SlideShare a Scribd company logo
แนวทางการให้ข้อมูลหญิงผ่าตัดคลอด
ที่ระงับความรู้สึกโดยฉีดยาทางช่องน้าไขสันหลัง
เพื่อผ่าตัดท้องคลอดแบบนัดหมายล่วงหน้า
วัตถุประสงค์ เพื่อให้คุณแม่หรือญาติได้ทราบข้อมูลที่จ้าเป็นก่อนการให้ยาระงับ
ความรู้สึกหรือเพื่อใช้ช่วยในการร่วมตัดสินใจเลือกวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก
ทราบการปฏิบัติตนก่อน ขณะ และหลังผ่าตัด
การปฏิบัติตนวันก่อนผ่าตัด
- 8 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด คุณแม่ต้องงดรับประทานอาหารและดื่มน้าทุกชนิด
(งดอาหารและน้าหลังเที่ยงคืน)
เช้าวันผ่าตัด
- ให้คุณแม่ท้าความสะอาดร่างกายทั่วไป อาบน้าและสระผม ตัดเล็บให้สัน เพื่อ
ช่วยลดอัตราการติดเชือแผลผ่าตัด
- แปรงฟันโดยไม่กลืนน้า
- ถอดและเก็บเครื่องประดับของมีค่าต่าง ๆ เช่น แหวน ต่างหู
- ไม่ใช้เครื่องส้าอาง โลชั่น ทาแป้ง น้าหอม สเปรย์ผม ล้างยาทาเล็บออก
- ควรถอดคอนแทกเลนส์ แว่นตา เก็บไว้ในที่เหมาะสม
เช้าวันผ่าตัด
- ถ้าคุณแม่ใช้ฟันปลอม เครื่องช่วยฟัง กรุณาแจ้งพยาบาลทราบ และถอด
เก็บไว้เมื่อไม่ได้ใช้
- แจ้งรายการยา ยาบ้ารุง สมุนไพร อาหารเสริม ให้พยาบาลทราบ
- เปลี่ยนเสือผ้าโดยใส่ชุดพี่โรงพยาบาลจัดให้
- จะมีการเปิดเส้นเลือดด้าที่แขนเพื่อให้สารน้า ยา ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัดและ
ห้องพักฟื้น จนถึงหอผู้ป่วยหลังคลอด 24 ชั่วโมง
- อาจมีการตัดหรือเล็มขนที่บริเวณท้องน้อยและหัวเหน่าด้วยปัตตาเลี่ยน
(clipper)
- จะมีเจ้าหน้าที่มาพาคุณแม่ไปห้องรอผ่าตัด
ห้องรอผ่าตัด
- พยาบาลและวิสัญญีพยาบาลจะซักถามประวัติการใช้ยาเพราะยาที่คุณแม่ใช้
อาจมีผลต่อการระงับความรู้สึกและการผ่าตัด
- เพื่อความปลอดภัย คุณแม่ต้องไม่ถอดแถบข้อมือซึ่งใช้บ่งชีตัวของคุณแม่
ออก เพราะก่อนให้ยา เจาะเลือดและท้าหัตถการ โดยเจ้าหน้าที่จะถาม ชื่อ
สกุล และวันเดือนปีเกิดของคุณแม่ทุกครัง
- จะมีการวัดไข้ วัดความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ
เป็นระยะ ๆ รวมทังการฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
การดูแลโดยทีมวิสัญญี
- คุณแม่จะได้รับการดูแลจากทีมวิสัญญีซึ่งประกอบด้วยวิสัญญีแพทย์และ
วิสัญญีพยาบาลซึ่งจะซักถามประวัติการใช้ยา การระงับความรู้สึกครังก่อน
(ถ้าเคยผ่าตัดมาก่อน)
- จะได้รับการระงับความรู้สึกโดยฉีดยาทางช่องน้าไขสันหลัง (ถ้าไม่สามารถ
ท้าได้ก็จะให้การระงับความรู้ โดย การดมยาตามความจ้าเป็น)
- ทีมวิสัญญีจะเฝ้าติดตามสัญญาณชีพ ได้แก่ ความดันโลหิต อัตรา
การเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ตลอดระยะเวลาผ่าตัดและระหว่างพักฟื้น
ห้องผ่าตัด
- คุณแม่สามารถซักถามข้อสงสัยกับวิสัญญีพยาบาลหรือพยาบาลห้องผ่าตัด
ได้ตลอดเวลา
- ทีมวิสัญญีและทีมผ่าตัดจะใส่หมวกคลุมผมและหน้ากากอนามัย
- ห้องผ่าตัดจะมีไฟส่องสว่างจากเพดาน
- ทีมวิสัญญีจะจัดให้คุณแม่นอนตะแคงซ้าย งอเข่าชิดอกขดตัวเหมือนกุ้ง
- สัญญีแพทย์ฉีดยาทางช่องน้าไขสันหลัง เสร็จแล้วจึงให้คุณแม่นอนหงาย
- คุณแม่จะรู้สึกตัวตลอดเวลาแต่ไม่รู้สึกเจ็บ
- มีผ้าพันแขนเพื่อวัดและเฝ้าติดตามความดันโลหิต
ห้องผ่าตัด
- เตียงผ่าตัดมีสายรัดเพื่อป้องกันการตกเตียง
- จะมีผ้าคลุมเพื่อให้ความอบอุ่นแก่คุณแม่
- จะมีการติดแผ่นที่บริเวณหน้าอกเพื่อใช้เฝ้าติดตามการเต้นของหัวใจ
- มีผ้าพันแขนเพื่อวัดและเฝ้าติดตามความดันโลหิต
- มีอุปกรณ์ขนาดเล็กติดที่นิวมือเพื่อวัดและเฝ้าติดตามระดับของออกซิเจนใน
เลือด
- มีการคาสายสวนปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่างขณะผ่าตัด
ห้องผ่าตัด
- คุณแม่อาจได้รับยาฆ่าเชือ (ยาปฏิชีวนะ) เพื่อป้องกันการติดเชือแผลผ่าตัด
- มีการท้าความสะอาดบริเวณหน้าท้องด้วยน้ายาเฉพาะ เพื่อป้องกันการติดเชือ
- จะมีการให้ออกซิเจนผ่านทางหน้ากากที่คลุมจมูกและปาก
- จะมีการฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ก่อนผ่าตัด
- การผ่าตัดจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ถึง 1 ชั่วโมงครึ่ง
- ทีมพยาบาลห้องคลอด (หรือกุมารแพทย์)จะมาดูแลทารกแรกคลอดทันที
-
ห้องผ่าตัด ขันตอนของการฉีดยาเข้าช่องน้าไขสันหลัง
- วิสัญญีพยาบาลจะให้น้าเกลือก่อนบล็อกหลัง เพราะการบล็อกหลังอาจท้าให้
ความดันโลหิตต่้าได้
- คุณแม่จะถูกจัดให้อยู่ในท่านอนตะแคง ก้มหน้าเอาคางชิดอก งอสะโพก งอเข่า
เอาเข่าชิดท้อง หลังงอเหมือนกุ้ง เพื่อที่จะให้ช่องระหว่างกระดูกสันหลังเปิด
กว้างที่สุด
- หลังจากจัดท่าแล้ว แพทย์จะท้าความสะอาดบริเวณหลัง
- วิสัญญีแพทย์จะแทงเข็มเข้าไปในช่องระหว่างกระดูกสันหลัง และขณะเดินยา
แพทย์จะขอความร่วมมือให้ คุณแม่อยู่นิ่งๆ
- วิสัญญีแพทย์จะฉีดยาเข้าช่องน้าไขสันหลัง แล้วจึงเอาเข็มออก
ห้องพักฟื้น
- หลังผ่าตัด พยาบาลจะพาคุณแม่ไปดูแลและเฝ้าระวังต่อที่ห้องพักฟื้น
- อาจจะยังต้องมีการให้ออกซิเจนผ่านทางหน้ากากที่คลุมจมูกและปาก
- ยังคงมีการให้สารน้าและยาที่แขน
- ยังคงมีสายสวนปัสสาวะคงอยู่โดยจะเอาออกในวันรุ่งขึน
- มีการเฝ้าติดตามสัญญาณชีพเป็นระยะ
การดูแลหลังผ่าตัด
- งดอาหารและน้า 24 ชั่วโมงหรือจนกว่าแพทย์อนุญาต
- นอนราบอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
- ห้ามวางกระเป๋าน้าร้อนบริเวณร่างกายที่ความรู้สึกยังไม่ปกติ
- นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
- ดื่มน้าให้มากและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ผลไม้และผักจะช่วยลดอาการ
ท้องผูก
- อาหารของคุณแม่จะเปลี่ยนจากน้าเป็นอาหารเหลว อาหารปกติ ตามล้าดับ
- คุณแม่จะต้องอยู่โรงพยาบาลอีก 2 – 4 วัน หลังผ่าตัด
- ควรหลีกเลี่ยงการยกของหนัก (หนักกว่าทารก)
- ไม่ควรขับรถใน 2 สัปดาห์แรกหลังผ่าตัด
การจัดการความปวด
- พยาบาลจะช่วยจัดการปัญหาเรื่องอาการปวดเป็นระยะ ๆ โดยให้คุณแม่
ประเมินระดับความปวดตังแต่ระดับ 0 ถึง ระดับ 10 โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คุณ
แม่สุขสบายในระดับที่ยอมรับได้ โดยที่ระดับความปวดอาจไม่ใช่ระดับ 0
พยาบาลอาจให้ยาบรรเทาปวด คุณแม่ควรแจ้งพยาบาลให้ทราบว่ายาสามารถ
บรรเทาอาการปวดได้มากน้อยเพียงใด
- ผลข้างเคียงที่พบบ่อยของการใช้ยาแก้ปวด morphine ได้แก่ ท้องผูก
คลื่นไส้อาเจียน ง่วงนอน เวียนศีรษะและมึนหัว เหงื่อออก
- ถ้ามีอาการแพ้ morphine เช่น มีผื่นคัน ลมพิษ คอและหน้าบวม หายใจหรือ
กลืนล้าบาก ให้แจ้งแพทย์หรือพยาบาลทราบ
การจัดการความปวด
- ทางเลือกอื่นเพื่อบรรเทาอาการปวด
- การประคบเย็น / ประคบร้อน
- การเปลี่ยนท่าทาง การพลิกตัวซ้าย ขวา
- การเบี่ยงเบนความสนใจไปที่ทารกหรือสมาชิกในครอบครัว
การดูแลแผลผ่าตัด
- คุณแม่ต้องไม่ให้มือที่ไม่สะอาดมาถูกแผล ดังนัน คุณแม่ต้องคอยเตือนทุกคนที่
จะมาถูกต้องแผลให้ท้าความสะอาดมือก่อนทุกครัง
- คอยสังเกตอาการ / อาการแสดงของการติดเชือแผลผ่าตัด ได้แก่ ปวด
บวม แดง ร้อน และมีกลิ่นเหม็น
- ดูแลแผลให้แห้งหลังอาบน้าทุกครัง
- ควรพยุงแผลในเวลาที่ท่านลุกนั่ง ไอ หัวเราะ
- ควรใช้หมอนช่วยพยุงเวลาให้นมบุตรเพื่อให้รู้สึกสะดวก สบายมากขึน และ
ป้องกันแผลถูกกด
อาการที่ท่านควรติดต่อโรงพยาบาลหลังจากกลับบ้าน
- มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส หรือ 100.4 องศาฟาเรนไฮต์
- แผลผ่าตัดปวด บวม แดง ร้อน มีหนองออกจากแผล
- ปวดมากจนไม่สามารถลุกเดินได้หรือปวดจนนอนไม่หลับ
- มีผลข้างเคียงจากการใช้ยาเช่น มีผื่นแดง คัน
- เมื่อคุณแม่มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสุขภาพตนเอง

More Related Content

Similar to Handbook final

การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 

Similar to Handbook final (8)

การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 

More from nichapapathomsittapi

Nichapa oct 27 2020
Nichapa oct 27 2020 Nichapa oct 27 2020
Nichapa oct 27 2020
nichapapathomsittapi
 
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
nichapapathomsittapi
 
Handbook for Pre-op C section
Handbook for Pre-op C sectionHandbook for Pre-op C section
Handbook for Pre-op C section
nichapapathomsittapi
 
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอดคู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
nichapapathomsittapi
 
PACU mar 2019
PACU mar 2019 PACU mar 2019
PACU mar 2019
nichapapathomsittapi
 
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญีการเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
nichapapathomsittapi
 

More from nichapapathomsittapi (6)

Nichapa oct 27 2020
Nichapa oct 27 2020 Nichapa oct 27 2020
Nichapa oct 27 2020
 
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
 
Handbook for Pre-op C section
Handbook for Pre-op C sectionHandbook for Pre-op C section
Handbook for Pre-op C section
 
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอดคู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
คู่มือการสอนหญิงตั้งครรภ์ก่อนผ่าตัดคลอด
 
PACU mar 2019
PACU mar 2019 PACU mar 2019
PACU mar 2019
 
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญีการเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
การเตรียมผู้ป่วยผ่าคลอดบุตรก่อนให้บริการวิสัญญี
 

Handbook final