SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เรื่องเสร็จที่ ๘๑/๒๕๕๓

                              บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
                                เรื่อง การจดทะเบียนเปนอาคารชุด


                  กรมที่ ดิ น ได มี ห นั ง สื อ ที่ มท ๐๕๑๗.๓/๓๔๑๓๔ ลงวั น ที่ ๑๙ พฤศจิ ก ายน
๒๕๕๒ ถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า สรุ ป ความได ว า ขณะนี้ ไ ด มี ผู ป ระกอบการ
หลายรายนําอาคารที่มีลักษณะแตกตางจากอาคารชุดทั่ว ๆ ไป เชน บานเดี่ยว บานแฝด บานแถว
มายื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุด และจดทะเบียนใหหองชุดมีที่ดินเปนทรัพยสวนบุคคลนอก
หองชุด ซึ่งอาจทําใหผูซื้อหองชุดไดกรรมสิทธิ์ที่เปนทรัพยสวนบุคคลไปทั้งที่ดินและอาคาร ทําให
เกิด ปญ หาการพิจ ารณารับจดทะเบียนอาคารชุดของพนักงานเจา หนา ที่วาอาคารดั งกลาวเขา
ลั ก ษณะตามความหมายของอาคารชุ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด พ.ศ. ๒๕๒๒ หรื อ ไม
ประกอบกับคณะกรรมการพิจารณาปญหาขอกฎหมายของกรมที่ดินไดพิจารณากรณีจังหวัดภูเก็ต
หารือ เรื่อง บริษัท โอทูวิลลาส จํากัด ยื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุด “ออกซิเจน คอนโดมิเนียม”
ลักษณะเปนอาคารสูง ๒ ชั้น ๕ อาคาร จํานวน ๑๖ หองชุด ประกอบดวยอาคารเอและอาคารบี
ลักษณะเปนตึกแถว สวนอาคารซี ดี และอี ลักษณะเปนบานแฝด เห็นวา การดําเนินการดังกลาว
อาจจะถือวาเปนการอาศัยชองวางของกฎหมายอาคารชุดในการเลี่ยงบทบัญญัติเกี่ยวกับการจํากัด
การถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินของคนตางดาว โดยการนําอาคารที่มีลักษณะเปนบานเดี่ยวหลายอาคาร
มาจดทะเบียนเปนอาคารชุด อันจะทําใหผูซื้อที่เปนคนตางดาวสามารถมีสิทธิในอาคารและที่ดินได
ซึ่งผิดเจตนารมณของกฎหมายที่อนุญาตใหคนตางดาวมีกรรมสิทธิ์เฉพาะในหองชุดบางสวน
ในอาคารชุดเทานั้น และการยอมใหจดทะเบียนตามกรณีปญหาดังกลาวจะทําใหเกิดการหลีกเลี่ยง
การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม การจั ด สรรที่ ดิ น และคณะกรรมการกฤษฎี ก า
(กรรมการรางกฎหมาย คณะที่ ๒) ไดเคยพิจารณาใหความเห็นกรณีการเคหะแหงชาติขอหารือวา
การนํ า อาคารหลายอาคารจดทะเบี ย นเป น หนึ่ ง อาคารชุ ด จะกระทํ า ได ห รื อ ไม (เรื่ อ ง
การจดทะเบียนอาคารหลายอาคารเปนอาคารชุดหนึ่งอาคารชุดตามพระราชบัญญัติอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๒๒) ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวา “การจดทะเบียนอาคารชุดโดยมีอาคาร
หลายอาคารตั้งอยูในที่ดินแปลงเดียวหรือโฉนดฉบับเดียวเปนหนึ่งอาคารชุดนั้นยอมกระทําได”
แต โ ดยที่ ความเห็ นของคณะกรรมการกฤษฎีก าดังกลา วมี ขอสังเกตวา เป นกรณีของการเคหะ




             ส ง พร อ มหนั ง สื อ ที่ นร ๐๙๐๑/๐๑๖๘ ลงวั น ที่ ๑๙ กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๕๓ ซึ่ ง สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการกฤษฎีกามีถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
๒

แห ง ชาติ โ ดยอาคารที่ ข อจดทะเบี ย นอาคารชุ ด มี ลั ก ษณะเป น การก อ สร า งแบบอาคารที่ มี
ที่อยูอาศัยหลายรอยหนวยในหนึ่งอาคาร ขอเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะของอาคารจึงมีความแตกตาง
กับกรณีอาคารชุด “ออกซิเจน คอนโดมิเนียม”
                 กรมที่ ดิ น พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า มาตรา ๔ แห ง พระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด
พ.ศ. ๒๕๒๒ ให ค วามหมายของ “อาคารชุ ด ” ว า หมายความว า อาคารที่ บุ ค คลสามารถ
แยกกรรมสิทธิ์ออกไดเปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและ
กรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง โดยไมไดมีการกําหนดลักษณะหรือรูปแบบของอาคารไว ทําให
เกิดปญหาการพิจารณารับจดทะเบียนอาคารชุด เพื่อเปนการวางแนวทางปฏิบัติแ กพนักงาน
เจาหนาที่ และเพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดกับผูที่เกี่ยวของ เชน ผูประกอบการอาคารชุด
ประชาชนผูซื้อหองชุด ตลอดจนพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งอาจสงผลใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจ
ของประเทศในภาพรวมได จึงขอหารือลักษณะหรือรูปแบบของอาคารที่จดทะเบียนเปนอาคารชุด
วา อาคารที่มีลักษณะเปนบานเดี่ยว บานแถว หรือบานแฝด จะสามารถจดทะเบียนเปนอาคารชุด
ไดหรือไม หรือควรมีลกษณะอยางไร
                       ั

                    คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๕) ไดพิจารณาขอหารือของกรมที่ดิน โดยมี
ผูแทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดินและกรมโยธาธิการและผังเมือง) เปนผูชี้แจงขอเท็จจริงแลว
มีความเห็น วา พระราชบัญญั ติอาคารชุ ด พ.ศ. ๒๕๒๒ มี ขึ้น เพื่อวางระบบกรรมสิทธิ์หองชุด
เพื่อใหผูที่อยูอาศัยในอาคารเดียวกันสามารถถือกรรมสิทธิ์หองชุดในอาคารสวนที่เปนของตน
แยกจากกันเปนสัดสวน ซึ่งกฎหมายไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการจดทะเบียนอาคารชุด
กรรมสิ ท ธิ์ ใ นห อ งชุ ด หนั ง สื อ กรรมสิ ท ธิ์ ห อ งชุ ด นิ ติ บุ ค คลอาคารชุ ด และการเลิ ก อาคารชุ ด
โดยมิไดกําหนดลั กษณะหรือรูปแบบของอาคารชุดไว คงปรากฏเพียงบทนิ ยาม “อาคารชุด ”
ในมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติดังกลาววา เปนอาคารที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์
ออกไดเปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวม

                  ๑
                      มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
                       “อาคารชุ ด ” หมายความว า อาคารที่ บุ ค คลสามารถแยกการถื อ กรรมสิ ท ธิ์ อ อกได
เปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง
                       “ทรัพยสวนบุคคล” หมายความวา หองชุด และหมายความรวมถึงสิ่งปลูกสราง หรือที่ดิน
ที่จัดไวใหเปนของเจาของหองชุดแตละราย
                       “หองชุด” หมายความวา สวนของอาคารชุดที่แยกการถือกรรมสิทธิ์ออกไดเปนสวนเฉพาะ
ของแตละบุคคล
                       “ทรัพยสวนกลาง” หมายความวา สวนของอาคารชุดที่มิใชหองชุด ที่ดินที่ตั้งอาคารชุด
และที่ดนหรือทรัพยสินอื่นที่มีไวเพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกันสําหรับเจาของรวม
          ิ
                                         ฯลฯ                         ฯลฯ
๓

ในทรัพยสวนกลางเทานั้น เมื่อพิจารณาประกอบกับมาตรา ๖๒ แหงพระราชบัญญัติอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด (ฉบั บ ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
ที่ไดกําหนดหลักฐานและรายละเอียดสําหรับการยื่นขอจดทะเบียนอาคารชุดตอพนักงานเจาหนาที่
ดั ง ต อ ไปนี้ (๑) โฉนดที่ ดิ น (๒) แผนผั ง อาคารชุ ด ฯ (๓) รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ห อ งชุ ด
ทรัพยสวนบุคคล และทรัพยสวนกลางฯ (๔) อัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์
ในทรัพยสวนกลางฯ (๕) คํารั บรองของผูยื่นคําขอวาอาคารชุดที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้น
ปราศจากภาระผูกพันใด ๆ เวนแตการจํานองอาคารรวมกับที่ดิน (๖) รางขอบังคับของนิติบุคคล
อาคารชุด และ (๗) หลักฐานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ซึ่งตามขอ ๒๓ แหงกฎกระทรวง
                    ๒
                     มาตรา ๖ ผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารใดประสงคจะจดทะเบียนที่ดินและอาคารนั้นให
เปนอาคารชุดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหยื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุดตอพนักงานเจาหนาที่พรอมหลักฐานและ
รายละเอียด ดังตอไปนี้
                     (๑) โฉนดที่ดน  ิ
                     (๒) แผนผังอาคารชุด รวมทั้งเสนทางเขาออกสูทางสาธารณะ
                     (๓) รายละเอียดเกี่ยวกับหองชุด ทรัพยสวนบุคคล และทรัพยสวนกลาง ไดแก จํานวน
พื้นที่ ลักษณะการใชประโยชนและอื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
                     (๔) อัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลางตามมาตรา ๑๔
                     (๕) คํารับรองของผูยื่นคําขอวาอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นปราศจากภาระผูกพันใด ๆ
เวนแตการจํานองอาคารรวมกับที่ดิน
                     (๖) รางขอบังคับของนิตบุคคลอาคารชุด
                                              ิ
                     (๗) หลักฐานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
                   ๓
                     ขอ ๒ คําขอตามขอ ๑ ใหยื่นพรอมดวยเอกสารดังตอไปนี้
                     (๑) โฉนดที่ดิน
                     (๒) แผนผังแสดงเขตที่ดินและที่ตั้งของอาคารชุดแตละอาคารชุดและสิ่งปลูกสราง โดยมี
มาตราสวน ๑:๕๐๐ หรือ ๑:๑๐๐๐ ตามความเหมาะสม
                     (๓) แผนผั ง แสดงรายละเอี ย ดของอาคารชุ ด แต ล ะชั้ น โดยระบุ ค วามกว า ง ความยาว
ความสูง และเนื้อที่ รวมทั้งหมายเลขประจําของหองชุดแตละหองชุด
                     (๔) แผนผังและรายการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลาง
ในอาคารชุดนั้น
                     (๕) บัญชีแสดงรายการเกี่ยวกับอัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยสวนกลาง
          
                     (๖) คํ า รั บ รองเป น หนั ง สื อ ของผู ยื่ น คํ า ขอว า อาคารนั้ น ไม ติ ด การจํ า นอง เว น แต
การจํานองอาคารรวมกับที่ดิน
                     (๗) ใบรับรองการกอสรางอาคารหรือดัดแปลงอาคาร หรือใบอนุญาตเปลี่ยนการใชอาคาร
ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร ในกรณีที่อาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นตั้งอยูในทองที่ที่กฎหมาย
วาดวยการควบคุมอาคารใชบังคับ
                     (๘) หนั ง สื อ อนุ ญ าตให ก อ สร า งอาคารตามกฎหมายว า ด ว ยการเดิ น อากาศหรื อ
ตามกฎหมายวาดวยเขตปลอดภัยในราชการทหาร ในกรณีท่ีอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นตั้งอยูภายใน
เขตปลอดภัยในการเดินอากาศตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศหรือในบริเวณเขตปลอดภัยในราชการทหาร
ตามกฎหมายวาดวยเขตปลอดภัยในราชการทหาร แลวแตกรณี
๔

(พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
ไดกําหนดใหย่ืนเอกสารดังตอไปนี้พรอมการขอจดทะเบียนที่ดินและอาคารนั้นใหเปนอาคารชุด
(๑) โฉนดที่ ดิ น (๒) แผนผั ง แสดงเขตที่ ดิ น และที่ ตั้ ง ของอาคารชุ ด ฯ (๓) แผนผั ง
แสดงรายละเอียดของอาคารชุดแตละชั้นฯ (๔) แผนผังและรายการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ
ทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลางในอาคารชุดนั้น (๕) บัญชีแสดงรายการเกี่ยวกับอัตราสวน
ที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลาง (๖) คํารับรองเปนหนังสือของ
ผู ยื่ น คํ า ขอว า อาคารชุ ด นั้ น ไม ติ ด การจํ า นอง เว น แต เ ป น การจํ า นองอาคารรวมกั บ ที่ ดิ น
(๗) ใบรั บ รองการก อ สร า งอาคารหรื อ ดั ด แปลงอาคารหรื อ ใบอนุ ญ าตเปลี่ ย นการใช อ าคาร
ตามกฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม อาคารฯ และ (๘) หนั ง สื อ อนุ ญ าตให ก อ สร า งอาคาร
ตามกฎหมายวา ดวยการเดิน อากาศหรื อตามกฎหมายวาด วยเขตปลอดภั ยในราชการทหารฯ
จะเห็นวาเปนกรณีที่กฎหมายมิไดกําหนดหลักเกณฑไววาอาคารชุดตองมีลักษณะหรือรูปแบบ
เชนใด หากพนักงานเจาหนาที่พิจารณาแลวเห็นวาอาคารใดสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ออกได
เป น ส ว น ๆ โดยแต ล ะส ว นประกอบด ว ยกรรมสิ ท ธิ์ ใ นทรั พ ย ส ว นบุ ค คลอั น ได แ ก ห อ งชุ ด
สิ่งปลูกสรางหรือที่ดินที่จัดใหเจาของหองชุดแตละราย และกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง
อันไดแก สวนของอาคารชุดที่มิใชหองชุด ที่ดินที่ตั้งอาคารชุด และที่ดินหรือทรัพยสินอื่นที่มีไว
เพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกันสําหรับเจาของรวม เชน โครงสรางและสิ่งกอสรางเพื่อความ
มั่นคงและเพื่อปองกันความเสียหายตอตัวอาคารชุด เครื่องอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช และ
ทรัพยสินอื่นที่มีไวเพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกัน หรือสถานที่ที่มีไวเพื่อบริการสวนรวมแก
อาคารชุดแลว และเจาของโครงการไดดําเนินการถูกตองตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ
อาคารชุดฯ พนักงานเจาหนาที่ก็มีอํานาจจดทะเบียนอาคารนั้นเปนอาคารชุดได ดังนั้น พนักงาน
เจาหนาที่ตองใชดุลพินิจพิจารณาขอเท็จจริงในแตละกรณีวา อาคารชุดที่จะนํามาจดทะเบียนนั้น
เป น ไปตามหลั ก เกณฑ ที่ ก ฎหมายกํ า หนดหรื อ ไม โดยเฉพาะการแยกการถื อ กรรมสิ ท ธิ์
ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง



                                                               (คุณพรทิพย จาละ)
                                                          เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
       กุมภาพันธ ๒๕๕๓



บันทึก-1/หารืออาคารชุด

More Related Content

More from Wac Ert

ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐ
ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐความเป็นมาของคำว่านิติรัฐ
ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐWac Ert
 
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.Wac Ert
 
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...Wac Ert
 
วิ.อาญา หลายสำนัก
วิ.อาญา หลายสำนักวิ.อาญา หลายสำนัก
วิ.อาญา หลายสำนักWac Ert
 
Tax Stimulus Policy
Tax Stimulus PolicyTax Stimulus Policy
Tax Stimulus PolicyWac Ert
 
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดิน
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดินสรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดิน
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดินWac Ert
 
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากรร่างพระราชบัญญัติศุลกากร
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากรWac Ert
 
Escrow Agent
Escrow  AgentEscrow  Agent
Escrow AgentWac Ert
 

More from Wac Ert (8)

ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐ
ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐความเป็นมาของคำว่านิติรัฐ
ความเป็นมาของคำว่านิติรัฐ
 
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.
พรบ.ตลาดทุนได้ฤกษ์ผ่านครม.
 
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...
กม.อุ้มบุญ ช่วยสกัดธุรกิจเถื่อน ห่วงยุบสภาทำสะดุดไม่ทัน...
 
วิ.อาญา หลายสำนัก
วิ.อาญา หลายสำนักวิ.อาญา หลายสำนัก
วิ.อาญา หลายสำนัก
 
Tax Stimulus Policy
Tax Stimulus PolicyTax Stimulus Policy
Tax Stimulus Policy
 
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดิน
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดินสรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดิน
สรุปหลักเกณฑ์การถือครองที่ดินของคนต่างด้าว โดยกรมที่ดิน
 
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากรร่างพระราชบัญญัติศุลกากร
ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร
 
Escrow Agent
Escrow  AgentEscrow  Agent
Escrow Agent
 

ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง อาคารชุด

  • 1. เรื่องเสร็จที่ ๘๑/๒๕๕๓ บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การจดทะเบียนเปนอาคารชุด กรมที่ ดิ น ได มี ห นั ง สื อ ที่ มท ๐๕๑๗.๓/๓๔๑๓๔ ลงวั น ที่ ๑๙ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๒ ถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า สรุ ป ความได ว า ขณะนี้ ไ ด มี ผู ป ระกอบการ หลายรายนําอาคารที่มีลักษณะแตกตางจากอาคารชุดทั่ว ๆ ไป เชน บานเดี่ยว บานแฝด บานแถว มายื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุด และจดทะเบียนใหหองชุดมีที่ดินเปนทรัพยสวนบุคคลนอก หองชุด ซึ่งอาจทําใหผูซื้อหองชุดไดกรรมสิทธิ์ที่เปนทรัพยสวนบุคคลไปทั้งที่ดินและอาคาร ทําให เกิด ปญ หาการพิจ ารณารับจดทะเบียนอาคารชุดของพนักงานเจา หนา ที่วาอาคารดั งกลาวเขา ลั ก ษณะตามความหมายของอาคารชุ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด พ.ศ. ๒๕๒๒ หรื อ ไม ประกอบกับคณะกรรมการพิจารณาปญหาขอกฎหมายของกรมที่ดินไดพิจารณากรณีจังหวัดภูเก็ต หารือ เรื่อง บริษัท โอทูวิลลาส จํากัด ยื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุด “ออกซิเจน คอนโดมิเนียม” ลักษณะเปนอาคารสูง ๒ ชั้น ๕ อาคาร จํานวน ๑๖ หองชุด ประกอบดวยอาคารเอและอาคารบี ลักษณะเปนตึกแถว สวนอาคารซี ดี และอี ลักษณะเปนบานแฝด เห็นวา การดําเนินการดังกลาว อาจจะถือวาเปนการอาศัยชองวางของกฎหมายอาคารชุดในการเลี่ยงบทบัญญัติเกี่ยวกับการจํากัด การถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินของคนตางดาว โดยการนําอาคารที่มีลักษณะเปนบานเดี่ยวหลายอาคาร มาจดทะเบียนเปนอาคารชุด อันจะทําใหผูซื้อที่เปนคนตางดาวสามารถมีสิทธิในอาคารและที่ดินได ซึ่งผิดเจตนารมณของกฎหมายที่อนุญาตใหคนตางดาวมีกรรมสิทธิ์เฉพาะในหองชุดบางสวน ในอาคารชุดเทานั้น และการยอมใหจดทะเบียนตามกรณีปญหาดังกลาวจะทําใหเกิดการหลีกเลี่ยง การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม การจั ด สรรที่ ดิ น และคณะกรรมการกฤษฎี ก า (กรรมการรางกฎหมาย คณะที่ ๒) ไดเคยพิจารณาใหความเห็นกรณีการเคหะแหงชาติขอหารือวา การนํ า อาคารหลายอาคารจดทะเบี ย นเป น หนึ่ ง อาคารชุ ด จะกระทํ า ได ห รื อ ไม (เรื่ อ ง การจดทะเบียนอาคารหลายอาคารเปนอาคารชุดหนึ่งอาคารชุดตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒) ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวา “การจดทะเบียนอาคารชุดโดยมีอาคาร หลายอาคารตั้งอยูในที่ดินแปลงเดียวหรือโฉนดฉบับเดียวเปนหนึ่งอาคารชุดนั้นยอมกระทําได” แต โ ดยที่ ความเห็ นของคณะกรรมการกฤษฎีก าดังกลา วมี ขอสังเกตวา เป นกรณีของการเคหะ ส ง พร อ มหนั ง สื อ ที่ นร ๐๙๐๑/๐๑๖๘ ลงวั น ที่ ๑๙ กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๕๓ ซึ่ ง สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎีกามีถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
  • 2. ๒ แห ง ชาติ โ ดยอาคารที่ ข อจดทะเบี ย นอาคารชุ ด มี ลั ก ษณะเป น การก อ สร า งแบบอาคารที่ มี ที่อยูอาศัยหลายรอยหนวยในหนึ่งอาคาร ขอเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะของอาคารจึงมีความแตกตาง กับกรณีอาคารชุด “ออกซิเจน คอนโดมิเนียม” กรมที่ ดิ น พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า มาตรา ๔ แห ง พระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด พ.ศ. ๒๕๒๒ ให ค วามหมายของ “อาคารชุ ด ” ว า หมายความว า อาคารที่ บุ ค คลสามารถ แยกกรรมสิทธิ์ออกไดเปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและ กรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง โดยไมไดมีการกําหนดลักษณะหรือรูปแบบของอาคารไว ทําให เกิดปญหาการพิจารณารับจดทะเบียนอาคารชุด เพื่อเปนการวางแนวทางปฏิบัติแ กพนักงาน เจาหนาที่ และเพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดกับผูที่เกี่ยวของ เชน ผูประกอบการอาคารชุด ประชาชนผูซื้อหองชุด ตลอดจนพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งอาจสงผลใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจ ของประเทศในภาพรวมได จึงขอหารือลักษณะหรือรูปแบบของอาคารที่จดทะเบียนเปนอาคารชุด วา อาคารที่มีลักษณะเปนบานเดี่ยว บานแถว หรือบานแฝด จะสามารถจดทะเบียนเปนอาคารชุด ไดหรือไม หรือควรมีลกษณะอยางไร ั คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๕) ไดพิจารณาขอหารือของกรมที่ดิน โดยมี ผูแทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดินและกรมโยธาธิการและผังเมือง) เปนผูชี้แจงขอเท็จจริงแลว มีความเห็น วา พระราชบัญญั ติอาคารชุ ด พ.ศ. ๒๕๒๒ มี ขึ้น เพื่อวางระบบกรรมสิทธิ์หองชุด เพื่อใหผูที่อยูอาศัยในอาคารเดียวกันสามารถถือกรรมสิทธิ์หองชุดในอาคารสวนที่เปนของตน แยกจากกันเปนสัดสวน ซึ่งกฎหมายไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการจดทะเบียนอาคารชุด กรรมสิ ท ธิ์ ใ นห อ งชุ ด หนั ง สื อ กรรมสิ ท ธิ์ ห อ งชุ ด นิ ติ บุ ค คลอาคารชุ ด และการเลิ ก อาคารชุ ด โดยมิไดกําหนดลั กษณะหรือรูปแบบของอาคารชุดไว คงปรากฏเพียงบทนิ ยาม “อาคารชุด ” ในมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติดังกลาววา เปนอาคารที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ ออกไดเปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวม ๑ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “อาคารชุ ด ” หมายความว า อาคารที่ บุ ค คลสามารถแยกการถื อ กรรมสิ ท ธิ์ อ อกได เปนสวน ๆ โดยแตละสวนประกอบดวยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง “ทรัพยสวนบุคคล” หมายความวา หองชุด และหมายความรวมถึงสิ่งปลูกสราง หรือที่ดิน ที่จัดไวใหเปนของเจาของหองชุดแตละราย “หองชุด” หมายความวา สวนของอาคารชุดที่แยกการถือกรรมสิทธิ์ออกไดเปนสวนเฉพาะ ของแตละบุคคล “ทรัพยสวนกลาง” หมายความวา สวนของอาคารชุดที่มิใชหองชุด ที่ดินที่ตั้งอาคารชุด และที่ดนหรือทรัพยสินอื่นที่มีไวเพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกันสําหรับเจาของรวม ิ ฯลฯ ฯลฯ
  • 3. ๓ ในทรัพยสวนกลางเทานั้น เมื่อพิจารณาประกอบกับมาตรา ๖๒ แหงพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ อ าคารชุ ด (ฉบั บ ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ไดกําหนดหลักฐานและรายละเอียดสําหรับการยื่นขอจดทะเบียนอาคารชุดตอพนักงานเจาหนาที่ ดั ง ต อ ไปนี้ (๑) โฉนดที่ ดิ น (๒) แผนผั ง อาคารชุ ด ฯ (๓) รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ห อ งชุ ด ทรัพยสวนบุคคล และทรัพยสวนกลางฯ (๔) อัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ ในทรัพยสวนกลางฯ (๕) คํารั บรองของผูยื่นคําขอวาอาคารชุดที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้น ปราศจากภาระผูกพันใด ๆ เวนแตการจํานองอาคารรวมกับที่ดิน (๖) รางขอบังคับของนิติบุคคล อาคารชุด และ (๗) หลักฐานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ซึ่งตามขอ ๒๓ แหงกฎกระทรวง ๒ มาตรา ๖ ผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารใดประสงคจะจดทะเบียนที่ดินและอาคารนั้นให เปนอาคารชุดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหยื่นคําขอจดทะเบียนอาคารชุดตอพนักงานเจาหนาที่พรอมหลักฐานและ รายละเอียด ดังตอไปนี้ (๑) โฉนดที่ดน ิ (๒) แผนผังอาคารชุด รวมทั้งเสนทางเขาออกสูทางสาธารณะ (๓) รายละเอียดเกี่ยวกับหองชุด ทรัพยสวนบุคคล และทรัพยสวนกลาง ไดแก จํานวน พื้นที่ ลักษณะการใชประโยชนและอื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด (๔) อัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลางตามมาตรา ๑๔ (๕) คํารับรองของผูยื่นคําขอวาอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นปราศจากภาระผูกพันใด ๆ เวนแตการจํานองอาคารรวมกับที่ดิน (๖) รางขอบังคับของนิตบุคคลอาคารชุด ิ (๗) หลักฐานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ๓ ขอ ๒ คําขอตามขอ ๑ ใหยื่นพรอมดวยเอกสารดังตอไปนี้ (๑) โฉนดที่ดิน (๒) แผนผังแสดงเขตที่ดินและที่ตั้งของอาคารชุดแตละอาคารชุดและสิ่งปลูกสราง โดยมี มาตราสวน ๑:๕๐๐ หรือ ๑:๑๐๐๐ ตามความเหมาะสม (๓) แผนผั ง แสดงรายละเอี ย ดของอาคารชุ ด แต ล ะชั้ น โดยระบุ ค วามกว า ง ความยาว ความสูง และเนื้อที่ รวมทั้งหมายเลขประจําของหองชุดแตละหองชุด (๔) แผนผังและรายการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลาง ในอาคารชุดนั้น (๕) บัญชีแสดงรายการเกี่ยวกับอัตราสวนที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสวนกลาง  (๖) คํ า รั บ รองเป น หนั ง สื อ ของผู ยื่ น คํ า ขอว า อาคารนั้ น ไม ติ ด การจํ า นอง เว น แต การจํานองอาคารรวมกับที่ดิน (๗) ใบรับรองการกอสรางอาคารหรือดัดแปลงอาคาร หรือใบอนุญาตเปลี่ยนการใชอาคาร ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร ในกรณีที่อาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นตั้งอยูในทองที่ที่กฎหมาย วาดวยการควบคุมอาคารใชบังคับ (๘) หนั ง สื อ อนุ ญ าตให ก อ สร า งอาคารตามกฎหมายว า ด ว ยการเดิ น อากาศหรื อ ตามกฎหมายวาดวยเขตปลอดภัยในราชการทหาร ในกรณีท่ีอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นตั้งอยูภายใน เขตปลอดภัยในการเดินอากาศตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศหรือในบริเวณเขตปลอดภัยในราชการทหาร ตามกฎหมายวาดวยเขตปลอดภัยในราชการทหาร แลวแตกรณี
  • 4. ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ไดกําหนดใหย่ืนเอกสารดังตอไปนี้พรอมการขอจดทะเบียนที่ดินและอาคารนั้นใหเปนอาคารชุด (๑) โฉนดที่ ดิ น (๒) แผนผั ง แสดงเขตที่ ดิ น และที่ ตั้ ง ของอาคารชุ ด ฯ (๓) แผนผั ง แสดงรายละเอียดของอาคารชุดแตละชั้นฯ (๔) แผนผังและรายการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ ทรัพยสวนบุคคลและทรัพยสวนกลางในอาคารชุดนั้น (๕) บัญชีแสดงรายการเกี่ยวกับอัตราสวน ที่เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลาง (๖) คํารับรองเปนหนังสือของ ผู ยื่ น คํ า ขอว า อาคารชุ ด นั้ น ไม ติ ด การจํ า นอง เว น แต เ ป น การจํ า นองอาคารรวมกั บ ที่ ดิ น (๗) ใบรั บ รองการก อ สร า งอาคารหรื อ ดั ด แปลงอาคารหรื อ ใบอนุ ญ าตเปลี่ ย นการใช อ าคาร ตามกฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม อาคารฯ และ (๘) หนั ง สื อ อนุ ญ าตให ก อ สร า งอาคาร ตามกฎหมายวา ดวยการเดิน อากาศหรื อตามกฎหมายวาด วยเขตปลอดภั ยในราชการทหารฯ จะเห็นวาเปนกรณีที่กฎหมายมิไดกําหนดหลักเกณฑไววาอาคารชุดตองมีลักษณะหรือรูปแบบ เชนใด หากพนักงานเจาหนาที่พิจารณาแลวเห็นวาอาคารใดสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ออกได เป น ส ว น ๆ โดยแต ล ะส ว นประกอบด ว ยกรรมสิ ท ธิ์ ใ นทรั พ ย ส ว นบุ ค คลอั น ได แ ก ห อ งชุ ด สิ่งปลูกสรางหรือที่ดินที่จัดใหเจาของหองชุดแตละราย และกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง อันไดแก สวนของอาคารชุดที่มิใชหองชุด ที่ดินที่ตั้งอาคารชุด และที่ดินหรือทรัพยสินอื่นที่มีไว เพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกันสําหรับเจาของรวม เชน โครงสรางและสิ่งกอสรางเพื่อความ มั่นคงและเพื่อปองกันความเสียหายตอตัวอาคารชุด เครื่องอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช และ ทรัพยสินอื่นที่มีไวเพื่อใชหรือเพื่อประโยชนรวมกัน หรือสถานที่ที่มีไวเพื่อบริการสวนรวมแก อาคารชุดแลว และเจาของโครงการไดดําเนินการถูกตองตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ อาคารชุดฯ พนักงานเจาหนาที่ก็มีอํานาจจดทะเบียนอาคารนั้นเปนอาคารชุดได ดังนั้น พนักงาน เจาหนาที่ตองใชดุลพินิจพิจารณาขอเท็จจริงในแตละกรณีวา อาคารชุดที่จะนํามาจดทะเบียนนั้น เป น ไปตามหลั ก เกณฑ ที่ ก ฎหมายกํ า หนดหรื อ ไม โดยเฉพาะการแยกการถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ในทรัพยสวนบุคคลและกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสวนกลาง (คุณพรทิพย จาละ) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กุมภาพันธ ๒๕๕๓ บันทึก-1/หารืออาคารชุด