SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
นัฐพงษ์ ถนอมวงษ์
13. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
เพราะเหตุใด สิ่งมีชีวิตจึงต้องมีการแบ่งเซลล์ ?
การแบ่งเซลล์ (cell division)
เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ ผลของการแบ่งเซลล์ทาให้
เซลล์มีขนาดเล็กลงแต่จานวนเพิ่มขึ้น เพื่อให้
สิ่งมีชีวิต
- ดารงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้
- มีการเจริญเติบโต
การแบ่งเซลล์ของเซลล์โพรคาริโอต
เป็นการเพิ่มจานวนเซลล์ ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวโดยไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่ง
เซลล์ออกเป็น 2 ส่วน เรียกว่า binary
fission
ตัวอย่างเช่น แบคทีเรีย อมีบา
เป็นต้น
การแบ่งเซลล์ของเซลล์ยูคาริโอต
แบ่งเป็น 2 แบบคือ
1. การแบ่งแบบไมโทซิส (mitosis)
เป็นการแบ่งเซลล์ ที่จะเกิดขึ้นในเซลล์ของร่างกาย
(somatic cell) ทาให้จานวนเซลล์ของร่างกายมีจานวนมาก
ขึ้น สิ่งมีชีวิตนั้นๆ จึงเจริญเติบโตขึ้น
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis)
ขั้นตอนโดยรวมของ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
แบ่งเป็น 5 ระยะย่อย
1. Interphase ขั้นเตรียมการ
2. Prophase
3. Metaphase การแบ่งนิวเคลียส การแบ่งเซลล์
4. Anaphase ( M-phase )
5. Telophase
ลักษณะการแบ่งเซลล์ของไมโทซิส
1. ไม่มีการลดจานวนชุดโครโมโซม (2n 2n , n n)
2. เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์จะได้สองเซลล์ใหม่ที่โครโมโซมเหมือนกับ
เซลล์ตั้งต้น
วัฏจักรของเซลล์ ( cell cycle )
ประกอบด้วย 2 ระยะได้แก่
1. Interphase การเตรียมตัวให้พร้อม ที่จะแบ่งเซลล์
2. M-phase การแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม
1. ระยะอินเตอร์เฟส ( Interphase)
ระยะนี้เป็นระยะเตรียมตัว ที่จะแบ่งเซลล์ในวัฏจักรของเซลล์ แบ่ง
ออกเป็น 3 ระยะย่อย คือ
ระยะ G1
- เป็นระยะก่อนการสร้าง DNA
- จะมีการสร้างสารบางอย่าง เพื่อใช้สร้าง DNA ในระยะต่อไป
ระยะ S
- มีการสังเคราะห์ DNA เพิ่มอีก 1 เท่าตัว
- เห็นโครโมโซม 1 ท่อนมี 2 ข้าง แต่ละข้างเรียก
โครมาติด chromatid โดยติดอยู่ปมตรงกลางซึ่งเรียกว่า เซนโทรเมีย
centromere
ระยะ G2
- เป็นระยะหลังสร้าง DNA
- เซลล์มีการเจริญเติบโตเต็มที่ และเตรียมพร้อม ที่จะแบ่งนิวเคลียส
1. M-phase
การแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม แบ่งเป็น 4 ระยะย่อยคือ
1) Prophase
2) Metaphase
3) Anaphase
4) Telophase
1) โพรเฟส Prophase
- เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายตัวไป
- เซนทริโอลในเซลล์สัตว์จะเคลื่อนตัวแยกไปตรงข้ามกัน เพื่อสร้างเส้น
ใยสปินเดิล(spindle fiber)
Aster = เซนทริโอล+เส้นใยสปินเดิล
เยื่อหุ้มนิวเคลียสขยายตัว
2) เมตาเฟส Metaphase
- เส้นใยสปินเดิลจะหดตัว ดึงให้โครมาทิดไปเรียงตัวอยู่
ในแนวกึ่งกลางเซลล์ ( equatorial plate)
- โครมาทิดหดสั้นมากที่สุด จึงสะดวกต่อการเคลื่อนที่
3) แอนาเฟส Anaphase
- เส้นใยสปินเดิล หดสั้นดึงให้โครมาทิดแยกตัวออกจากกัน
- โครโมโซม ในระยะนี้จะเพิ่มเป็น 2 เท่า (ในขณะหนึ่ง)
- ใช้เวลาสั้นที่สุด
4) เทโลเฟส Telophase
- โครมาทิดที่แยกออกจากกัน จะเรียกเป็น โครโมโซมลูก
รวมกลุ่มในแต่ละขั้วของเซลล์
- มีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส ล้อมรอบโครโมโซม และเส้นใยสปินเดิล
สลายไป
- เกิดการแบ่งตัวของ ไซโทพลาซึม Cytoplasm เรียกว่า
ไซโตคิเนซิส cytokinesis
การแบ่งไซโทพลาสซึมออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ในเซลล์สัตว์ จะเกิดโดย เยื่อหุ้มเซลล์จะคอดกิ่วจาก 2 ข้าง เข้ากลางเซลล์
2. ในเซลล์พืช จะเกิดโดย กอลจิคอมเพลกซ์สร้างเซลลูโลส มาก่อตัวเป็นเซลล์เพลท
( cell plate) กลายเป็นส่วนของผนังเซลล์
13. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
13. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

More Related Content

Viewers also liked

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (6)

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 

13. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส