทะเบียนกับ กระทรวง
พาณิชย์ของเมียนม่าร์
ข้อจำากัดในการลงทุน
- การลงทุนจากต่างประเทศในเมียนม่าร์ ยังอยู่ใน
ระดับตำ่า จึง
ทำาให้ขาดความสัมพันธ์หรือพึ่งพากันระหว่าง
อุตสาหกรรมแต่ละสาขา
- ขาดข้อมูลจากภาครัฐเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ
การลงทุน
- ประชากรมีจำานวนมาก แต่กำาลังการซื้อตำ่า
- สินค้าที่ผลิตในเมียนม่าร์ ถูกกีดกันทางการค้าเมื่อ
จุดแข็ง
• มีทรัพยากรธรรมชาติ นำ้ามันและก๊าซธรรมชาติ
จำานวนมาก
• มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย
• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างตำ่า (2.5 USD/day)
จุดอ่อน
• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่
ควร
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย
ประเด็นที่น่าสนใจ
• การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศเชิงรุก
เรื่องที่ควรรู้
วันหยุดนักขัตฤกษ์
ชั่วโมงทำางาน
วันจันทร์ถึงวัน
ศุกร์9.30-16.30น.
เป็นเวลาทำาการของ
รัฐบาล
ส่วนเอกชนจะทำางานตั้งแต่ 8.00-
17.00 น.
ส่วนธนาคารจะเปิดทำาการตั้งแต่
เวลา 10.00-15.00น.
ภัตตาคารส่วนใหญ่จะปิดเวลา
22.00น.
อาหารประจำาชาติ
หล่าเพ็ด (Lahpet)
วัฒนธรรม
การสักบนใบหน้าของ
หญิงสาว
เจซูติน บาแด
Thank you for attention

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

Beauty of Myanmar (Burma)
Beauty of Myanmar (Burma)Beauty of Myanmar (Burma)
Beauty of Myanmar (Burma)
 
Myanmar
MyanmarMyanmar
Myanmar
 
Myanmar
MyanmarMyanmar
Myanmar
 
Social Studies Culture of Myanmar
Social Studies Culture of MyanmarSocial Studies Culture of Myanmar
Social Studies Culture of Myanmar
 
Burma
BurmaBurma
Burma
 
Burma power point slideshow
Burma power point slideshowBurma power point slideshow
Burma power point slideshow
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
 

More from Rachatida Sripetch

More from Rachatida Sripetch (7)

Indonesia cross
Indonesia crossIndonesia cross
Indonesia cross
 
Indonesia cross
Indonesia crossIndonesia cross
Indonesia cross
 
ลาว
ลาวลาว
ลาว
 
มาเลเซีย
มาเลเซียมาเลเซีย
มาเลเซีย
 
มาเลเซ ย
มาเลเซ ยมาเลเซ ย
มาเลเซ ย
 
เนการาบร ไนดาร_สซาหร_อ.pptx_
 เนการาบร ไนดาร_สซาหร_อ.pptx_ เนการาบร ไนดาร_สซาหร_อ.pptx_
เนการาบร ไนดาร_สซาหร_อ.pptx_
 
ก มพ ชา
ก มพ ชาก มพ ชา
ก มพ ชา
 

Myanmar