SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การละเมิดลิขสิทธิ์หนังทางออนไลน์
และอนาคตวงการหนังในประเทศ
ไทย
OUTLINE
9.1 ทรัพย์สินทางปัญญา
9.2 การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
9.3 จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
9.4 ภัยคุกคามออนไลน์
9.5 แนวทางป้ องกันตนเองจากภัยคุกคามออนไลน์
9.6 กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
2
9.1 ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์
คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชานาญ
โดยไม่คานึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีในการแสดงออก ทรัพย์สินทาง
ปัญญาอาจจะแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้าต่างๆ หรือ ในรูปแบบ
ของสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวคิดในการดาเนินธุรกิจ กรรมวิธีในการผลิต
ทางอุตสาหกรรม เป็ นต้น (เอกสารหลักสูตรทรัพย์สินทางปัญญา, กรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา: www.ipthailand.go.th)
3
9.2.1 ลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์(Copyright) หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียว
ที่จะกระทาการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์
ได้ทาขึ้นโดยการใช้สติปัญญา ความรู ้
ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของ
ตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงาน
ของผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็ นงานตาม
ประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครอง
ผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่
สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน
4
การกระทาใดๆ ที่เจ้าของลิขสิทธิ์พึงทาได้ คือ
ทาซ้าหรือดัดแปลง
เผยแพร่ต่อสาธารณชน
ให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร ์โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร ์และสิ่ง
บันทึกเสียง
ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น
อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกาหนดเงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่
เงื่อนไขดังกล่าวจะกาหนดในลักษณะที่เป็ นการจากัดการแข่งขันโดยไม่เป็ นธรรม
ไม่ได้
5
ผลงานอันมีลิขสิทธิ์
งานวรรณกรรม (หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร ์ฯลฯ)
งานนาฏกรรม (ท่ารา ท่าเต้น ฯลฯ)
งานศิลปกรรม (จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ฯลฯ)
งานดนตรีกรรม (ทานอง ทานองและเนื้อร้อง ฯลฯ)
งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี)
งานโสตทัศนวัสดุ (วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง)
งานภาพยนตร ์
งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร ์หรือศิลปะ
6
การละเมิดลิขสิทธิ์
การทาซ้าหรือดัดแปลง
การเผยแพร่ต่อสาธารณชน
การให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนา
ผลงาน
7
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
การวิจัยหรือศึกษางานนั้นๆ
ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง เพื่อประโยชน์ของตนเองและบุคคลในครอบครัว
ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงาน โดยมีการรับรู ้ถึงเจ้าของลิขสิทธิ์
เสนอรายงานข่าวทางสื่อมวลชน โดยมีการรับรู ้ถึงเจ้าของลิขสิทธิ์
ใช้ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานตามอานาจของกฎหมาย
ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง ใช้เพื่อประโยชน์ในการสอน โดยไม่นาไปหากาไร
ทาซ้า ดัดแปลง บางส่วนของงาน ตัดทอนหรือสรุป ใช้แจกจ่ายแก่นักเรียนโดยไม่นาไปหากาไร
นามาเป็ นส่วนหนึ่งในการถาม-ตอบในข้อสอบ
8
9.2.2 สิทธิบัตร
"สิทธิบัตร" หมายถึง หนังสือสาคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามที่
กาหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้
"การประดิษฐ ์" หมายความว่า การคิดค้นหรือคิดทาขึ้น อันเป็ นผลให้ ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใดขึ้น
ใหม่ หรือการกระทาใด ๆ ที่ทาให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี
"กรรมวิธี" หมายความว่า วิธีการ กระบวนการ หรือกรรมวิธีในการผลิต หรือการเก็บรักษาให้คงสภาพหรือให้มี
คุณภาพดีขึ้นหรือการปรับสภาพให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์และรวมถึงการใช้กรรมวิธีนั้นๆ ด้วย
9
9.3 จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรม (Ethics) หมายถึง หลักของความถูกต้องและไม่ถูกต้อง ซึ่งถูกใช้เป็ นตัวแทนของหลัก
ในการปฏิบัติตนของบุคคล [Laudon and Laudon, Management Information Systems, 2007]
จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ “หลักของความถูกต้องไม่ถูกต้อง ที่ใช้เป็ นหลักปฏิบัติ
หรือควบคุมการใช้ไอทีของผู้ใช้” หรือก็คือ “จริยธรรมสาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร ์”
นั่นเอง
10
11
9.4 ภัยคุกคามออนไลน์
ภัยที่เกิดกับผู้ใช้
การหลอกลวงซื้อ/ขายออนไลน์
การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต
การปลอม/แอบอ้างเฟซบุ้คเพื่อหลอกลวง
มิจฉาชีพ แฝงตัวมาเพื่อหลอกลวงทรัพย์ หลอกลวงไปทาอนาจาร หรือทาร้ายร่างกาย การสวม
รอยเป็นบุคคลอื่น เพื่อทาให้บุคคลนั้นได้รับความอับอาย เสียหาย หรือเพื่อกรรโชกทรัพย์
การสร้างเว็บไซต์หรือส่งลิงค์ปลอม (Phishing) มายังผู้ใช้ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าธนาคาร
ที่ทาธุรกรรมการเงินทางอินเทอร์เน็ต โดยมิจฉาชีพมักส่งลิงค์ปลอมมาหลอกให้ลูกค้ากรอก
Username และ Password ลงไป แล้วนาไปล็อกอินเพื่อขโมยเงินในบัญชี
การก่อการร้ายบนโลกไซเบอร์ (Cyberterrorism) คือการก่อการร้ายบนระบบเครือข่าย
หรือบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
12
ภัยที่เกิดกับเครื่องคอมพิวเตอร ์ของผู้ใช้หรืออุปกรณ์
ต่างๆ
ซอฟต์แวร ์โจมตี (Malicious Software) เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร ์ที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร ์
ผู้ใช้งานทางานผิดปกติ
แฮคเกอร ์(Hacker) ที่ลักลอบเข้ามาขโมยข้อมูลส่วนตัวในระบบคอมพิวเตอร ์ของผู้ใช้
โปรแกรมโทรจัน (Trojan Horse Program) เป็ นโปรแกรมที่หลอกให้ผู้ใช้ดาวน์โหลดลงมาเรียกใช้
งาน จากนั้นโปรแกรมโทรจันจะทาลายหรือสร้างปัญหาให้กับเครื่องคอมพิวเตอร ์หรือคอย
แอบส่งข้อมูลบัญชีผู้ใช้ต่างๆ ที่บันทึกอยู่ในเครื่องให้กับแฮคเกอร ์
13
9.5 แนวทางป้ องกันตนเองจากภัยคุกคามออนไลน์
ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่ระวัง เมื่อมีการ login ต้อง logout ออกจากระบบเสมอ
ไม่ตั้งรหัสผ่านที่ง่ายต่อการคาดเดา รหัสผ่านควรมี 8 ตัวอักษรเป็ นอย่างน้อย และควรมีทั้งตัวเลข
ตัวหนังสือ และอักขระผสมกันอยู่ หรือมีทั้งตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่อยู่ด้วย
ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่สังเกตความเปลี่ยนแปลง ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงขณะเปิ ดและปิ ดเครื่อง
ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่ได้อัปเดต ควรอัปเดตระบบปฏิบัติการของเครื่องให้เป็ นปัจจุบัน เพื่อซ่อมแซม
ช่องโหว่ ซึ่งเป็ นช่องทางหลักของการลักลอบเข้าเครื่องคอมพิวเตอร ์จากแฮคเกอร ์
14
ไม่ลงซอฟต์แวร ์มากเกินจาเป็ น โดยเฉพาะซอฟต์แวร ์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์เนื่องจากซอฟต์แวร ์เหล่านี้มัก
มีไวรัสหรือโปรแกรมมุ่งร้ายแฝงมา
ไม่ควรเข้าเว็บไซต์เสี่ยงภัย เช่น เว็บลามกอนาจาร เว็บการพนันออนไลน์ เป็ นต้น
ไม่ทาธุรกรรมออนไลน์โดยไม่สังเกตสัญลักษณ์แสดงความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นบริการ
แบบ https:// และมีรูปกุญแจเป็ นสัญลักษณ์
ไม่เปิ ดเผยข้อมูลส่วนตัวบนโลกออนไลน์
ไม่ปฏิบัตินอกเหนือกฎหมายเกี่ยวกับการใช้งานอินเทอร ์เน็ต
ไม่หลงเชื่อโดยง่าย
15
9.6 กฎหมายทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ
16
9.6.1 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร ์พ.ศ. 2550
17
18
19
20
ถ้าเว็บไซต์หรือ blog ของเรา นา embed วีดีโอจาก youtube แปะใส่ในหน้าเว็บเราล่ะ ทา
ได้มั้ย ผิดหรือเปล่า?
 embed ของ youtube ใส่หน้าเว็บเราเป็นสิงที่อันตราย เพราะลิขสิทธิ์ของเขา แต่อยู่ภาายใต้เวบของเรา ซึ่งผิดลิขสิทธิ์
 ดังนั้นวิธีแก้คือ ใส่ภาาพนิ่งเป็นตัวอย่างภาาพวีดีโอนั้น พร้อมกับทาลิงค์ไปยังวีดีโอเจ้าของคลิป อันนี้สามารถทาได้ ไม่ผิดกฎหมาย
ลิขสิทธิ์
21
หากกลุ่มผู้ผลิตรายการทีวี ต้องการนาคลิป Youtube ไปใช้ควรทาอย่างไร?
 ต้องเผยชื่อ user youtube เจ้าของคลิปนั้น เพื่ออ้างอิง และคลิปที่ใช้ได้ต้องเผยแพร่แบบสาธารณะ
 ถ้าเป็นคลิป youtube แบบ Private หรือแชร์ลิงค์เฉยๆ ที่ไม่ใช่สาธารณะนามาใช้ ถือว่าผิดลิขสิทธิ์
 กรณีแฟนเพจ facebook แชร์ภาาพของ fanpage อื่น เพื่อเรียกเรตติ้ง มีความเสี่ยงถูกฟ้อง เพราะเรื่องแสวงหาผลกาไร
 ดังนั้น หากไม่อยากโดนฟ้องเรื่องลิขสิทธิ์ภาาพถ่าย ควรถ่ายเอง วาดเอง หรือขอจากเจ้าของรูปเอง ก็ใช้ได้ แต่ถ้าเอาจาก
google อาจโดนฟ้ องได้ และถูกเรียกเงินสูงด้วย
22

More Related Content

Similar to มงคลไง

คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาpaotogether
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Chutima Tongnork
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน dowsudarat
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อยJiraprapa Noinoo
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...BAINIDA
 

Similar to มงคลไง (20)

คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
พอน1ok
พอน1okพอน1ok
พอน1ok
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อย
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...
Cyber Security โดย ณัฐ พยงค์ศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ -พนักงานเจ้าหน้...
 
รายงานโจ
รายงานโจรายงานโจ
รายงานโจ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

มงคลไง

  • 2. OUTLINE 9.1 ทรัพย์สินทางปัญญา 9.2 การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 9.3 จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 9.4 ภัยคุกคามออนไลน์ 9.5 แนวทางป้ องกันตนเองจากภัยคุกคามออนไลน์ 9.6 กฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2
  • 3. 9.1 ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชานาญ โดยไม่คานึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีในการแสดงออก ทรัพย์สินทาง ปัญญาอาจจะแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้าต่างๆ หรือ ในรูปแบบ ของสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวคิดในการดาเนินธุรกิจ กรรมวิธีในการผลิต ทางอุตสาหกรรม เป็ นต้น (เอกสารหลักสูตรทรัพย์สินทางปัญญา, กรมทรัพย์สินทาง ปัญญา: www.ipthailand.go.th) 3
  • 4. 9.2.1 ลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์(Copyright) หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียว ที่จะกระทาการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ ได้ทาขึ้นโดยการใช้สติปัญญา ความรู ้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของ ตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงาน ของผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็ นงานตาม ประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครอง ผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่ สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน 4
  • 5. การกระทาใดๆ ที่เจ้าของลิขสิทธิ์พึงทาได้ คือ ทาซ้าหรือดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน ให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร ์โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร ์และสิ่ง บันทึกเสียง ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกาหนดเงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่ เงื่อนไขดังกล่าวจะกาหนดในลักษณะที่เป็ นการจากัดการแข่งขันโดยไม่เป็ นธรรม ไม่ได้ 5
  • 6. ผลงานอันมีลิขสิทธิ์ งานวรรณกรรม (หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร ์ฯลฯ) งานนาฏกรรม (ท่ารา ท่าเต้น ฯลฯ) งานศิลปกรรม (จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ฯลฯ) งานดนตรีกรรม (ทานอง ทานองและเนื้อร้อง ฯลฯ) งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี) งานโสตทัศนวัสดุ (วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง) งานภาพยนตร ์ งานแพร่เสียงแพร่ภาพ งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร ์หรือศิลปะ 6
  • 8. ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ การวิจัยหรือศึกษางานนั้นๆ ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง เพื่อประโยชน์ของตนเองและบุคคลในครอบครัว ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงาน โดยมีการรับรู ้ถึงเจ้าของลิขสิทธิ์ เสนอรายงานข่าวทางสื่อมวลชน โดยมีการรับรู ้ถึงเจ้าของลิขสิทธิ์ ใช้ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานตามอานาจของกฎหมาย ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง ใช้เพื่อประโยชน์ในการสอน โดยไม่นาไปหากาไร ทาซ้า ดัดแปลง บางส่วนของงาน ตัดทอนหรือสรุป ใช้แจกจ่ายแก่นักเรียนโดยไม่นาไปหากาไร นามาเป็ นส่วนหนึ่งในการถาม-ตอบในข้อสอบ 8
  • 9. 9.2.2 สิทธิบัตร "สิทธิบัตร" หมายถึง หนังสือสาคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามที่ กาหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้ "การประดิษฐ ์" หมายความว่า การคิดค้นหรือคิดทาขึ้น อันเป็ นผลให้ ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใดขึ้น ใหม่ หรือการกระทาใด ๆ ที่ทาให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี "กรรมวิธี" หมายความว่า วิธีการ กระบวนการ หรือกรรมวิธีในการผลิต หรือการเก็บรักษาให้คงสภาพหรือให้มี คุณภาพดีขึ้นหรือการปรับสภาพให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์และรวมถึงการใช้กรรมวิธีนั้นๆ ด้วย 9
  • 10. 9.3 จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม (Ethics) หมายถึง หลักของความถูกต้องและไม่ถูกต้อง ซึ่งถูกใช้เป็ นตัวแทนของหลัก ในการปฏิบัติตนของบุคคล [Laudon and Laudon, Management Information Systems, 2007] จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ “หลักของความถูกต้องไม่ถูกต้อง ที่ใช้เป็ นหลักปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ไอทีของผู้ใช้” หรือก็คือ “จริยธรรมสาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร ์” นั่นเอง 10
  • 11. 11
  • 12. 9.4 ภัยคุกคามออนไลน์ ภัยที่เกิดกับผู้ใช้ การหลอกลวงซื้อ/ขายออนไลน์ การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต การปลอม/แอบอ้างเฟซบุ้คเพื่อหลอกลวง มิจฉาชีพ แฝงตัวมาเพื่อหลอกลวงทรัพย์ หลอกลวงไปทาอนาจาร หรือทาร้ายร่างกาย การสวม รอยเป็นบุคคลอื่น เพื่อทาให้บุคคลนั้นได้รับความอับอาย เสียหาย หรือเพื่อกรรโชกทรัพย์ การสร้างเว็บไซต์หรือส่งลิงค์ปลอม (Phishing) มายังผู้ใช้ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าธนาคาร ที่ทาธุรกรรมการเงินทางอินเทอร์เน็ต โดยมิจฉาชีพมักส่งลิงค์ปลอมมาหลอกให้ลูกค้ากรอก Username และ Password ลงไป แล้วนาไปล็อกอินเพื่อขโมยเงินในบัญชี การก่อการร้ายบนโลกไซเบอร์ (Cyberterrorism) คือการก่อการร้ายบนระบบเครือข่าย หรือบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 12
  • 13. ภัยที่เกิดกับเครื่องคอมพิวเตอร ์ของผู้ใช้หรืออุปกรณ์ ต่างๆ ซอฟต์แวร ์โจมตี (Malicious Software) เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร ์ที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร ์ ผู้ใช้งานทางานผิดปกติ แฮคเกอร ์(Hacker) ที่ลักลอบเข้ามาขโมยข้อมูลส่วนตัวในระบบคอมพิวเตอร ์ของผู้ใช้ โปรแกรมโทรจัน (Trojan Horse Program) เป็ นโปรแกรมที่หลอกให้ผู้ใช้ดาวน์โหลดลงมาเรียกใช้ งาน จากนั้นโปรแกรมโทรจันจะทาลายหรือสร้างปัญหาให้กับเครื่องคอมพิวเตอร ์หรือคอย แอบส่งข้อมูลบัญชีผู้ใช้ต่างๆ ที่บันทึกอยู่ในเครื่องให้กับแฮคเกอร ์ 13
  • 14. 9.5 แนวทางป้ องกันตนเองจากภัยคุกคามออนไลน์ ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่ระวัง เมื่อมีการ login ต้อง logout ออกจากระบบเสมอ ไม่ตั้งรหัสผ่านที่ง่ายต่อการคาดเดา รหัสผ่านควรมี 8 ตัวอักษรเป็ นอย่างน้อย และควรมีทั้งตัวเลข ตัวหนังสือ และอักขระผสมกันอยู่ หรือมีทั้งตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่อยู่ด้วย ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่สังเกตความเปลี่ยนแปลง ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงขณะเปิ ดและปิ ดเครื่อง ไม่ใช้คอมพิวเตอร ์โดยไม่ได้อัปเดต ควรอัปเดตระบบปฏิบัติการของเครื่องให้เป็ นปัจจุบัน เพื่อซ่อมแซม ช่องโหว่ ซึ่งเป็ นช่องทางหลักของการลักลอบเข้าเครื่องคอมพิวเตอร ์จากแฮคเกอร ์ 14
  • 15. ไม่ลงซอฟต์แวร ์มากเกินจาเป็ น โดยเฉพาะซอฟต์แวร ์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์เนื่องจากซอฟต์แวร ์เหล่านี้มัก มีไวรัสหรือโปรแกรมมุ่งร้ายแฝงมา ไม่ควรเข้าเว็บไซต์เสี่ยงภัย เช่น เว็บลามกอนาจาร เว็บการพนันออนไลน์ เป็ นต้น ไม่ทาธุรกรรมออนไลน์โดยไม่สังเกตสัญลักษณ์แสดงความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นบริการ แบบ https:// และมีรูปกุญแจเป็ นสัญลักษณ์ ไม่เปิ ดเผยข้อมูลส่วนตัวบนโลกออนไลน์ ไม่ปฏิบัตินอกเหนือกฎหมายเกี่ยวกับการใช้งานอินเทอร ์เน็ต ไม่หลงเชื่อโดยง่าย 15
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. ถ้าเว็บไซต์หรือ blog ของเรา นา embed วีดีโอจาก youtube แปะใส่ในหน้าเว็บเราล่ะ ทา ได้มั้ย ผิดหรือเปล่า?  embed ของ youtube ใส่หน้าเว็บเราเป็นสิงที่อันตราย เพราะลิขสิทธิ์ของเขา แต่อยู่ภาายใต้เวบของเรา ซึ่งผิดลิขสิทธิ์  ดังนั้นวิธีแก้คือ ใส่ภาาพนิ่งเป็นตัวอย่างภาาพวีดีโอนั้น พร้อมกับทาลิงค์ไปยังวีดีโอเจ้าของคลิป อันนี้สามารถทาได้ ไม่ผิดกฎหมาย ลิขสิทธิ์ 21
  • 22. หากกลุ่มผู้ผลิตรายการทีวี ต้องการนาคลิป Youtube ไปใช้ควรทาอย่างไร?  ต้องเผยชื่อ user youtube เจ้าของคลิปนั้น เพื่ออ้างอิง และคลิปที่ใช้ได้ต้องเผยแพร่แบบสาธารณะ  ถ้าเป็นคลิป youtube แบบ Private หรือแชร์ลิงค์เฉยๆ ที่ไม่ใช่สาธารณะนามาใช้ ถือว่าผิดลิขสิทธิ์  กรณีแฟนเพจ facebook แชร์ภาาพของ fanpage อื่น เพื่อเรียกเรตติ้ง มีความเสี่ยงถูกฟ้อง เพราะเรื่องแสวงหาผลกาไร  ดังนั้น หากไม่อยากโดนฟ้องเรื่องลิขสิทธิ์ภาาพถ่าย ควรถ่ายเอง วาดเอง หรือขอจากเจ้าของรูปเอง ก็ใช้ได้ แต่ถ้าเอาจาก google อาจโดนฟ้ องได้ และถูกเรียกเงินสูงด้วย 22