SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจาเดือน
มีนาคม 2559
คำนำ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) ได้มีบัญชาให้หน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ โดยให้แยกเป็นกลุ่มงาน เพื่อ
ใช้ประโยชน์ในการจัดทารายงานตามวงรอบของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และใช้ในการประชาสัมพันธ์
ผลงานของกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ
ประจาเดือนขึ้น โดยประมวลจัดทาผลงานจากข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ซึ่งแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 กลุ่มงาน ได้แก่
1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญของรัฐบาลที่จัดขึ้น
2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3. งานตามนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. งานตามภารกิจ/กิจกรรมที่สาคัญของหน่วยงาน
5. งานการต่างประเทศ
สาหรับในฉบับนี้เป็นรายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ ประจาเดือนมีนาคม 2559
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการปฏิบัติราชการฉบับนี้ จะเป็น
ประโยชน์ต่อหน่วยงานและผู้สนใจทั่วไป และขอขอบคุณหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูลผลการปฏิบัติราชการ
มา ณ โอกาสนี้
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สารบัญ
หน้า
1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 1
1.1 การเตรียมการจัดงาน “Startup Thailand 2016” 1
1.2 โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2
1.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร 2
1.4 การปรับปรุงกฎหมาย 3
2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4
2.1 การลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร 4
2.2 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 7
2.3 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 8
2.4 เกษตรอินทรีย์ 10
2.5 ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 14
2.6 ธนาคารสินค้าเกษตร 18
2.7 การตรวจราชการ 18
3. งานตามนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 23
3.1โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาวิกฤตภัยแล้ง 23
3.2 การแก้ปัญหา IUU 31
3.3 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง 33
3.4 การลงพื้นที่ตรวจนับสต็อกนมโรงเรียน 33
3.5 พัฒนาสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 34
3.6 การจัดทา/พัฒนาทะเบียนเกษตรกร 35
3.7 จัดทาแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก 36
4. งานตามภารกิจ/กิจกรรมสาคัญของหน่วยงาน 37
4.1 กรมวิชาการเกษตร 37
4.2 กรมปศุสัตว์ 38
4.3 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 41
4.4 กรมประมง 45
4.5 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 48
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
4.6 สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 51
4.7 สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 54
4.8 องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย 57
4.9 องค์การสะพานปลา 59
4.10 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 59
4.11 สานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว(องค์การมหาชน) 61
4.12 องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร 65
5. งานการต่างประเทศ 68
5.1 การหารือและเยี่ยมคารวะ 68
5.2 การผลักดันสินค้าเกษตร 70
5.3 การพัฒนาความร่วมมือและการขยายการดาเนินงานด้านการเกษตรต่างประเทศ 71
5.4 อื่นๆ 74
งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจาก
รัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญของรัฐบาลที่จัดขึ้น
งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 11
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น
1.1 การเตรียมการจัดงาน “Startup Thailand 2016”
กรมวิชาการเกษตรได้เตรียมการจะนาผลงานของกรมเข้าร่วม งาน “Startup Thailand 2016”
ระหว่างวันที่ 28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยมี
กระทรวงวิทยาศาสตร์เป็นเจ้าภาพ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตร ได้เชื่อมโยง
นวัตกรรมด้านการเกษตรเข้ากับบัญชีนวัตกรรมและส่งเสริมให้นวัตกรรมไปถึงมือภาคเอกชนโดยผลิต
นวัตกรรมชุดตรวจสอบและชีวภัณฑ์กาจัดศัตรูพืช จากผลงานวิจัยและถ่ายทอดไปสู่ภาคเอกชน
เพื่อผลิตและจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ ดังนี้
- ชุดตรวจสอบไวรัสในกล้วยไม้
(บริษัทซีแพค อินเตอร์จากัด รับไปผลิต) ใช้ตรวจสอบคัดเลือกสายพันธุ์
กล้วยไม้ปลอดเชื้อไวรัส (PotyvirusCyMVและ ORSV) เพื่อผลิตกล้วยไม้
ปลอดโรค และส่งออก สามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเองภายใน 1-3 นาที
ราคาไม่เกินตลับละ 100 บาทซึ่งถูกกว่าการนาเข้า ถึง 5 เท่า
- ชุดตรวจสอบสารแอฟลาทอกซินสาเร็จรูป (ELISA test kit) (บริษัท
สยามอินเตอร์ควอลิตี้จากัด รับไปผลิต) ใช้ตรวจสอบสารแอฟลาทอกซิน
ในถั่วลิสง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ เป็นต้น ชุดตรวจ 1 ชุด
สามารถตรวจสอบได้ถึง 48 ตัวอย่าง ในเวลา 30 นาที มีความแม่นยา
และเที่ยงตรงเท่ากับวิธีในห้องปฏิบัติการ ราคาไม่ถึง 1,200 บาท
ต่อชุด ถูกกว่าการนาเข้า 9-10 เท่า
- ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (บริษัท
สามพราน ริเวอร์ไซด์ และ ไบโอ-อะกริ จากัด รับไปผลิต) ใช้ควบคุมแมลง
ศัตรูพืชได้มากกว่า 200 ชนิด ไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ไม่มีสารพิษ
ตกค้างสามารถเก็บในรูปฟองน้าและผงละลายน้าได้ โดยไส้เดือนฝอยมีความ
ทนทานต่อสารเคมีหลายชนิด และหนอนไม่สามารถสร้างความต้านทานต่อ
ไส้เดือนฝอยได้
- ชุดตรวจสอบไวรัสมันฝรั่ง (บริษัทไพฑูรย์สะพลี จากัด รับไปผลิต)
สามารถตรวจสอบไวรัสของมันฝรั่งได้ 2 ชนิดคือ Potato virus X (PVX) และ Potato virus Y (PVY)
ชุดตรวจสอบมีความแม่นยาและความไวสูง เทียบเท่ากับชุดนาเข้าจากต่างประเทศ อ่านผลได้ในเวลา 5นาที
จาหน่ายในราคา 100-120 บาท ซึ่งราคาถูกกว่าชุดที่นาเข้า 4 เท่า
- เหยื่อโปรโตซัวกาจัดหนู (บริษัทอะโกรฟิวเจอร์เทด จากัด รับไปผลิต)
ใช้โปรโตซัว (Sarcocytissingaporensis) ปราบหนูโดยชีววิธีทาให้หนู
ป่วยและตาย โดยที่มีความปลอดภัยต่อมนุษย์ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ที่กิน
หนูเป็นอาหาร ลดความสูญเสียและราคาญจากการทาลายผลผลิตใน
หลายด้านจากหนู
- เทคโนโลยีการยืดอายุการเก็บมังคุดเพื่อการส่งออกทางเรือ
(ถ่ายทอดในเชิงสาธารณะ) สามารถยืดอายุการเก็บรักษามังคุดให้เปลือกและกลีบเลี้ยงมีสภาพสดได้นาน
49 วัน (ในห้องควบคุมอุณหภูมิ +15 C) ซึ่งเป็นเวลาที่เพียงพอสาหรับขนส่งโดยเรือไปต่างประเทศ
เช่น ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และอเมริกา เป็นต้น
งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 12
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
1.2 โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้แผนปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
พ.ศ. 2558 – 2560 มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงในการประกอบอาชีพและ
เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยในปี 2559 มีเป้าหมายเป็นเกษตรกรในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ 4 จังหวัด (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ พื้นที่ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา) มีผลการ
ดาเนินงาน กิจกรรมหมู่บ้านเกษตรต้นแบบ ดาเนินการอบรมเกษตรกรแล้ว 2,590 ราย
1.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร
1.3.1 การดาเนินงานกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน
กองทุนจัดตั้งโดยการรวมเงินทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน
กองทุนหมุนเวียนเพื่อปลดเปลื้องหนี้สินเดิมของเกษตรกรที่ยากจน และกองทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยเหลือ
เกษตรกรและผู้ยากจนด้านหนี้สินและที่ดินเข้าด้วยกัน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์
2546 เป็นกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ยากจนหรือ
ผู้ยากจนโดยมีผลการปลดเปลื้องหนี้สิน จานวน 1,600 ราย เป็นจานวนเงิน 516,440,777 บาท
เนื้อที่ 7,844 – 3 - 31.5 ไร่ (ข้อมูล ณ 1 ตุลาคม 2558 - 31 มีนาคม 2559)
1.3.2 โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรด้วยการจาหน่ายหนี้เป็นสูญในกองทุนหรือ
เงินทุนในส่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2558 มีมติเห็นชอบโครงการการแก้ไขปัญหาหนี้สิน
เกษตรกร เป็นหนี้สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในกองทุนหรือเงินทุนในกากับดูแลของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ และหนี้สินโครงการส่งเสริมหรือสงเคราะห์ของรัฐซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นจากความผิดพลาดของเกษตรกร
โดยจาหน่ายหนี้เป็นสูญจาก 12 แหล่งเงิน ซึ่งมีเกษตรกร/องค์กรเกษตรกร รวม 27,770 ราย/แห่ง รวมเป็น
เงินจานวน 4,556 ล้านบาท และได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจาหน่ายหนี้สูญรวม 10 หลักเกณฑ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินการจาหน่ายหนี้สูญตามขั้นตอนแล้ว จานวน10,256ราย/แห่งเป็นเงิน
2,107.21 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46.25 ของเป้าหมาย
1.3.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตร (หนี้นอกระบบ)
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2558 นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการให้
กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาแนวทางการให้ความช่วยเหลือ
ประชาชนผู้มีรายได้น้อยและมอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดาเนินการ โดยใช้กลไกกองทุนหมุนเวียน
เพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน โดยมีผลดาเนินการดังนี้
งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 13
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
- เกษตรกรมายื่นคาร้อง จานวน 83,611 ราย จานวนเงิน 15,064.20 ล้านบาท
- ดาเนินการไกล่เกลี่ย โดยคณะทางานสอบสวนข้อเท็จจริงฯ จานวน 80,861 ราย จานวนเงิน
14,710.31ล้านบาทดาเนินไกล่เกลี่ยสาเร็จจานวน 50,915 ราย จานวนเงิน 9,279.22 ล้านบาท ดาเนินการ
ไกล่เกลี่ยไม่สาเร็จ จานวน 29,946 ราย จานวนเงิน 5,431.09 ล้านบาท เนื่องจากเจ้าหนี้/ลูกหนี้ไม่ให้
ความร่วมมือ ไม่มีเอกสารหลักฐาน หรือไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ
- ผลการปลดเปลื้องหนี้สิน โดยกองทุนหมุนเวียนฯ ผ่าน อชก. ส่วนต่างๆ ได้อนุมัติเงินกู้ให้แก่
เกษตรกรแล้วจานวน 261 ราย จานวนเงิน 65.19 ล้านบาท
1.4 การปรับปรุงกฎหมาย
สานักกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจรับผิดชอบในงาน
ด้านกฎหมาย และการพัฒนากฎหมายของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
1) วันที่ 1 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายได้ตรวจสอบกลั่นกรองเรื่องที่กรมส่งเสริมสหกรณ์
ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ซึ่งเป็นร่างกฎหมายตามแผนการเสนอกฎหมายของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อนาเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาลงนาม
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลงนามหนังสือเสนอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 มีนาคม
2559 แล้ว
2) วันที่ 4 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายได้จัดประชุมหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ทั้งหมด รวมทั้งสานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร สภาเกษตรกรแห่งชาติ และ
สัตวแพทยสภา เพื่อซักซ้อมความเข้าใจในการดาเนินการตามพระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม
ของกฎหมาย พ.ศ. 25๕8 ซึ่งพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาตรา 13 กาหนดว่า ในวาระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรี
ผู้รักษาการสั่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐมนตรีผู้รักษาการ
นั้นทั้งหมด แล้วแจ้งให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายทราบตามแบบ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ
พัฒนากฎหมายกาหนด ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ ซึ่งเรื่องนี้รัฐมนตรีฯ
ได้สั่งการตามมาตรา 13 แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้หน่วยงานต่างมีความเข้าใจและสามารถดาเนินการตามพระราช
กฤษฎีกาดังกล่าวได้ถูกต้อง และทันระยะเวลาที่กาหนด โดยหน่วยงานต่างๆ ได้ส่งข้อมูลให้สานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาทราบโดยตรงและรายงานให้กระทรวงฯ ทราบแล้ว
3) วันที่ 7-8 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายนัดประชุมเพื่อตรวจกลั่นกรองร่างกฎหมายของ
กรมวิชาการเกษตร จานวน 5 ฉบับ ได้แก่ ๑) ร่างพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๒) ร่างพระราชบัญญัติ
พันธุ์พืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๓) ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... 4) ร่างพระราชบัญญัติ
กักพืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๕) ร่างพระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่..) พ.ศ. .... และได้ส่งเรื่องคืน
กรมวิชาการเกษตรเพื่อทบทวนและแก้ไขใหม่ทั้ง 5 ฉบับ
4) วันที่ 1 – 31 มีนาคม 2559 ตรวจกลั่นกรองร่างกฎหมายลาดับรองที่เสนอ รมว.กษ. ลงนาม
จานวน 14 ฉบับ ได้แก่ กรมประมง 1 ฉบับ กรมปศุสัตว์ 7 ฉบับ กรมชลประทาน 3 ฉบับ สานักงาน
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 1 ฉบับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 1 ฉบับ สานักงาน
พัฒนาการวิจัยการเกษตร 1 ฉบับ
 งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2.1 การลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร
กรมวิชาการเกษตรได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอย่างถูกต้องเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืช
13 ชนิด (มันส้าปะหลัง อ้อยโรงงาน ปาล์มน้ามัน กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าว ทุเรียน มังคุด มะม่วง ส้มโอ ฝรั่ง
ชมพู่ และพืชผัก) โดยมีการจัดท้าแปลงศูนย์เรียนรู้ เป้าหมาย 300 ไร่ ด้าเนินการได้ 300 ไร่ และจัดท้า
แปลงต้นแบบในพืนที่เกษตรกร เป้าหมาย 2,848 ไร่ ด้าเนินการได้ 1,721 ไร่ / 476 ราย
นอกจากนี ได้ควบคุม ก้ากับดูแลร้านจ้าหน่ายปัจจัยการผลิตให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมายที่
กรมวิชาการเกษตรดูแล โดยกรมวิชาการเกษตรได้จัดท้าแผนปฏิบัติงานเชิงรุกเดือนเมษายน – พฤษภาคม
2559 เพื่อการปราบปรามปุ๋ยปลอม จัดท้าแผนที่โรงงานพืนที่ จัดล้าดับการเข้าตรวจโดยวิเคราะห์
จากความเสี่ยงของการกระท้าที่พบ และติดตามความคืบหน้าของคดี เป้าหมายการด้าเนินงาน 24,340
รายด้าเนินการได้ 21,756 ราย มีผลการด้าเนินงานคิดเป็น 89.38 % โดยได้ด้าเนินงาน ดังนี
 ได้เข้าจับกุมและด้าเนินคดีกับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย รวม 10 ราย ยึดของกลางทังหมด
346.32 ตัน เป็นมูลค่า 26.25 ล้านบาท ซึ่งความคืบหน้าของคดีอยู่ในชันพนักงานสอบสวน
 มูลความผิดคือผลิตหรือมีไว้ครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 /ผลิตปุ๋ยอินทรีย์โดยไม่ได้
รับอนุญาต/ผลิตและขายปุ๋ยที่ต้องขึนทะเบียนแต่ไม่ได้ขึนทะเบียน
 ตรวจรับรองร้านค้า Q Shop ณ ปัจจุบัน จ้านวน 2,691 ร้านค้า
 ผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างจากร้านค้า/แหล่งผลิต พบว่าตัวอย่างปุ๋ย 368 ตัวอย่าง
ผ่านมาตรฐาน 74 % วัตถุอันตราย 305 ตัวอย่าง ผ่านมาตรฐาน 95 % และเมล็ดพันธุ์พืช 146 ตัวอย่าง
ผ่านร้อยละ 98 %
เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี
ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
อ้าเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อน
นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือกับ
นายทวีศักดิ์ พลายเมือง เจ้าของศูนย์ฯ นายสมพร จักรพงษ์ เศรษฐกิจ
การเกษตรอาสา (ศกอ.) อ้าเภอเคียนซา เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุน
การผลิต การคาดการณ์ผลผลิตปาล์มน้ามันและไม้ผลในพืนที่
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 15
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8
จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมเกษตรกร หมู่ที่ 8 ต.มะลวน อ้าเภอพุนพิน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบาย
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ
โดยร่วมหารือกับนายสนธยา ด้าดี ศกอ.อ้าเภอ
พุนพิน และเกษตรกรในพืนที่ เพื่อหาแนวทางการ
ลดต้นทุนการผลิตยางพารา การจัดหาแหล่งน้า
ในช่วงหน้าแล้ง และการสร้างรายได้จากพืชเสริม
วันที่ 8 มีนาคม 2559 นายโฆสิต วิโรจน์เพ็ชร ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
12 จังหวัดนครสวรรค์ (สศท.12) ลงพืนตรวจเยี่ยมเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.หาดทนง อ้าเภอเมือง จังหวัด
อุทัยธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือ
กับนายกัมพล ทองเพชร ศกอ.อ้าเภอเมือง และเกษตรกรในพืนที่ เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช
ปฏิทินการผลิตพืช ราคาสินค้าเกษตร และการสร้างรายได้จากพืชเสริม
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 16
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
วันที่ 14 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จ.อุดรธานี ร่วมกับเศรษฐกิจ
การเกษตรอาสา (ศกอ.) ร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจการเกษตร การท้าเกษตรโดยใช้ตลาดน้า
การลดต้นทุนการผลิต ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตรเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจท้าการผลิต
สินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตรอ้าเภอเฝ้าไร่ และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ้าเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด
หนองคาย
วันที่ 30 มีนาคม 2559 นายบุญลาภ โสวัณณะ ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
6 ส่วนแยกจังหวัดฉะเชิงเทรา ชีแจงแนวทางการด้าเนินงานมาตรการลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มโอกาส
ในการแข่งขัน แก่เจ้าหน้าที่ส้านักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราระดับจังหวัด ระดับอ้าเภอ และระดับต้าบล
ณ ห้องประชุมส้านักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 17
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด้าเนินงานโครงการส่งเสริมการให้บริการ
เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนสมาชิก (Motor Pool) ด้วยการอุดหนุนเครื่องจักรกล (รถเกี่ยว
นวดข้าว และเครื่องสีข้าวโพดเลียงสัตว์พร้อมอุปกรณ์) ให้กับสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 19 แห่ง ซึ่งได้รับ
มอบเครื่องจักรกลครบแล้วทัง 19 แห่งสหกรณ์ให้บริการเครื่องจักรกลแก่สมาชิก ดังนี
1) สหกรณ์ที่ผลิตข้าวในพืนที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด เพชรบุรี และชัยนาท
ให้บริการรถเกี่ยวข้าวได้ในช่วงปลายฤดูกาลเก็บเกี่ยว โดยให้บริการสมาชิกแล้ว 86 ราย พืนที่ 1,438 ไร่
ส่งผลให้สมาชิกสามารถลดต้นทุนการเก็บเกี่ยวได้ไร่ละ 100 - 300 บาท
2) สหกรณ์ที่ผลิตข้าวโพดในพืนที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้บริการเครื่องสีข้าวโพดแก่สมาชิกแล้ว
56 ราย พืนที่รับบริการ 640 ไร่ ปริมาณข้าวโพดที่ใช้บริการสี 350 ตัน
2.2 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning)
กรมวิชาการเกษตรได้ให้บริการวิชาการในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชโดยการถ่ายทอด
เทคโนโลยีให้กับเกษตรกร 5 ชนิดพืช (มันส้าปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ามัน ล้าไย ข้าวโพดเลียงสัตว์)
โดยปัจจุบันมีการด้าเนินงานในพืนที่จังหวัดต่างๆ ได้แก่ 1) มันส้าปะหลัง ด้าเนินการในพืนที่จังหวัดอุทัยธานี
ฉะเชิงเทรา อุตรดิตถ์ ชัยนาท ตาก สุโขทัย ล้าปาง กาญจนบุรี นครสวรรค์ ราชบุรี จันทบุรี และปราจีนบุรี
2) อ้อย ด้าเนินการในพืนที่จังหวัดอุทัยธานี ราชบุรีนครสวรรค์ และปราจีนบุรี 3) ปาล์มน้ามัน ด้าเนินการ
ในพืนที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสุราษฎร์ธานี 4) ล้าไย ด้าเนินการ
ในพืนที่จังหวัดล้าปาง เชียงรายเชียงใหม่ ล้าพูน แพร่ พะเยา และ น่าน 5) ข้าวโพดเลียงสัตว์ด้าเนินการ
ในพืนที่จังหวัดพิษณุโลก ก้าแพงเพชร ตาก เพชรบูรณ์ อุทัยธานี สุโขทัย
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 18
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
2.3 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตรได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชที่เหมาะสม
ให้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ / เกษตรกร 27 จังหวัด 12 ชนิดพืช (มันส้าปะหลัง, อ้อยโรงงาน, ทุเรียน,
มังคุด, ฝรั่ง, ชมพู่, มะพร้าว, ปาล์มน้ามัน Nicha RungLife, ผักชีวินทรีย์, กาแฟ และมันฝรั่ง)
รวมทังตรวจรับรองมาตรฐานแหล่งผลิตพืช (GAP) ตามเป้าหมายแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมการเกษตร
เป้าหมาย 3,497 แปลง/ 30 จังหวัด ด้าเนินการได้ 1,109 แปลง/1,025 ราย/16 จังหวัด/7,560 ไร่
โดยผลการตรวจรับรองแปลงคิดเป็นร้อยละ 31.71 ผ่านการรับรอง 370 แปลง/364 ราย 12 จังหวัด/
พืนที่ 2,307 ไร่ จ้าแนกเป็นล้าไย 1,974 ไร่/ ทุเรียน 1020 ไร่/มะม่วง 482 ไร่/เงาะ 353 ไร่/ปาล์มน้ามัน
211 ไร่/พืชผัก 210 ไร่/สับปะรด 208 ไร่/มังคุด 98 ไร่
นอกจากนี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้ด้าเนินการสอนแนะ/อบรม การจัดท้าบัญชีต้นทุนอาชีพ
แก่เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ (แปลง
ต้นแบบและแปลงทั่วไป) โดยการ
บูรณาการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงาน
ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้
เห็นประโยชน์ของการจัดท้าบัญชี
รับทราบผลก้าไรขาดทุน และสามารถน้า
ข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการวิเคราะห์
เพื่อลดต้นทุนการประกอบอาชีพได้
จ้านวน 187 แปลง 17,123 ราย
การจัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนเกษตรแปลงใหญ่ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรแปลงใหญ่เป็น
การส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต และการบริหารจัดการร่วมกัน ให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง
ในการด้าเนินงาน ผลักดันให้เกษตรกรรวมกลุ่มในการผลิตเพื่อลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ตลอดจนการจัดการด้านการตลาด เพื่อให้เกิดอ้านาจการต่อรอง โดยด้าเนินการในลักษณะบูรณาการ
ร่วมกันทุกหน่วยงาน ได้ด้าเนินการแปลงใหญ่ใน 76 จังหวัด จ้านวน 268 แปลง พืนที่รวม 662,669 ไร่
เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 29,169 ครัวเรือน สินค้าจ้านวน 31 สินค้า แบ่งเป็น ข้าว 142 แปลง พืชไร่ 42
แปลง ปาล์มน้ามัน/ยางพารา 15 แปลง ไม้ผล 37 แปลง ปศุสัตว์ 12 แปลง ประมง 9 แปลง ที่เหลือเป็น
พืชผักสมุนไพร ไม้ดอก ไม้ประดับ หม่อนไหม และ กาแฟ
ทังนี การด้าเนินงาน ใน 76 จังหวัด 76 แปลง ประชารัฐ จะเน้นจังหวัดละ 1 แปลง
เพื่อขับเคลื่อนแปลงใหญ่ให้เกิดเป็นรูปธรรม เชื่อมโยงการท้างานระหว่าง เกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
สามารถใช้เป็นต้นแบบให้กับแปลงอื่นๆ ในจังหวัดต่อไปได้ เงื่อนไขส้าคัญที่ 76 แปลง จะต้องด้าเนินการคือ
พืช
กิจกรรม
จัดทาแปลง
ศูนย์เรียนรู้ (ไร่)
จัดทาแปลงต้นแบบ ฝึกอบรม
เกษตรกร(ราย)จานวนเกษตรกร(ราย) พื้นที่(ไร่)
มันส้าปะหลัง 87 86 278 474
อ้อย 3 10 10 102
ปาล์มน้ามัน 57 110 550 354
ล้าไย 14 40 260 90
ข้าวโพดเลียงสัตว์ - 10 50 307
รวม 161 256 1,148 1,327
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 19
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
มีแผนลดต้นทุนการผลิต แผนการเพิ่มผลผลิต แผนเพิ่มคุณภาพผลผลิต แผนการตลาดที่ชัดเจน และแผน
บริหารจัดการซึ่งแปลงที่ยังไม่สมบูรณ์จะต้องพัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์ ภายในเดือนเมษายน 2559
ได้มีการจัดประชุมขับเคลื่อนงานเกษตรแปลงใหญ่ โดยมีผู้บริหารของทุกหน่วยงานในสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ซึ่งหลังจากการประชุมได้
ก้าหนดให้ทุกหน่วยงานตรวจสอบพืนที่แปลงใหญ่แต่ละหน่วยงานพร้อมหารือถึงแนวทางในการด้าเนินการ
ให้ถูกต้อง
กรมประมงจึงได้จัดท้าโครงการ “ปรับปรุงโครงสร้างระบบการเลียงเพื่อพลิกฟื้นการผลิตกุ้ง และ
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันอุตสาหกรรมการผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทยอย่างยั่งยืน” ดร.จูอะดี
พงศ์มณีรัตน์ รองอธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่าแม้ว่าขณะนีสถานการณ์โรคตายด่วน(อีเอ็มเอส) เริ่มส่ง
สัญญาณในทิศทางที่ดีขึน โดยปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้ผลผลิตกระเตืองขึนมาจากการที่เกษตรกรมีการปรับระบบ
การบริหารจัดการฟาร์มที่ดีขึน เนื่องจากสาเหตุหลักของการเกิดอีเอ็มเอสเป็นเชือแบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ
ที่เติบโตและขยายพันธุ์ด้วยการใช้ของเสียที่สะสมอยู่ในบ่อเลียงกุ้ง โดยแนวทางในการแก้ไขปัญหานัน
จะต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างบ่อเลียงกุ้งให้สามารถก้าจัดของเสียได้ด้วยการดูดสารอินทรีย์ ของเสีย และกุ้ง
ที่อ่อนแอออกจากบริเวณที่สะสมกลางบ่อเพื่อน้ามาจัดการบ้าบัดข้างนอกบ่อเลียง และน้าน้าที่ก้าจัดของเสีย
แล้วหมุนกลับไปใช้ในการเลียงใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะท้าให้บ่อกุ้งมีสุขอนามัยที่ดีขึน เชือโรคไม่สามารถ
ขยายตัวได้ กุ้งมีความแข็งแรงสุขภาพดี และอัตรารอดของกุ้งที่เลียง รวมถึงผลผลิตก็จะเพิ่มสูงขึน อีกทัง
ต้นทุนการผลิตกุ้งในฟาร์มยังลดต่้าลง ดีกว่าระบบดังเดิมที่เคยใช้ในอดีตอย่างไรก็ตาม การจัดการเลียงกุ้งใน
รูปแบบใหม่นีเกษตรกรจ้าเป็นต้องลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างฟาร์มให้เป็นไปตามระบบดังกล่าว กรมประมง
จึงได้จัดท้าโครงการ “ปรับปรุงโครงสร้างระบบการเลียงเพื่อพลิกฟื้นการผลิตกุ้ง และเพิ่มขีดความสามารถ
การแข่งขันอุตสาหกรรมการผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทยอย่างยั่งยืน” ขึนเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการคณะ
นโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) พิจารณา ซึ่งล่าสุดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2559 ที่ผ่านมา
ที่ประชุม คชก. ครังที่ 1/2559 ได้มีมติเห็นชอบโครงการฯ ดังกล่าว พร้อมอนุมัติวงเงิน 92.70 ล้านบาท
เพื่อลดภาระดอกเบียแก่เกษตรกรผู้เลียงกุ้งทะเล โดยแบ่งเป็นวงเงินชดเชยดอกเบียเงินกู้ให้เกษตรกรผู้เลียง
กุ้งที่กู้ยืมเงินไปปรับปรุงโครงสร้างพืนฐานฟาร์มเลียงให้เข้าสู่ระบบการจัดการฟาร์มที่มีระบบบ้าบัดน้า
หมุนเวียนขนาดเล็ก จ้านวน 90 ล้านบาท ผ่านสินเชื่อของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.)
และธนาคารของรัฐ ในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี จ้านวนไม่เกิน 1,000 ราย
รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท และเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานและบริหารโครงการฯ จ้านวน 2.70 ล้านบาท
ทังนี เพื่อปรับโครงสร้างพืนฐานฟาร์มให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิต รวมถึงลดต้นทุนการผลิต ซึ่งจะส่งผลให้ได้ผลผลิตกุ้งมีปริมาณเพิ่มขึน สร้างความเชื่อมั่นให้ตลาด
ต่างประเทศหันกลับมาสั่งซือผลิตภัณฑ์กุ้งจากประเทศไทยเช่นเดิมโดยคาดว่าจะมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
ประมาณ 1,000 ราย สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตคิดเป็นพืนที่กว่า 40,000 ไร่ทังนี เกษตรกรที่
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 110
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ดังกล่าวสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันวิจัยและพัฒนาการ
เพาะเลียงกุ้งทะเล กรมประมง โทร.0 2562 0552 ตังแต่บัดนีเป็นต้นไป
2.4 เกษตรอินทรีย์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยส้านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ร่วมจัดนิทรรศการด้านเกษตรอินทรีย์ ในงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจ้าปี 2559 "คนไทยใจเกษตร"
เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายภาคการเกษตรของไทย และเป็นการประชาสัมพันธ์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และ
สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องด้านเกษตรอินทรีย์ให้กับผู้ผลิต เกษตรกร และเยาวชน ทังในเรื่องการผลิต
และการรับรองสินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมถึงสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค ในระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์
ถึง 6 มีนาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
1) ส้านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) จัดกิจกรรมท่องเที่ยวสวนเกษตร
เพื่อพาผู้บริโภคศึกษาดูงานไร่ทนเหนื่อย “ชม” การท้าเกษตรอินทรีย์ “ชิม” อาหารอร่อย ปลอดภัยมาตรฐาน
คิว เรสเตอรองค์ ร้านไทยสว่างเรือนไทย “ช้อปปิ้ง” สินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐาน ณ จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่
19 มีนาคม 2559 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สินค้าเกษตรอินทรีย์สู่ผู้บริโภค สร้างความเชื่อมโยง
ระหว่างเกษตรกร ผู้ผลิตและผู้บริโภค ท้าให้ผู้บริโภคเกิดความรู้ความเข้าใจในระบบการผลิตสินค้าเกษตร
ของเกษตรกร สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและส่งผลท้าให้เกษตรกรมีก้าลังใจในการผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพ
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 111
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตรได้สร้างศูนย์ต้นแบบปุ๋ยอินทรีย์
เติมอากาศ และให้การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ด้านพืช ดังนี
 สร้างศูนย์ต้นแบบผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบเติมอากาศ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของ
หน่วยงานภาครัฐ เกษตรกร และผู้ประกอบการ เป้าหมาย 25 แห่ง ด้าเนินการแล้ว 25 แห่ง ดังนี
ด้าเนินการก่อสร้างเสร็จแล้ว 23 โรง ได้แก่ เชียงใหม่ พิจิตร มุกดาหาร ร้อยเอ็ด กระบี่ (2 โรง) พังงา ตรัง
ชัยนาท เชียงราย สุโขทัย ชุมพร กาญจนบุรี จันทบุรี เลย สุราษฎร์ธานี ตาก ปราจีนบุรี อุทัยธานี สงขลา
นครศรีธรรมราช นราธิวาส และอยู่ระหว่างด้าเนินการก่อสร้าง 2 โรง ได้แก่ แม่ฮ่องสอน โนนสูง ซึ่งปัจจุบัน
ด้าเนินการผลิตปุ๋ยหมักแล้วจ้านวน 13 ศูนย์ มีปริมาณปุ๋ย 173.8 ตันอยู่ระหว่างการหมัก
 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้กับหน่วยงานภาครัฐ เกษตรกรต้นแบบ
เป้าหมาย 5,250 ราย ด้าเนินการได้ 3,285 ราย
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 112
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
 ตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ เป้าหมาย 1,500 ฟาร์มด้าเนินการได้ 1,150
ฟาร์ม ผ่านมาตรฐาน 982 ฟาร์ม พืนที่ 15,219 ไร่ พืนที่สูงสุด 4 ล้าดับแรก คือ
- พื ช ผั ก พื น ที่
4,678.27 ไร่ จ.เชียงใหม่ ล้าพูน เชียงราย
เพชรบูรณ์ กาฬสินธุ์ นครปฐม ปทุมธานี
ลพบุรี สระบุรี นครนายก อ่างทอง สุพรรณบุรี
- ชา พืนที่ 2,753 ไร่
จ.เชียงใหม่ เชียงราย น่าน
- พืชผสมผสาน
พืนที่ 1,524.10 ไร่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ก้าแพงเพชร สุโขทัย ขอนแก่น กาฬสินธุ์
หนองคาย อุดรธานี เลย สกลนคร นครราชสีมา บุรีรัมย์ ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี
จันทบุรี ตราด
- ไม้ผล พืนที่ 1,416.16 ไร่ จ.เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ สกลนคร กาญจนบุรี ราชบุรี
นครนายก อ่างทอง เพชรบุรี จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง
 ตรวจรับรองการคัดบรรจุพืชอินทรีย์ เป้าหมาย 49 โรง ด้าเนินการได้ 14 โรง
 ตรวจติดตามเฝ้าระวัง เป้าหมาย 150 แปลง ด้าเนินการได้ 29 แปลง
เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 เจ้าหน้าที่
ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4 จังหวัดขอนแก่น
(สศท.4) ร่วมออกพืนที่ติดตามเฝ้าระวังและควบคุม
มาตรฐานสินค้าเกษตรจังหวัดขอนแก่นและตรวจสอบ
เครื่องหมาย Q (สีเขียว) ร่วมกับหน่วยงานสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในโครงการจัดทีมออก
ติดตามเฝ้าระวังและควบคุมมาตรฐานสินค้าเกษตร
จังหวัดขอนแก่น โดยในช่วงเช้าออกติดตามกลุ่ม
ผู้ปลูกผักปลอดภัยที่แก่งละว้า อ.บ้านแฮด
จ.ขอนแก่น และกลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัยจากสารเคมี
บ้านชีกกค้อ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
ส้าหรับในช่วงบ่ายออกตรวจสอบเครื่องหมาย Q
(สีเขียว) ที่ห้างโลตัสเอ็กตร้า สาขาขอนแก่น และ
Top Supper Market ภายในห้างเซ็นทรัลขอนแก่น
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 113
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
การดาเนินการของกรมประมง ดังนี้
วันที่ 10 – 11 กุมภาพันธ์ 2559 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ของจังหวัด
สุรินทร์ และจังหวัดยโสธร ณ โรงแรมทองธารินทร์ จ้านวน 100 ราย
วันที่ 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2559 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ของจังหวัด
ร้อยเอ็ด จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ณ โรงแรมเพชรรัตน์ จ้านวน 150 ราย
โดยการฝึกอบรมนีจะท้าให้เกษตรกรสามารถผลิตสัตว์น้าตามมาตรฐานอินทรีย์ ตังแต่การผลิต ดูแล
คุณภาพ จนจับผลผลิต และสามารถเข้ารับการตรวจประเมิน เมื่อปล่อยพันธุ์สัตว์น้าเป็นระยะเวลา 180
วัน ประเมินแบบการมีส่วนร่วมแบบกลุ่ม (รับผิดชอบความเป็นผลผลิตอินทรีย์ร่วมกัน)
หน่วยงานในพืนที่ประมงจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
จังหวัดมหาสารคาม ส้ารวจความพร้อมในการลงแปลง เพื่อผลิตสัตว์น้าฯ ตามมาตรฐานอินทรีย์ ผลการลง
พืนที่เกษตรกรยังไม่พร้อมปล่อยพันธุ์สัตว์น้า เนื่องจากต้องรอฤดูฝน จึงสามารถเร่งกระบวนการผลิตได้
วันที่ 2 มีนาคม 2559 มีการประชุมร่วมระหว่างส่วนโครงการพิเศษฯ ที่รับผิดชอบบริหารโครงการ
กับกองพัฒนาระบบมาตรฐานสินค้าประมง เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมินให้กับกลุ่มเกษตรกร
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 114
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
2.5 ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
2.5.1 กรมวิชาการเกษตร ได้สนับสนุน
ข้อมูลวิชาการและเอกสารวิชาการเทคโนโลยีการผลิตพืช
อย่างถูกต้องและเหมาะสม 16 ชนิดพืชและข้อมูลเตือนภัย
ศัตรูพืชกระจายอยู่ในทุกอ้าเภอทั่วประเทศเป้าหมาย 882
ศูนย์ ด้าเนินการได้ 882 ศูนย์ โดยสามารถสนับสนุน
เอกสารวิชาการแล้ว 17,053 เล่ม/ โปสเตอร์ 912 แผ่น/
แผ่นพับ 79,703 แผ่น/เมล็ดพันธุ์พืชไร่พืชผัก 474 กก./
953 ซอง ต้นพันธุ์พืชสวน 1,038 ต้น ท่อนพันธุ์อ้อย
มันส้าปะหลัง 52,950 ท่อน/ปุ๋ยเคมี 2,130 กก.
สนับสนุนการเป็นวิทยากรในศูนย์เรียนรู้ อบรม 57 หลักสูตร
2,258 รุ่น เป็นเกษตรกร 112,906 ราย โดยมีข้อสังเกตจากการ
ติดตามงาน ได้แก่ 1) ศพก. บางแห่งยังขาดข้อมูลเฉพาะด้าน เช่น
การผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิตข้าวหอมมะลิ การผลิตลินจี่ การแปรรูป
พริก การลดต้นทุนพริก เป็นต้น 2) เกษตรกร ใช้สารเคมีก้าจัด
ศัตรูพืช ปุ๋ยเคมีไม่ถูกต้อง 3) เกษตรกรขาดตลาดรับซือผลผลิต
4) เกษตรกรขาดเครื่องมือเก็บเกี่ยว 5) เกษตรกรบางรายขาด
เอกสารสิทธิ์ที่ดิน
2.5.2 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้ให้ความรู้ในการจัดท้าบัญชีแก่เกษตรกรสมาชิกศูนย์
เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เพื่อให้เกษตรกรเห็นประโยชน์ของการจัดท้าบัญชี
และสามารถน้าข้อมูลบัญชีไปใช้ในการประกอบอาชีพและสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ ด้าเนินการแล้ว ดังนี
- จัดหาครูบัญชีอาสาประจ้าศูนย์เรียนรู้ จ้านวน 859 ราย
- พัฒนาฐานเรียนรู้ด้านบัญชีประจ้าศูนย์เรียนรู้ จ้านวน 377 ฐาน
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 115
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
2.5.3 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ดาเนินการ ดังนี้
1) เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อ้านวยการส้านักงาน
เศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิต อ้าเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือกับนายทวีศักดิ์ พลายเมือง เจ้าของศูนย์ฯ นายสมพร จักรพงษ์ ศกอ.
อ้าเภอเคียนซา เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุนการผลิต การคาดการณ์ผลผลิตปาล์มน้ามันและไม้ผลในพืนที่
2) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จ.อุดรธานี
ร่วมกับเศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) ร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจการเกษตร การท้าเกษตรโดยใช้
ตลาดน้า การลดต้นทุนการผลิต ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตรเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจท้า
การผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
สินค้าเกษตรอ้าเภอเฝ้าไร่ และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ้าเภอศรีเชียงใหม่
จังหวัดหนองคาย
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 116
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
3) เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก
(สศท.2) น้าโดย นายชีวิต เม่งเอียด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ กลุ่มสารสนเทศการเกษตร
ออกตรวจเยี่ยมโครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง และ
ปัญหาราคาสินค้าเกษตร ปี 2558/59 ณ ศูนย์เรียนรู้ (ศพก.) ของนายเสาร์ ปรีชาวนา ต้าบลชัยนาม
อ้าเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เข้ารับการอบรมในหัวข้อสารสนเทศ
เพื่อการผลิต ร่วมกับนายเฉลิม พันธุ์ศรี เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) ทังนี มีผู้เข้าร่วมอบรมทังสิน 50 คน
4) เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2559 นายคมสัน จ้ารูญพงษ์ รองเลขาธิการส้านักงาน
เศรษฐกิจการเกษตร เดินทางตรวจเยี่ยมและติดตามงานของส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 จังหวัด
อุบลราชธานี (สศท.11) โดยมีนายไพฑูรย์ สีลาพัฒน์ ผอ. สศท.11 และข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ให้การต้อนรับ
ทังนี ในช่วงบ่าย รองเลขาธิการฯ ได้ลงพืนที่ติดตามการท้างานของ ศกอ. (นายพนม พิมพ์รัตน์) ที่ร่วมบูรณาการ
ศพก. อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี
2.5.4 กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดการอบรมเกษตรกร โดยศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์
เรียนรู้เครือข่าย ได้ด้าเนินโครงการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพ
การผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง
ปี 2558/59 และจากปัญหาราคาสินค้าเกษตร เพื่อให้
เกษตรกรได้ฝึกอบรมเรียนรู้ ฝึกวิธีคิดการพัฒนาตนเองและ
สามารถปรับตัวอยู่ร่วมบริบทสังคมเศรษฐกิจ ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน อีกทัง
เป็นการวางรากฐานการพัฒนาการเกษตรในระยะยาว
เกิดความรู้ความเข้าใจและร่วมการขับเคลื่อนประเทศตาม
แนวทางประชารัฐ ช่วยให้เกษตรกรสามารถด้ารงชีพได้
ในช่วงวิกฤตภัยแล้ง สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน
และสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายเกษตรกรที่รับการ
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 117
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
ฝึกอบรม โดยจัดฝึกอบรมแล้วทังสิน 208,088 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.37 จากเป้าหมาย 220,500 ราย
ซึ่งหลังจากเข้ารับการอบรมเกษตรกรได้ประโยชน์สามารถลดต้นทุนในการผลิตต่างๆ ได้ เช่น การผลิตปุ๋ยใช้ใน
การเกษตร การเก็บเมล็ดพันธุ์พืชไว้ใช้เอง และการผลิตสารอินทรีย์ไล่แมลง
2.5.5 กรมประมง ได้ด้าเนินการโครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตร และศูนย์เรียนรู้เครือข่ายด้านประมง
1) เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 กองพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง
ได้ปรับแผนการสนับสนุนศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า จ้านวน 336 จุด ทั่วประเทศ
(วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 โอนสนับสนุนจังหวัด 144 แห่ง (วงเงิน 432,000 บาท) วันที่ 18 กุมภาพันธ์
2559 แจ้งจังหวัดด้าเนินการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ วันที่ 5 มีนาคม 2559ศูนย์เรียนรู้ฯ จ้านวน 144 แห่ง
ในเขตภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ)
2) เมื่อวันที่ 1 – 28 มีนาคม 2559 สนับสนุนวิทยากรในการอบรมเกษตรตาม
นโยบายแก้ปัญหาภัยแล้ง จ้านวน 882 ศูนย์ ใน 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 3 – 4 ผลการ
ด้าเนินการเกษตรกรมีความรู้ในการระวังป้องกันผลผลิตที่จะกระทบเมื่อเกิดสถานการณ์ภัยแล้ง อุทกภัย
และมีความเข้าใจในการบริหารจัดการ ผลผลิตสัตว์น้าในแปลงของตนเองได้ดีขึน
2.5.6 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด้าเนินการให้ความรู้และแนวคิดตามหลักการรวมกลุ่ม
แบบสหกรณ์แก่เกษตรกรที่เข้ารับการอบรมในโครงการอบรม
เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจาก
ภัยแล้ง ปี 2558/59 เพื่อสร้างชุมชนให้เข้มแข็งด้วยวิถี
สหกรณ์ ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้เรื่อง “ชุมชนเข้มแข็งด้วยวิถี
สหกรณ์” มีเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ จ้านวน
61,880 ราย ภายใต้การด้าเนินการในศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จ้านวน 365 ศูนย์ และ
หลังจากการถ่ายทอดความรู้ กรมส่งเสริมสหกรณ์มีแผนในการ
จัดกิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มและด้าเนินกิจกรรมกลุ่มของ
เกษตรกรในพืนที่ ศพก. ทัง 882 ศูนย์ อย่างต่อเนื่องต่อไป
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 118
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
2.6 ธนาคารสินค้าเกษตร
ณ เดือนมีนาคม 2559 ยังไม่ปรากฏผลการด้าเนินงาน
2.7 การตรวจราชการ
2.7.1 ติดตามการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จใน
6 มาตรการ
1) นางกุลรัศมิ์ อนันต์พงษ์สุข ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 14
ลงพืนที่ติดตามการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จใน 6 มาตรการ
ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ. ของเขตตรวจราชการที่ 14 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสินค้าเกษตรของนายปาน เงินไทย ตาบลถลุงเหล็ก อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จากการลงพืนที่
พบว่าศูนย์ชุมชนนีเน้นการปลูกข้าวเป็นหลัก พืนที่18 ไร่ (ข้าวมะลิ ข้าวหอมนิล และข้าวหอมแดง) และยัง
มีพืนที่ปลูกอ้อยอีก 3 ไร่ โดยมีการน้าเอาผลผลิตมาแปรรูปท้าเป็นน้าตาลปึก เพิ่มมูลค่า
มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพทอผ้า โฮมสเตย์ ท้ากระถางต้นไม้
2) นายธนิตย์ เอนกวิทย์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 10,12
เดินทางไปตรวจติดตามการด้าเนินงานตามนโยบายของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสถานการณ์ภัยแล้งในศูนย์ฯ
(ศพก.) พื้นที่ จ.อุดรธานี และ จ.หนองคาย
ในการนี ผตร.ธนิตย์ฯ ได้แจ้งถึงความห่วงใย
ของรัฐบาลและกระทรวงเกษตรฯ ในการมุ่งท้างานให้เกิดผล
สร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึนแก่พี่น้องเกษตรกร ส้าหรับช่วงนี
สถานการณ์น้าน้อย มีสภาพแล้ง ขอให้ช่วยกันใช้น้าอย่างรู้
คุณค่า ใช้ประโยชน์พืนที่ และสร้างรายได้ตลอดปี
3) นางนฤมล พนาวงศ์ ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขต 2,18 ได้เดินทางไปจังหวัดชัยนาท
เพื่อตรวจติดตามงานตามแผนการตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ และงานส้าคัญตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นโยบายการลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร พบว่า
คณะท้างาน Single Command มีการประชุมร่วมกับพาณิชย์จังหวัด
เพื่อขอความร่วมมือภาคเอกชน/ร้านค้าในการลดปัจจัยการผลิตด้าน
พืช/ประมง/ปศุสัตว์ มีการขับเคลื่อนงานการลดค่าเช่าที่ดินในเขต
ส.ป.ก. และที่ราชพัสดุ รวมทังการให้สินเชื่อและขยายระยะเวลา
งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 119
รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559
การช้าระหนีให้แก่เกษตรกร ส่วนในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตมีการส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงดิน
การใช้สารอินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมี และการขุดสระน้าในไร่นานอกเขตชลประทาน
4) นายนาชัย พรหมมีชัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขตตรวจราชการที่
3,9 เดินทางไปราชการในเขตตรวจราชการที่ 3 และ 9 เพื่อเข้าร่วมประชุมและติดตามงานนโยบายของ
รัฐบาลเร่งด่วน 6 มาตรการ และลงพืนที่ติดตามการ
เปิดจุดรับซือยาพาราของรัฐบาล จ้านวน 100,000
ตัน ตาม “โครงการส่งเสริมการใช้ยางในหน่วยงาน
ภาครัฐ”
และมีข้อเสนอแนะให้ กยท. ประสานงานกับ
เกษตรจังหวัดอย่างใกล้ชิดในการจ่ายเงินให้เกษตรกรที่
มีเอกสารถูกต้องครบถ้วนโดยเร็ว และที่เหลือให้ก้าหนด
เป้าหมายในการบริหารจัดการเป็นรายวัน และให้ ธกส.
โอนเงินให้เกษตรกร ให้ได้เป้าหมาย 85 %
5) นางปาริชาติ ศรีวิพัฒน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขต 17 ได้ลงพืนที่
ตรวจเยี่ยมการด้าเนินงานโครงการที่สาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ จังหวัดเพชรบูรณ์ จากการ
ลงพืนที่ได้ให้ข้อเสนอแนะให้กลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกกะหล่้าปลีบนภูทับเบิกเขียนโครงการเพื่อของบสนับสนุน
จากงบพัฒนาจังหวัดและให้บูรณาการหน่วยงาน ร่วมกันภายใต้ Single Command และให้ศูนย์วิจัยฯ จัดท้า
Application ของหน่วยงาน เช่น เว็บไซต์ ให้ update เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายท้าป้าย Cut out
ประชาสัมพันธ์ผลงานเด่น และประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ รวมทังบูรณาการการท้างานร่วมกับหน่วยงานอื่น
และให้มีการวิเคราะห์ศักยภาพความเหมาะสมของพืนที่ เกษตรกรและการตลาดก่อนส่งเสริมการปลูกพืช
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559

More Related Content

Similar to รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559

รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559Ministry of Agriculture and Cooperatives
 

Similar to รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559 (10)

รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมิถุนายน 2560
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2560
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมกราคม 2560
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนเมษายน 2560
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
 
20150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-201520150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-2015
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2559
 
20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm
 

รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนมีนาคม 2559

  • 2. คำนำ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) ได้มีบัญชาให้หน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ โดยให้แยกเป็นกลุ่มงาน เพื่อ ใช้ประโยชน์ในการจัดทารายงานตามวงรอบของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และใช้ในการประชาสัมพันธ์ ผลงานของกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดทารายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ ประจาเดือนขึ้น โดยประมวลจัดทาผลงานจากข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ซึ่งแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 กลุ่มงาน ได้แก่ 1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญของรัฐบาลที่จัดขึ้น 2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. งานตามนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. งานตามภารกิจ/กิจกรรมที่สาคัญของหน่วยงาน 5. งานการต่างประเทศ สาหรับในฉบับนี้เป็นรายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญ ประจาเดือนมีนาคม 2559 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการปฏิบัติราชการฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์ต่อหน่วยงานและผู้สนใจทั่วไป และขอขอบคุณหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูลผลการปฏิบัติราชการ มา ณ โอกาสนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • 3. สารบัญ หน้า 1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 1 1.1 การเตรียมการจัดงาน “Startup Thailand 2016” 1 1.2 โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2 1.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร 2 1.4 การปรับปรุงกฎหมาย 3 2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4 2.1 การลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร 4 2.2 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 7 2.3 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 8 2.4 เกษตรอินทรีย์ 10 2.5 ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 14 2.6 ธนาคารสินค้าเกษตร 18 2.7 การตรวจราชการ 18 3. งานตามนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 23 3.1โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาวิกฤตภัยแล้ง 23 3.2 การแก้ปัญหา IUU 31 3.3 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง 33 3.4 การลงพื้นที่ตรวจนับสต็อกนมโรงเรียน 33 3.5 พัฒนาสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 34 3.6 การจัดทา/พัฒนาทะเบียนเกษตรกร 35 3.7 จัดทาแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก 36 4. งานตามภารกิจ/กิจกรรมสาคัญของหน่วยงาน 37 4.1 กรมวิชาการเกษตร 37 4.2 กรมปศุสัตว์ 38 4.3 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 41 4.4 กรมประมง 45 4.5 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 48
  • 4. สารบัญ (ต่อ) หน้า 4.6 สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 51 4.7 สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 54 4.8 องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย 57 4.9 องค์การสะพานปลา 59 4.10 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 59 4.11 สานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว(องค์การมหาชน) 61 4.12 องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร 65 5. งานการต่างประเทศ 68 5.1 การหารือและเยี่ยมคารวะ 68 5.2 การผลักดันสินค้าเกษตร 70 5.3 การพัฒนาความร่วมมือและการขยายการดาเนินงานด้านการเกษตรต่างประเทศ 71 5.4 อื่นๆ 74
  • 6. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 11 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 1. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 1.1 การเตรียมการจัดงาน “Startup Thailand 2016” กรมวิชาการเกษตรได้เตรียมการจะนาผลงานของกรมเข้าร่วม งาน “Startup Thailand 2016” ระหว่างวันที่ 28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยมี กระทรวงวิทยาศาสตร์เป็นเจ้าภาพ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตร ได้เชื่อมโยง นวัตกรรมด้านการเกษตรเข้ากับบัญชีนวัตกรรมและส่งเสริมให้นวัตกรรมไปถึงมือภาคเอกชนโดยผลิต นวัตกรรมชุดตรวจสอบและชีวภัณฑ์กาจัดศัตรูพืช จากผลงานวิจัยและถ่ายทอดไปสู่ภาคเอกชน เพื่อผลิตและจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ ดังนี้ - ชุดตรวจสอบไวรัสในกล้วยไม้ (บริษัทซีแพค อินเตอร์จากัด รับไปผลิต) ใช้ตรวจสอบคัดเลือกสายพันธุ์ กล้วยไม้ปลอดเชื้อไวรัส (PotyvirusCyMVและ ORSV) เพื่อผลิตกล้วยไม้ ปลอดโรค และส่งออก สามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเองภายใน 1-3 นาที ราคาไม่เกินตลับละ 100 บาทซึ่งถูกกว่าการนาเข้า ถึง 5 เท่า - ชุดตรวจสอบสารแอฟลาทอกซินสาเร็จรูป (ELISA test kit) (บริษัท สยามอินเตอร์ควอลิตี้จากัด รับไปผลิต) ใช้ตรวจสอบสารแอฟลาทอกซิน ในถั่วลิสง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ เป็นต้น ชุดตรวจ 1 ชุด สามารถตรวจสอบได้ถึง 48 ตัวอย่าง ในเวลา 30 นาที มีความแม่นยา และเที่ยงตรงเท่ากับวิธีในห้องปฏิบัติการ ราคาไม่ถึง 1,200 บาท ต่อชุด ถูกกว่าการนาเข้า 9-10 เท่า - ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (บริษัท สามพราน ริเวอร์ไซด์ และ ไบโอ-อะกริ จากัด รับไปผลิต) ใช้ควบคุมแมลง ศัตรูพืชได้มากกว่า 200 ชนิด ไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ไม่มีสารพิษ ตกค้างสามารถเก็บในรูปฟองน้าและผงละลายน้าได้ โดยไส้เดือนฝอยมีความ ทนทานต่อสารเคมีหลายชนิด และหนอนไม่สามารถสร้างความต้านทานต่อ ไส้เดือนฝอยได้ - ชุดตรวจสอบไวรัสมันฝรั่ง (บริษัทไพฑูรย์สะพลี จากัด รับไปผลิต) สามารถตรวจสอบไวรัสของมันฝรั่งได้ 2 ชนิดคือ Potato virus X (PVX) และ Potato virus Y (PVY) ชุดตรวจสอบมีความแม่นยาและความไวสูง เทียบเท่ากับชุดนาเข้าจากต่างประเทศ อ่านผลได้ในเวลา 5นาที จาหน่ายในราคา 100-120 บาท ซึ่งราคาถูกกว่าชุดที่นาเข้า 4 เท่า - เหยื่อโปรโตซัวกาจัดหนู (บริษัทอะโกรฟิวเจอร์เทด จากัด รับไปผลิต) ใช้โปรโตซัว (Sarcocytissingaporensis) ปราบหนูโดยชีววิธีทาให้หนู ป่วยและตาย โดยที่มีความปลอดภัยต่อมนุษย์ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ที่กิน หนูเป็นอาหาร ลดความสูญเสียและราคาญจากการทาลายผลผลิตใน หลายด้านจากหนู - เทคโนโลยีการยืดอายุการเก็บมังคุดเพื่อการส่งออกทางเรือ (ถ่ายทอดในเชิงสาธารณะ) สามารถยืดอายุการเก็บรักษามังคุดให้เปลือกและกลีบเลี้ยงมีสภาพสดได้นาน 49 วัน (ในห้องควบคุมอุณหภูมิ +15 C) ซึ่งเป็นเวลาที่เพียงพอสาหรับขนส่งโดยเรือไปต่างประเทศ เช่น ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และอเมริกา เป็นต้น
  • 7. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 12 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 1.2 โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินงานโครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้แผนปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2558 – 2560 มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงในการประกอบอาชีพและ เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยในปี 2559 มีเป้าหมายเป็นเกษตรกรในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 4 จังหวัด (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ พื้นที่ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา) มีผลการ ดาเนินงาน กิจกรรมหมู่บ้านเกษตรต้นแบบ ดาเนินการอบรมเกษตรกรแล้ว 2,590 ราย 1.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร 1.3.1 การดาเนินงานกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน กองทุนจัดตั้งโดยการรวมเงินทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน กองทุนหมุนเวียนเพื่อปลดเปลื้องหนี้สินเดิมของเกษตรกรที่ยากจน และกองทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรและผู้ยากจนด้านหนี้สินและที่ดินเข้าด้วยกัน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 เป็นกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ยากจนหรือ ผู้ยากจนโดยมีผลการปลดเปลื้องหนี้สิน จานวน 1,600 ราย เป็นจานวนเงิน 516,440,777 บาท เนื้อที่ 7,844 – 3 - 31.5 ไร่ (ข้อมูล ณ 1 ตุลาคม 2558 - 31 มีนาคม 2559) 1.3.2 โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรด้วยการจาหน่ายหนี้เป็นสูญในกองทุนหรือ เงินทุนในส่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2558 มีมติเห็นชอบโครงการการแก้ไขปัญหาหนี้สิน เกษตรกร เป็นหนี้สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในกองทุนหรือเงินทุนในกากับดูแลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และหนี้สินโครงการส่งเสริมหรือสงเคราะห์ของรัฐซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นจากความผิดพลาดของเกษตรกร โดยจาหน่ายหนี้เป็นสูญจาก 12 แหล่งเงิน ซึ่งมีเกษตรกร/องค์กรเกษตรกร รวม 27,770 ราย/แห่ง รวมเป็น เงินจานวน 4,556 ล้านบาท และได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจาหน่ายหนี้สูญรวม 10 หลักเกณฑ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินการจาหน่ายหนี้สูญตามขั้นตอนแล้ว จานวน10,256ราย/แห่งเป็นเงิน 2,107.21 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 46.25 ของเป้าหมาย 1.3.3 การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตร (หนี้นอกระบบ) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2558 นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการให้ กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาแนวทางการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนผู้มีรายได้น้อยและมอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดาเนินการ โดยใช้กลไกกองทุนหมุนเวียน เพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน โดยมีผลดาเนินการดังนี้
  • 8. งานตามนโยบายของรัฐบาล/การสั่งการจากรัฐบาล/กิจกรรมที่สาคัญที่รัฐบาลจัดขึ้น 13 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 - เกษตรกรมายื่นคาร้อง จานวน 83,611 ราย จานวนเงิน 15,064.20 ล้านบาท - ดาเนินการไกล่เกลี่ย โดยคณะทางานสอบสวนข้อเท็จจริงฯ จานวน 80,861 ราย จานวนเงิน 14,710.31ล้านบาทดาเนินไกล่เกลี่ยสาเร็จจานวน 50,915 ราย จานวนเงิน 9,279.22 ล้านบาท ดาเนินการ ไกล่เกลี่ยไม่สาเร็จ จานวน 29,946 ราย จานวนเงิน 5,431.09 ล้านบาท เนื่องจากเจ้าหนี้/ลูกหนี้ไม่ให้ ความร่วมมือ ไม่มีเอกสารหลักฐาน หรือไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ - ผลการปลดเปลื้องหนี้สิน โดยกองทุนหมุนเวียนฯ ผ่าน อชก. ส่วนต่างๆ ได้อนุมัติเงินกู้ให้แก่ เกษตรกรแล้วจานวน 261 ราย จานวนเงิน 65.19 ล้านบาท 1.4 การปรับปรุงกฎหมาย สานักกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจรับผิดชอบในงาน ด้านกฎหมาย และการพัฒนากฎหมายของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1) วันที่ 1 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายได้ตรวจสอบกลั่นกรองเรื่องที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ซึ่งเป็นร่างกฎหมายตามแผนการเสนอกฎหมายของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อนาเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาลงนาม ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ลงนามหนังสือเสนอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 แล้ว 2) วันที่ 4 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายได้จัดประชุมหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ทั้งหมด รวมทั้งสานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร สภาเกษตรกรแห่งชาติ และ สัตวแพทยสภา เพื่อซักซ้อมความเข้าใจในการดาเนินการตามพระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม ของกฎหมาย พ.ศ. 25๕8 ซึ่งพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาตรา 13 กาหนดว่า ในวาระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรี ผู้รักษาการสั่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐมนตรีผู้รักษาการ นั้นทั้งหมด แล้วแจ้งให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายทราบตามแบบ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ พัฒนากฎหมายกาหนด ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ ซึ่งเรื่องนี้รัฐมนตรีฯ ได้สั่งการตามมาตรา 13 แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้หน่วยงานต่างมีความเข้าใจและสามารถดาเนินการตามพระราช กฤษฎีกาดังกล่าวได้ถูกต้อง และทันระยะเวลาที่กาหนด โดยหน่วยงานต่างๆ ได้ส่งข้อมูลให้สานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาทราบโดยตรงและรายงานให้กระทรวงฯ ทราบแล้ว 3) วันที่ 7-8 มีนาคม 2559 สานักกฎหมายนัดประชุมเพื่อตรวจกลั่นกรองร่างกฎหมายของ กรมวิชาการเกษตร จานวน 5 ฉบับ ได้แก่ ๑) ร่างพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๒) ร่างพระราชบัญญัติ พันธุ์พืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๓) ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... 4) ร่างพระราชบัญญัติ กักพืช (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ๕) ร่างพระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่..) พ.ศ. .... และได้ส่งเรื่องคืน กรมวิชาการเกษตรเพื่อทบทวนและแก้ไขใหม่ทั้ง 5 ฉบับ 4) วันที่ 1 – 31 มีนาคม 2559 ตรวจกลั่นกรองร่างกฎหมายลาดับรองที่เสนอ รมว.กษ. ลงนาม จานวน 14 ฉบับ ได้แก่ กรมประมง 1 ฉบับ กรมปศุสัตว์ 7 ฉบับ กรมชลประทาน 3 ฉบับ สานักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 1 ฉบับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 1 ฉบับ สานักงาน พัฒนาการวิจัยการเกษตร 1 ฉบับ
  • 10. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 2. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2.1 การลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร กรมวิชาการเกษตรได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอย่างถูกต้องเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืช 13 ชนิด (มันส้าปะหลัง อ้อยโรงงาน ปาล์มน้ามัน กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าว ทุเรียน มังคุด มะม่วง ส้มโอ ฝรั่ง ชมพู่ และพืชผัก) โดยมีการจัดท้าแปลงศูนย์เรียนรู้ เป้าหมาย 300 ไร่ ด้าเนินการได้ 300 ไร่ และจัดท้า แปลงต้นแบบในพืนที่เกษตรกร เป้าหมาย 2,848 ไร่ ด้าเนินการได้ 1,721 ไร่ / 476 ราย นอกจากนี ได้ควบคุม ก้ากับดูแลร้านจ้าหน่ายปัจจัยการผลิตให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมายที่ กรมวิชาการเกษตรดูแล โดยกรมวิชาการเกษตรได้จัดท้าแผนปฏิบัติงานเชิงรุกเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2559 เพื่อการปราบปรามปุ๋ยปลอม จัดท้าแผนที่โรงงานพืนที่ จัดล้าดับการเข้าตรวจโดยวิเคราะห์ จากความเสี่ยงของการกระท้าที่พบ และติดตามความคืบหน้าของคดี เป้าหมายการด้าเนินงาน 24,340 รายด้าเนินการได้ 21,756 ราย มีผลการด้าเนินงานคิดเป็น 89.38 % โดยได้ด้าเนินงาน ดังนี  ได้เข้าจับกุมและด้าเนินคดีกับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย รวม 10 ราย ยึดของกลางทังหมด 346.32 ตัน เป็นมูลค่า 26.25 ล้านบาท ซึ่งความคืบหน้าของคดีอยู่ในชันพนักงานสอบสวน  มูลความผิดคือผลิตหรือมีไว้ครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 /ผลิตปุ๋ยอินทรีย์โดยไม่ได้ รับอนุญาต/ผลิตและขายปุ๋ยที่ต้องขึนทะเบียนแต่ไม่ได้ขึนทะเบียน  ตรวจรับรองร้านค้า Q Shop ณ ปัจจุบัน จ้านวน 2,691 ร้านค้า  ผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างจากร้านค้า/แหล่งผลิต พบว่าตัวอย่างปุ๋ย 368 ตัวอย่าง ผ่านมาตรฐาน 74 % วัตถุอันตราย 305 ตัวอย่าง ผ่านมาตรฐาน 95 % และเมล็ดพันธุ์พืช 146 ตัวอย่าง ผ่านร้อยละ 98 % เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อ้าเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อน นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือกับ นายทวีศักดิ์ พลายเมือง เจ้าของศูนย์ฯ นายสมพร จักรพงษ์ เศรษฐกิจ การเกษตรอาสา (ศกอ.) อ้าเภอเคียนซา เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุน การผลิต การคาดการณ์ผลผลิตปาล์มน้ามันและไม้ผลในพืนที่
  • 11. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 15 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมเกษตรกร หมู่ที่ 8 ต.มะลวน อ้าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบาย ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือกับนายสนธยา ด้าดี ศกอ.อ้าเภอ พุนพิน และเกษตรกรในพืนที่ เพื่อหาแนวทางการ ลดต้นทุนการผลิตยางพารา การจัดหาแหล่งน้า ในช่วงหน้าแล้ง และการสร้างรายได้จากพืชเสริม วันที่ 8 มีนาคม 2559 นายโฆสิต วิโรจน์เพ็ชร ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 12 จังหวัดนครสวรรค์ (สศท.12) ลงพืนตรวจเยี่ยมเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.หาดทนง อ้าเภอเมือง จังหวัด อุทัยธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือ กับนายกัมพล ทองเพชร ศกอ.อ้าเภอเมือง และเกษตรกรในพืนที่ เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช ปฏิทินการผลิตพืช ราคาสินค้าเกษตร และการสร้างรายได้จากพืชเสริม
  • 12. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 16 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 วันที่ 14 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จ.อุดรธานี ร่วมกับเศรษฐกิจ การเกษตรอาสา (ศกอ.) ร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจการเกษตร การท้าเกษตรโดยใช้ตลาดน้า การลดต้นทุนการผลิต ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตรเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจท้าการผลิต สินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตรอ้าเภอเฝ้าไร่ และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ้าเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด หนองคาย วันที่ 30 มีนาคม 2559 นายบุญลาภ โสวัณณะ ผู้อ้านวยการส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 ส่วนแยกจังหวัดฉะเชิงเทรา ชีแจงแนวทางการด้าเนินงานมาตรการลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มโอกาส ในการแข่งขัน แก่เจ้าหน้าที่ส้านักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราระดับจังหวัด ระดับอ้าเภอ และระดับต้าบล ณ ห้องประชุมส้านักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา
  • 13. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 17 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด้าเนินงานโครงการส่งเสริมการให้บริการ เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนสมาชิก (Motor Pool) ด้วยการอุดหนุนเครื่องจักรกล (รถเกี่ยว นวดข้าว และเครื่องสีข้าวโพดเลียงสัตว์พร้อมอุปกรณ์) ให้กับสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 19 แห่ง ซึ่งได้รับ มอบเครื่องจักรกลครบแล้วทัง 19 แห่งสหกรณ์ให้บริการเครื่องจักรกลแก่สมาชิก ดังนี 1) สหกรณ์ที่ผลิตข้าวในพืนที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด เพชรบุรี และชัยนาท ให้บริการรถเกี่ยวข้าวได้ในช่วงปลายฤดูกาลเก็บเกี่ยว โดยให้บริการสมาชิกแล้ว 86 ราย พืนที่ 1,438 ไร่ ส่งผลให้สมาชิกสามารถลดต้นทุนการเก็บเกี่ยวได้ไร่ละ 100 - 300 บาท 2) สหกรณ์ที่ผลิตข้าวโพดในพืนที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้บริการเครื่องสีข้าวโพดแก่สมาชิกแล้ว 56 ราย พืนที่รับบริการ 640 ไร่ ปริมาณข้าวโพดที่ใช้บริการสี 350 ตัน 2.2 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) กรมวิชาการเกษตรได้ให้บริการวิชาการในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชโดยการถ่ายทอด เทคโนโลยีให้กับเกษตรกร 5 ชนิดพืช (มันส้าปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ามัน ล้าไย ข้าวโพดเลียงสัตว์) โดยปัจจุบันมีการด้าเนินงานในพืนที่จังหวัดต่างๆ ได้แก่ 1) มันส้าปะหลัง ด้าเนินการในพืนที่จังหวัดอุทัยธานี ฉะเชิงเทรา อุตรดิตถ์ ชัยนาท ตาก สุโขทัย ล้าปาง กาญจนบุรี นครสวรรค์ ราชบุรี จันทบุรี และปราจีนบุรี 2) อ้อย ด้าเนินการในพืนที่จังหวัดอุทัยธานี ราชบุรีนครสวรรค์ และปราจีนบุรี 3) ปาล์มน้ามัน ด้าเนินการ ในพืนที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสุราษฎร์ธานี 4) ล้าไย ด้าเนินการ ในพืนที่จังหวัดล้าปาง เชียงรายเชียงใหม่ ล้าพูน แพร่ พะเยา และ น่าน 5) ข้าวโพดเลียงสัตว์ด้าเนินการ ในพืนที่จังหวัดพิษณุโลก ก้าแพงเพชร ตาก เพชรบูรณ์ อุทัยธานี สุโขทัย
  • 14. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 18 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 2.3 ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตรได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชที่เหมาะสม ให้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ / เกษตรกร 27 จังหวัด 12 ชนิดพืช (มันส้าปะหลัง, อ้อยโรงงาน, ทุเรียน, มังคุด, ฝรั่ง, ชมพู่, มะพร้าว, ปาล์มน้ามัน Nicha RungLife, ผักชีวินทรีย์, กาแฟ และมันฝรั่ง) รวมทังตรวจรับรองมาตรฐานแหล่งผลิตพืช (GAP) ตามเป้าหมายแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมการเกษตร เป้าหมาย 3,497 แปลง/ 30 จังหวัด ด้าเนินการได้ 1,109 แปลง/1,025 ราย/16 จังหวัด/7,560 ไร่ โดยผลการตรวจรับรองแปลงคิดเป็นร้อยละ 31.71 ผ่านการรับรอง 370 แปลง/364 ราย 12 จังหวัด/ พืนที่ 2,307 ไร่ จ้าแนกเป็นล้าไย 1,974 ไร่/ ทุเรียน 1020 ไร่/มะม่วง 482 ไร่/เงาะ 353 ไร่/ปาล์มน้ามัน 211 ไร่/พืชผัก 210 ไร่/สับปะรด 208 ไร่/มังคุด 98 ไร่ นอกจากนี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้ด้าเนินการสอนแนะ/อบรม การจัดท้าบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ (แปลง ต้นแบบและแปลงทั่วไป) โดยการ บูรณาการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงาน ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้ เห็นประโยชน์ของการจัดท้าบัญชี รับทราบผลก้าไรขาดทุน และสามารถน้า ข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อลดต้นทุนการประกอบอาชีพได้ จ้านวน 187 แปลง 17,123 ราย การจัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนเกษตรแปลงใหญ่ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรแปลงใหญ่เป็น การส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต และการบริหารจัดการร่วมกัน ให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง ในการด้าเนินงาน ผลักดันให้เกษตรกรรวมกลุ่มในการผลิตเพื่อลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ตลอดจนการจัดการด้านการตลาด เพื่อให้เกิดอ้านาจการต่อรอง โดยด้าเนินการในลักษณะบูรณาการ ร่วมกันทุกหน่วยงาน ได้ด้าเนินการแปลงใหญ่ใน 76 จังหวัด จ้านวน 268 แปลง พืนที่รวม 662,669 ไร่ เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 29,169 ครัวเรือน สินค้าจ้านวน 31 สินค้า แบ่งเป็น ข้าว 142 แปลง พืชไร่ 42 แปลง ปาล์มน้ามัน/ยางพารา 15 แปลง ไม้ผล 37 แปลง ปศุสัตว์ 12 แปลง ประมง 9 แปลง ที่เหลือเป็น พืชผักสมุนไพร ไม้ดอก ไม้ประดับ หม่อนไหม และ กาแฟ ทังนี การด้าเนินงาน ใน 76 จังหวัด 76 แปลง ประชารัฐ จะเน้นจังหวัดละ 1 แปลง เพื่อขับเคลื่อนแปลงใหญ่ให้เกิดเป็นรูปธรรม เชื่อมโยงการท้างานระหว่าง เกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน สามารถใช้เป็นต้นแบบให้กับแปลงอื่นๆ ในจังหวัดต่อไปได้ เงื่อนไขส้าคัญที่ 76 แปลง จะต้องด้าเนินการคือ พืช กิจกรรม จัดทาแปลง ศูนย์เรียนรู้ (ไร่) จัดทาแปลงต้นแบบ ฝึกอบรม เกษตรกร(ราย)จานวนเกษตรกร(ราย) พื้นที่(ไร่) มันส้าปะหลัง 87 86 278 474 อ้อย 3 10 10 102 ปาล์มน้ามัน 57 110 550 354 ล้าไย 14 40 260 90 ข้าวโพดเลียงสัตว์ - 10 50 307 รวม 161 256 1,148 1,327
  • 15. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 19 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 มีแผนลดต้นทุนการผลิต แผนการเพิ่มผลผลิต แผนเพิ่มคุณภาพผลผลิต แผนการตลาดที่ชัดเจน และแผน บริหารจัดการซึ่งแปลงที่ยังไม่สมบูรณ์จะต้องพัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์ ภายในเดือนเมษายน 2559 ได้มีการจัดประชุมขับเคลื่อนงานเกษตรแปลงใหญ่ โดยมีผู้บริหารของทุกหน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ซึ่งหลังจากการประชุมได้ ก้าหนดให้ทุกหน่วยงานตรวจสอบพืนที่แปลงใหญ่แต่ละหน่วยงานพร้อมหารือถึงแนวทางในการด้าเนินการ ให้ถูกต้อง กรมประมงจึงได้จัดท้าโครงการ “ปรับปรุงโครงสร้างระบบการเลียงเพื่อพลิกฟื้นการผลิตกุ้ง และ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันอุตสาหกรรมการผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทยอย่างยั่งยืน” ดร.จูอะดี พงศ์มณีรัตน์ รองอธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่าแม้ว่าขณะนีสถานการณ์โรคตายด่วน(อีเอ็มเอส) เริ่มส่ง สัญญาณในทิศทางที่ดีขึน โดยปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้ผลผลิตกระเตืองขึนมาจากการที่เกษตรกรมีการปรับระบบ การบริหารจัดการฟาร์มที่ดีขึน เนื่องจากสาเหตุหลักของการเกิดอีเอ็มเอสเป็นเชือแบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ ที่เติบโตและขยายพันธุ์ด้วยการใช้ของเสียที่สะสมอยู่ในบ่อเลียงกุ้ง โดยแนวทางในการแก้ไขปัญหานัน จะต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างบ่อเลียงกุ้งให้สามารถก้าจัดของเสียได้ด้วยการดูดสารอินทรีย์ ของเสีย และกุ้ง ที่อ่อนแอออกจากบริเวณที่สะสมกลางบ่อเพื่อน้ามาจัดการบ้าบัดข้างนอกบ่อเลียง และน้าน้าที่ก้าจัดของเสีย แล้วหมุนกลับไปใช้ในการเลียงใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะท้าให้บ่อกุ้งมีสุขอนามัยที่ดีขึน เชือโรคไม่สามารถ ขยายตัวได้ กุ้งมีความแข็งแรงสุขภาพดี และอัตรารอดของกุ้งที่เลียง รวมถึงผลผลิตก็จะเพิ่มสูงขึน อีกทัง ต้นทุนการผลิตกุ้งในฟาร์มยังลดต่้าลง ดีกว่าระบบดังเดิมที่เคยใช้ในอดีตอย่างไรก็ตาม การจัดการเลียงกุ้งใน รูปแบบใหม่นีเกษตรกรจ้าเป็นต้องลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างฟาร์มให้เป็นไปตามระบบดังกล่าว กรมประมง จึงได้จัดท้าโครงการ “ปรับปรุงโครงสร้างระบบการเลียงเพื่อพลิกฟื้นการผลิตกุ้ง และเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันอุตสาหกรรมการผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทยอย่างยั่งยืน” ขึนเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการคณะ นโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) พิจารณา ซึ่งล่าสุดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2559 ที่ผ่านมา ที่ประชุม คชก. ครังที่ 1/2559 ได้มีมติเห็นชอบโครงการฯ ดังกล่าว พร้อมอนุมัติวงเงิน 92.70 ล้านบาท เพื่อลดภาระดอกเบียแก่เกษตรกรผู้เลียงกุ้งทะเล โดยแบ่งเป็นวงเงินชดเชยดอกเบียเงินกู้ให้เกษตรกรผู้เลียง กุ้งที่กู้ยืมเงินไปปรับปรุงโครงสร้างพืนฐานฟาร์มเลียงให้เข้าสู่ระบบการจัดการฟาร์มที่มีระบบบ้าบัดน้า หมุนเวียนขนาดเล็ก จ้านวน 90 ล้านบาท ผ่านสินเชื่อของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) และธนาคารของรัฐ ในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี จ้านวนไม่เกิน 1,000 ราย รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท และเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานและบริหารโครงการฯ จ้านวน 2.70 ล้านบาท ทังนี เพื่อปรับโครงสร้างพืนฐานฟาร์มให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต รวมถึงลดต้นทุนการผลิต ซึ่งจะส่งผลให้ได้ผลผลิตกุ้งมีปริมาณเพิ่มขึน สร้างความเชื่อมั่นให้ตลาด ต่างประเทศหันกลับมาสั่งซือผลิตภัณฑ์กุ้งจากประเทศไทยเช่นเดิมโดยคาดว่าจะมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ประมาณ 1,000 ราย สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตคิดเป็นพืนที่กว่า 40,000 ไร่ทังนี เกษตรกรที่
  • 16. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 110 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ดังกล่าวสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันวิจัยและพัฒนาการ เพาะเลียงกุ้งทะเล กรมประมง โทร.0 2562 0552 ตังแต่บัดนีเป็นต้นไป 2.4 เกษตรอินทรีย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยส้านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมจัดนิทรรศการด้านเกษตรอินทรีย์ ในงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจ้าปี 2559 "คนไทยใจเกษตร" เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายภาคการเกษตรของไทย และเป็นการประชาสัมพันธ์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องด้านเกษตรอินทรีย์ให้กับผู้ผลิต เกษตรกร และเยาวชน ทังในเรื่องการผลิต และการรับรองสินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมถึงสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค ในระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 1) ส้านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) จัดกิจกรรมท่องเที่ยวสวนเกษตร เพื่อพาผู้บริโภคศึกษาดูงานไร่ทนเหนื่อย “ชม” การท้าเกษตรอินทรีย์ “ชิม” อาหารอร่อย ปลอดภัยมาตรฐาน คิว เรสเตอรองค์ ร้านไทยสว่างเรือนไทย “ช้อปปิ้ง” สินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐาน ณ จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สินค้าเกษตรอินทรีย์สู่ผู้บริโภค สร้างความเชื่อมโยง ระหว่างเกษตรกร ผู้ผลิตและผู้บริโภค ท้าให้ผู้บริโภคเกิดความรู้ความเข้าใจในระบบการผลิตสินค้าเกษตร ของเกษตรกร สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและส่งผลท้าให้เกษตรกรมีก้าลังใจในการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพ
  • 17. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 111 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตรได้สร้างศูนย์ต้นแบบปุ๋ยอินทรีย์ เติมอากาศ และให้การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ด้านพืช ดังนี  สร้างศูนย์ต้นแบบผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบเติมอากาศ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของ หน่วยงานภาครัฐ เกษตรกร และผู้ประกอบการ เป้าหมาย 25 แห่ง ด้าเนินการแล้ว 25 แห่ง ดังนี ด้าเนินการก่อสร้างเสร็จแล้ว 23 โรง ได้แก่ เชียงใหม่ พิจิตร มุกดาหาร ร้อยเอ็ด กระบี่ (2 โรง) พังงา ตรัง ชัยนาท เชียงราย สุโขทัย ชุมพร กาญจนบุรี จันทบุรี เลย สุราษฎร์ธานี ตาก ปราจีนบุรี อุทัยธานี สงขลา นครศรีธรรมราช นราธิวาส และอยู่ระหว่างด้าเนินการก่อสร้าง 2 โรง ได้แก่ แม่ฮ่องสอน โนนสูง ซึ่งปัจจุบัน ด้าเนินการผลิตปุ๋ยหมักแล้วจ้านวน 13 ศูนย์ มีปริมาณปุ๋ย 173.8 ตันอยู่ระหว่างการหมัก  ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้กับหน่วยงานภาครัฐ เกษตรกรต้นแบบ เป้าหมาย 5,250 ราย ด้าเนินการได้ 3,285 ราย
  • 18. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 112 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559  ตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ เป้าหมาย 1,500 ฟาร์มด้าเนินการได้ 1,150 ฟาร์ม ผ่านมาตรฐาน 982 ฟาร์ม พืนที่ 15,219 ไร่ พืนที่สูงสุด 4 ล้าดับแรก คือ - พื ช ผั ก พื น ที่ 4,678.27 ไร่ จ.เชียงใหม่ ล้าพูน เชียงราย เพชรบูรณ์ กาฬสินธุ์ นครปฐม ปทุมธานี ลพบุรี สระบุรี นครนายก อ่างทอง สุพรรณบุรี - ชา พืนที่ 2,753 ไร่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย น่าน - พืชผสมผสาน พืนที่ 1,524.10 ไร่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ก้าแพงเพชร สุโขทัย ขอนแก่น กาฬสินธุ์ หนองคาย อุดรธานี เลย สกลนคร นครราชสีมา บุรีรัมย์ ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี จันทบุรี ตราด - ไม้ผล พืนที่ 1,416.16 ไร่ จ.เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ สกลนคร กาญจนบุรี ราชบุรี นครนายก อ่างทอง เพชรบุรี จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง  ตรวจรับรองการคัดบรรจุพืชอินทรีย์ เป้าหมาย 49 โรง ด้าเนินการได้ 14 โรง  ตรวจติดตามเฝ้าระวัง เป้าหมาย 150 แปลง ด้าเนินการได้ 29 แปลง เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 เจ้าหน้าที่ ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4 จังหวัดขอนแก่น (สศท.4) ร่วมออกพืนที่ติดตามเฝ้าระวังและควบคุม มาตรฐานสินค้าเกษตรจังหวัดขอนแก่นและตรวจสอบ เครื่องหมาย Q (สีเขียว) ร่วมกับหน่วยงานสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในโครงการจัดทีมออก ติดตามเฝ้าระวังและควบคุมมาตรฐานสินค้าเกษตร จังหวัดขอนแก่น โดยในช่วงเช้าออกติดตามกลุ่ม ผู้ปลูกผักปลอดภัยที่แก่งละว้า อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น และกลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัยจากสารเคมี บ้านชีกกค้อ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น ส้าหรับในช่วงบ่ายออกตรวจสอบเครื่องหมาย Q (สีเขียว) ที่ห้างโลตัสเอ็กตร้า สาขาขอนแก่น และ Top Supper Market ภายในห้างเซ็นทรัลขอนแก่น
  • 19. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 113 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 การดาเนินการของกรมประมง ดังนี้ วันที่ 10 – 11 กุมภาพันธ์ 2559 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ของจังหวัด สุรินทร์ และจังหวัดยโสธร ณ โรงแรมทองธารินทร์ จ้านวน 100 ราย วันที่ 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2559 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ของจังหวัด ร้อยเอ็ด จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ณ โรงแรมเพชรรัตน์ จ้านวน 150 ราย โดยการฝึกอบรมนีจะท้าให้เกษตรกรสามารถผลิตสัตว์น้าตามมาตรฐานอินทรีย์ ตังแต่การผลิต ดูแล คุณภาพ จนจับผลผลิต และสามารถเข้ารับการตรวจประเมิน เมื่อปล่อยพันธุ์สัตว์น้าเป็นระยะเวลา 180 วัน ประเมินแบบการมีส่วนร่วมแบบกลุ่ม (รับผิดชอบความเป็นผลผลิตอินทรีย์ร่วมกัน) หน่วยงานในพืนที่ประมงจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดกาฬสินธุ์ และ จังหวัดมหาสารคาม ส้ารวจความพร้อมในการลงแปลง เพื่อผลิตสัตว์น้าฯ ตามมาตรฐานอินทรีย์ ผลการลง พืนที่เกษตรกรยังไม่พร้อมปล่อยพันธุ์สัตว์น้า เนื่องจากต้องรอฤดูฝน จึงสามารถเร่งกระบวนการผลิตได้ วันที่ 2 มีนาคม 2559 มีการประชุมร่วมระหว่างส่วนโครงการพิเศษฯ ที่รับผิดชอบบริหารโครงการ กับกองพัฒนาระบบมาตรฐานสินค้าประมง เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมินให้กับกลุ่มเกษตรกร
  • 20. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 114 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 2.5 ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 2.5.1 กรมวิชาการเกษตร ได้สนับสนุน ข้อมูลวิชาการและเอกสารวิชาการเทคโนโลยีการผลิตพืช อย่างถูกต้องและเหมาะสม 16 ชนิดพืชและข้อมูลเตือนภัย ศัตรูพืชกระจายอยู่ในทุกอ้าเภอทั่วประเทศเป้าหมาย 882 ศูนย์ ด้าเนินการได้ 882 ศูนย์ โดยสามารถสนับสนุน เอกสารวิชาการแล้ว 17,053 เล่ม/ โปสเตอร์ 912 แผ่น/ แผ่นพับ 79,703 แผ่น/เมล็ดพันธุ์พืชไร่พืชผัก 474 กก./ 953 ซอง ต้นพันธุ์พืชสวน 1,038 ต้น ท่อนพันธุ์อ้อย มันส้าปะหลัง 52,950 ท่อน/ปุ๋ยเคมี 2,130 กก. สนับสนุนการเป็นวิทยากรในศูนย์เรียนรู้ อบรม 57 หลักสูตร 2,258 รุ่น เป็นเกษตรกร 112,906 ราย โดยมีข้อสังเกตจากการ ติดตามงาน ได้แก่ 1) ศพก. บางแห่งยังขาดข้อมูลเฉพาะด้าน เช่น การผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิตข้าวหอมมะลิ การผลิตลินจี่ การแปรรูป พริก การลดต้นทุนพริก เป็นต้น 2) เกษตรกร ใช้สารเคมีก้าจัด ศัตรูพืช ปุ๋ยเคมีไม่ถูกต้อง 3) เกษตรกรขาดตลาดรับซือผลผลิต 4) เกษตรกรขาดเครื่องมือเก็บเกี่ยว 5) เกษตรกรบางรายขาด เอกสารสิทธิ์ที่ดิน 2.5.2 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้ให้ความรู้ในการจัดท้าบัญชีแก่เกษตรกรสมาชิกศูนย์ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เพื่อให้เกษตรกรเห็นประโยชน์ของการจัดท้าบัญชี และสามารถน้าข้อมูลบัญชีไปใช้ในการประกอบอาชีพและสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ ด้าเนินการแล้ว ดังนี - จัดหาครูบัญชีอาสาประจ้าศูนย์เรียนรู้ จ้านวน 859 ราย - พัฒนาฐานเรียนรู้ด้านบัญชีประจ้าศูนย์เรียนรู้ จ้านวน 377 ฐาน
  • 21. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 115 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 2.5.3 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ดาเนินการ ดังนี้ 1) เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อ้านวยการส้านักงาน เศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สศท.8) ลงพืนตรวจเยี่ยมศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต อ้าเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามนโยบายการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์สู่การปฏิบัติ โดยร่วมหารือกับนายทวีศักดิ์ พลายเมือง เจ้าของศูนย์ฯ นายสมพร จักรพงษ์ ศกอ. อ้าเภอเคียนซา เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุนการผลิต การคาดการณ์ผลผลิตปาล์มน้ามันและไม้ผลในพืนที่ 2) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จ.อุดรธานี ร่วมกับเศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) ร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจการเกษตร การท้าเกษตรโดยใช้ ตลาดน้า การลดต้นทุนการผลิต ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตรเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจท้า การผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตรอ้าเภอเฝ้าไร่ และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ้าเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
  • 22. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 116 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 3) เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก (สศท.2) น้าโดย นายชีวิต เม่งเอียด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ กลุ่มสารสนเทศการเกษตร ออกตรวจเยี่ยมโครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง และ ปัญหาราคาสินค้าเกษตร ปี 2558/59 ณ ศูนย์เรียนรู้ (ศพก.) ของนายเสาร์ ปรีชาวนา ต้าบลชัยนาม อ้าเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เข้ารับการอบรมในหัวข้อสารสนเทศ เพื่อการผลิต ร่วมกับนายเฉลิม พันธุ์ศรี เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) ทังนี มีผู้เข้าร่วมอบรมทังสิน 50 คน 4) เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2559 นายคมสัน จ้ารูญพงษ์ รองเลขาธิการส้านักงาน เศรษฐกิจการเกษตร เดินทางตรวจเยี่ยมและติดตามงานของส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 จังหวัด อุบลราชธานี (สศท.11) โดยมีนายไพฑูรย์ สีลาพัฒน์ ผอ. สศท.11 และข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ให้การต้อนรับ ทังนี ในช่วงบ่าย รองเลขาธิการฯ ได้ลงพืนที่ติดตามการท้างานของ ศกอ. (นายพนม พิมพ์รัตน์) ที่ร่วมบูรณาการ ศพก. อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี 2.5.4 กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดการอบรมเกษตรกร โดยศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และศูนย์ เรียนรู้เครือข่าย ได้ด้าเนินโครงการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพ การผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 และจากปัญหาราคาสินค้าเกษตร เพื่อให้ เกษตรกรได้ฝึกอบรมเรียนรู้ ฝึกวิธีคิดการพัฒนาตนเองและ สามารถปรับตัวอยู่ร่วมบริบทสังคมเศรษฐกิจ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน อีกทัง เป็นการวางรากฐานการพัฒนาการเกษตรในระยะยาว เกิดความรู้ความเข้าใจและร่วมการขับเคลื่อนประเทศตาม แนวทางประชารัฐ ช่วยให้เกษตรกรสามารถด้ารงชีพได้ ในช่วงวิกฤตภัยแล้ง สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน และสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายเกษตรกรที่รับการ
  • 23. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 117 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 ฝึกอบรม โดยจัดฝึกอบรมแล้วทังสิน 208,088 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.37 จากเป้าหมาย 220,500 ราย ซึ่งหลังจากเข้ารับการอบรมเกษตรกรได้ประโยชน์สามารถลดต้นทุนในการผลิตต่างๆ ได้ เช่น การผลิตปุ๋ยใช้ใน การเกษตร การเก็บเมล็ดพันธุ์พืชไว้ใช้เอง และการผลิตสารอินทรีย์ไล่แมลง 2.5.5 กรมประมง ได้ด้าเนินการโครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร และศูนย์เรียนรู้เครือข่ายด้านประมง 1) เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 กองพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง ได้ปรับแผนการสนับสนุนศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า จ้านวน 336 จุด ทั่วประเทศ (วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 โอนสนับสนุนจังหวัด 144 แห่ง (วงเงิน 432,000 บาท) วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 แจ้งจังหวัดด้าเนินการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ วันที่ 5 มีนาคม 2559ศูนย์เรียนรู้ฯ จ้านวน 144 แห่ง ในเขตภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ) 2) เมื่อวันที่ 1 – 28 มีนาคม 2559 สนับสนุนวิทยากรในการอบรมเกษตรตาม นโยบายแก้ปัญหาภัยแล้ง จ้านวน 882 ศูนย์ ใน 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 3 – 4 ผลการ ด้าเนินการเกษตรกรมีความรู้ในการระวังป้องกันผลผลิตที่จะกระทบเมื่อเกิดสถานการณ์ภัยแล้ง อุทกภัย และมีความเข้าใจในการบริหารจัดการ ผลผลิตสัตว์น้าในแปลงของตนเองได้ดีขึน 2.5.6 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ด้าเนินการให้ความรู้และแนวคิดตามหลักการรวมกลุ่ม แบบสหกรณ์แก่เกษตรกรที่เข้ารับการอบรมในโครงการอบรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจาก ภัยแล้ง ปี 2558/59 เพื่อสร้างชุมชนให้เข้มแข็งด้วยวิถี สหกรณ์ ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้เรื่อง “ชุมชนเข้มแข็งด้วยวิถี สหกรณ์” มีเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ จ้านวน 61,880 ราย ภายใต้การด้าเนินการในศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จ้านวน 365 ศูนย์ และ หลังจากการถ่ายทอดความรู้ กรมส่งเสริมสหกรณ์มีแผนในการ จัดกิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มและด้าเนินกิจกรรมกลุ่มของ เกษตรกรในพืนที่ ศพก. ทัง 882 ศูนย์ อย่างต่อเนื่องต่อไป
  • 24. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 118 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 2.6 ธนาคารสินค้าเกษตร ณ เดือนมีนาคม 2559 ยังไม่ปรากฏผลการด้าเนินงาน 2.7 การตรวจราชการ 2.7.1 ติดตามการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จใน 6 มาตรการ 1) นางกุลรัศมิ์ อนันต์พงษ์สุข ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 14 ลงพืนที่ติดตามการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จใน 6 มาตรการ ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการในสังกัด กษ. ของเขตตรวจราชการที่ 14 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรของนายปาน เงินไทย ตาบลถลุงเหล็ก อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จากการลงพืนที่ พบว่าศูนย์ชุมชนนีเน้นการปลูกข้าวเป็นหลัก พืนที่18 ไร่ (ข้าวมะลิ ข้าวหอมนิล และข้าวหอมแดง) และยัง มีพืนที่ปลูกอ้อยอีก 3 ไร่ โดยมีการน้าเอาผลผลิตมาแปรรูปท้าเป็นน้าตาลปึก เพิ่มมูลค่า มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพทอผ้า โฮมสเตย์ ท้ากระถางต้นไม้ 2) นายธนิตย์ เอนกวิทย์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต 10,12 เดินทางไปตรวจติดตามการด้าเนินงานตามนโยบายของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสถานการณ์ภัยแล้งในศูนย์ฯ (ศพก.) พื้นที่ จ.อุดรธานี และ จ.หนองคาย ในการนี ผตร.ธนิตย์ฯ ได้แจ้งถึงความห่วงใย ของรัฐบาลและกระทรวงเกษตรฯ ในการมุ่งท้างานให้เกิดผล สร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึนแก่พี่น้องเกษตรกร ส้าหรับช่วงนี สถานการณ์น้าน้อย มีสภาพแล้ง ขอให้ช่วยกันใช้น้าอย่างรู้ คุณค่า ใช้ประโยชน์พืนที่ และสร้างรายได้ตลอดปี 3) นางนฤมล พนาวงศ์ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขต 2,18 ได้เดินทางไปจังหวัดชัยนาท เพื่อตรวจติดตามงานตามแผนการตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และงานส้าคัญตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นโยบายการลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร พบว่า คณะท้างาน Single Command มีการประชุมร่วมกับพาณิชย์จังหวัด เพื่อขอความร่วมมือภาคเอกชน/ร้านค้าในการลดปัจจัยการผลิตด้าน พืช/ประมง/ปศุสัตว์ มีการขับเคลื่อนงานการลดค่าเช่าที่ดินในเขต ส.ป.ก. และที่ราชพัสดุ รวมทังการให้สินเชื่อและขยายระยะเวลา
  • 25. งานตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 119 รายงานผลการปฏิบัติราชการสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจาเดือนมีนาคม 2559 การช้าระหนีให้แก่เกษตรกร ส่วนในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตมีการส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงดิน การใช้สารอินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมี และการขุดสระน้าในไร่นานอกเขตชลประทาน 4) นายนาชัย พรหมมีชัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขตตรวจราชการที่ 3,9 เดินทางไปราชการในเขตตรวจราชการที่ 3 และ 9 เพื่อเข้าร่วมประชุมและติดตามงานนโยบายของ รัฐบาลเร่งด่วน 6 มาตรการ และลงพืนที่ติดตามการ เปิดจุดรับซือยาพาราของรัฐบาล จ้านวน 100,000 ตัน ตาม “โครงการส่งเสริมการใช้ยางในหน่วยงาน ภาครัฐ” และมีข้อเสนอแนะให้ กยท. ประสานงานกับ เกษตรจังหวัดอย่างใกล้ชิดในการจ่ายเงินให้เกษตรกรที่ มีเอกสารถูกต้องครบถ้วนโดยเร็ว และที่เหลือให้ก้าหนด เป้าหมายในการบริหารจัดการเป็นรายวัน และให้ ธกส. โอนเงินให้เกษตรกร ให้ได้เป้าหมาย 85 % 5) นางปาริชาติ ศรีวิพัฒน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เขต 17 ได้ลงพืนที่ ตรวจเยี่ยมการด้าเนินงานโครงการที่สาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ จังหวัดเพชรบูรณ์ จากการ ลงพืนที่ได้ให้ข้อเสนอแนะให้กลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกกะหล่้าปลีบนภูทับเบิกเขียนโครงการเพื่อของบสนับสนุน จากงบพัฒนาจังหวัดและให้บูรณาการหน่วยงาน ร่วมกันภายใต้ Single Command และให้ศูนย์วิจัยฯ จัดท้า Application ของหน่วยงาน เช่น เว็บไซต์ ให้ update เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่ายท้าป้าย Cut out ประชาสัมพันธ์ผลงานเด่น และประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ รวมทังบูรณาการการท้างานร่วมกับหน่วยงานอื่น และให้มีการวิเคราะห์ศักยภาพความเหมาะสมของพืนที่ เกษตรกรและการตลาดก่อนส่งเสริมการปลูกพืช