SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ภาวะสมดุล จัดทำโดย นางสาวนุชนารถ  ดีดวงพันธ์ ม.5/1   เลขที่ 15 เสนอ คุณครูวีระพงษ์  บรรจง รายงาเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี
คำนำ เมื่อนำของเหลวที่ระเหยได้จำนวนหนึ่งใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดตั้งทิ้งไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิคงที่ จะพบว่าระดับของเหลวจะลดลงจนในที่สุดจะคงที่ การที่เป็นเช่นนี้เพราะของเหลวบางส่วนระเหยกลายเป็นไอ และไอบางส่วนก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีก             ในตอนแรกการระเหยจะมากกว่าการควบแน่น ทำให้ระดับของเหลวลดลงแต่เมื่อเวลาผ่านไป การควบแน่นจะมากขึ้นและในที่สุดอัตราการระเหยและการควบแน่นจะเท่ากัน ทำให้ระดับของของเหลวคงที่ เรียกภาวะที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลงเท่ากันนี้ว่า ภาวะสมดุล           สุดท้ายนี้ผู้จัดทำขอขอบคุณ  คุณครูวีระพงษ์  บรรจง  ที่ให้คำปรึกษาจนรายงานเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี                                                                                       คณะผู้จัดทำ
ภาวะสมดุล                   เมื่อนำของเหลวที่ระเหยได้จำนวนหนึ่งใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดตั้งทิ้งไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิคงที่ จะพบว่าระดับของเหลวจะลดลงจนในที่สุดจะคงที่ การที่เป็นเช่นนี้เพราะของเหลวบางส่วนระเหยกลายเป็นไอ และไอบางส่วนก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีก ในตอนแรกการระเหยจะมากกว่าการควบแน่น ทำให้ระดับของเหลวลดลงแต่เมื่อเวลาผ่านไป การควบแน่นจะมากขึ้นและในที่สุดอัตราการระเหยและการควบแน่นจะเท่ากัน ทำให้ระดับของของเหลวคงที่ เรียกภาวะที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลงเท่ากันนี้ว่า ภาวะสมดุล
        สมดุลไดนามิก (Dynamicequilibrium)                 สมดุลไดนามิก เป็นภาวะสมดุลที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร “หมายถึงภาวะสมดุลที่ระบบมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ หรือมีอัตราการเปลี่ยนแปลงสุทธิเท่ากับศูนย์”
ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ            เนื่องจากสารแต่ละชนิดสามารถมีได้ทั้งของแข็ง ของเหลวและก๊าซ โดยที่สถานะต่าง ๆ ของสารสามารถจะเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้โดยการเพิ่มหรือลดพลังงานให้แก่ระบบ ดังนั้นการเปลี่ยนสถานะของสารจึงมีภาวะสมดุลเกิดขึ้นได้ เช่น สมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับก๊าซ และของแข็งกับก๊าซ โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามลักษณะของการเปลี่ยนแปลง
1.ค่าคงที่สมดุล ระบบสมดุลของ H2-I2-HI โดยทำการทดลองสารที่มีปริมาณต่าง ๆ ทำปฏิกิริยากันเข้าสู่สมดุลที่อุณหภูมิ 731K ดังสมการของปฏิกิริยาสมดุล คือ                                         H2 (g) + I2 (g) < --------- > 2HI(g)
การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล ตัวอย่างที่ 1ปฏิกิริยา 2SO2 ( g ) + O2 < ----- > 2SO3 ( g ) ซึ่งเกิดภายในภาชนะขนาด 1 ลิตร เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาวะสมดุลพบว่าภายในภาชนะประกอบด้วย SO3 0.6 โมลSO2 0.2 โมลและ O2 0.3 โมล จงคำนวณหาค่าคงที่ของสมดุล
ตัวอย่างที่ 2นำเหล็กและน้ำใส่ในภาชนะขนาด 5 dm3 แล้วปิดฝา เมื่อเผาภาชนะที่อุณหภูมิ 1000 C เกิดปฏิกิริยาดังนี้                               3Fe ( s ) + 4 H2O( g ) <-----> Fe3O4(s) + 4H2(g )     เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาววะสมดุล จากการวิเคราะห์พบว่า ภายในภาชนะประกอบด้วยแก็สไฮโดรเจน 1.10 กรัม และไอน้ำ 42.50 กรัม จงคำนวณหาค่าคงที่ของสมดุลสำหรับปฏิกิริยานี้ที่อุณหภูมิ 100 C    ( H=1 , O =16)
นุชนารถ

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

Podpassiv specifications
Podpassiv specificationsPodpassiv specifications
Podpassiv specifications
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Y wi b memeber package
Y wi b memeber packageY wi b memeber package
Y wi b memeber package
 
Right To Refuse Tx Final
Right To Refuse Tx FinalRight To Refuse Tx Final
Right To Refuse Tx Final
 
Workshop Ecuador Insight
Workshop Ecuador InsightWorkshop Ecuador Insight
Workshop Ecuador Insight
 
111101 - Knowing & Growing workshop presentation
111101 - Knowing & Growing workshop presentation111101 - Knowing & Growing workshop presentation
111101 - Knowing & Growing workshop presentation
 
International Marketing Presentation - 30.06.11
International Marketing Presentation - 30.06.11International Marketing Presentation - 30.06.11
International Marketing Presentation - 30.06.11
 
25.10.11 - Innovative Marketing Presentation (Bristol)
25.10.11 - Innovative Marketing Presentation (Bristol)25.10.11 - Innovative Marketing Presentation (Bristol)
25.10.11 - Innovative Marketing Presentation (Bristol)
 
05.10.11 - Innovative Marketing Strategies - Bridgwater
05.10.11 - Innovative Marketing Strategies - Bridgwater05.10.11 - Innovative Marketing Strategies - Bridgwater
05.10.11 - Innovative Marketing Strategies - Bridgwater
 

นุชนารถ

  • 1. ภาวะสมดุล จัดทำโดย นางสาวนุชนารถ ดีดวงพันธ์ ม.5/1 เลขที่ 15 เสนอ คุณครูวีระพงษ์ บรรจง รายงาเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี
  • 2. คำนำ เมื่อนำของเหลวที่ระเหยได้จำนวนหนึ่งใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดตั้งทิ้งไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิคงที่ จะพบว่าระดับของเหลวจะลดลงจนในที่สุดจะคงที่ การที่เป็นเช่นนี้เพราะของเหลวบางส่วนระเหยกลายเป็นไอ และไอบางส่วนก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีก ในตอนแรกการระเหยจะมากกว่าการควบแน่น ทำให้ระดับของเหลวลดลงแต่เมื่อเวลาผ่านไป การควบแน่นจะมากขึ้นและในที่สุดอัตราการระเหยและการควบแน่นจะเท่ากัน ทำให้ระดับของของเหลวคงที่ เรียกภาวะที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลงเท่ากันนี้ว่า ภาวะสมดุล สุดท้ายนี้ผู้จัดทำขอขอบคุณ คุณครูวีระพงษ์ บรรจง ที่ให้คำปรึกษาจนรายงานเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทำ
  • 3. ภาวะสมดุล                   เมื่อนำของเหลวที่ระเหยได้จำนวนหนึ่งใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดตั้งทิ้งไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิคงที่ จะพบว่าระดับของเหลวจะลดลงจนในที่สุดจะคงที่ การที่เป็นเช่นนี้เพราะของเหลวบางส่วนระเหยกลายเป็นไอ และไอบางส่วนก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีก ในตอนแรกการระเหยจะมากกว่าการควบแน่น ทำให้ระดับของเหลวลดลงแต่เมื่อเวลาผ่านไป การควบแน่นจะมากขึ้นและในที่สุดอัตราการระเหยและการควบแน่นจะเท่ากัน ทำให้ระดับของของเหลวคงที่ เรียกภาวะที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลงเท่ากันนี้ว่า ภาวะสมดุล
  • 4. สมดุลไดนามิก (Dynamicequilibrium)                สมดุลไดนามิก เป็นภาวะสมดุลที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร “หมายถึงภาวะสมดุลที่ระบบมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ หรือมีอัตราการเปลี่ยนแปลงสุทธิเท่ากับศูนย์”
  • 5. ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ            เนื่องจากสารแต่ละชนิดสามารถมีได้ทั้งของแข็ง ของเหลวและก๊าซ โดยที่สถานะต่าง ๆ ของสารสามารถจะเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้โดยการเพิ่มหรือลดพลังงานให้แก่ระบบ ดังนั้นการเปลี่ยนสถานะของสารจึงมีภาวะสมดุลเกิดขึ้นได้ เช่น สมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับก๊าซ และของแข็งกับก๊าซ โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามลักษณะของการเปลี่ยนแปลง
  • 6. 1.ค่าคงที่สมดุล ระบบสมดุลของ H2-I2-HI โดยทำการทดลองสารที่มีปริมาณต่าง ๆ ทำปฏิกิริยากันเข้าสู่สมดุลที่อุณหภูมิ 731K ดังสมการของปฏิกิริยาสมดุล คือ                                         H2 (g) + I2 (g) < --------- > 2HI(g)
  • 7.
  • 8.
  • 9. การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล ตัวอย่างที่ 1ปฏิกิริยา 2SO2 ( g ) + O2 < ----- > 2SO3 ( g ) ซึ่งเกิดภายในภาชนะขนาด 1 ลิตร เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาวะสมดุลพบว่าภายในภาชนะประกอบด้วย SO3 0.6 โมลSO2 0.2 โมลและ O2 0.3 โมล จงคำนวณหาค่าคงที่ของสมดุล
  • 10.
  • 11. ตัวอย่างที่ 2นำเหล็กและน้ำใส่ในภาชนะขนาด 5 dm3 แล้วปิดฝา เมื่อเผาภาชนะที่อุณหภูมิ 1000 C เกิดปฏิกิริยาดังนี้                               3Fe ( s ) + 4 H2O( g ) <-----> Fe3O4(s) + 4H2(g )     เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่ภาววะสมดุล จากการวิเคราะห์พบว่า ภายในภาชนะประกอบด้วยแก็สไฮโดรเจน 1.10 กรัม และไอน้ำ 42.50 กรัม จงคำนวณหาค่าคงที่ของสมดุลสำหรับปฏิกิริยานี้ที่อุณหภูมิ 100 C    ( H=1 , O =16)