SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
ชื่อ นางสาวกฤตยา หล่อปิยานนท์ม.5/4 เลขที่20
กราฟฟิกแท็บแล็ต
กราฟิกส์แท็บเล็ต (graphics tablet) หรือดิจิไทเซอร์ (digitizer) หรือมักเรียกกันว่า เมาส์ปากกา (penmouse)
เป็นอุปกรณ์รับเข้าสาหรับคอมพิวเตอร์ซึ่งช่วยให้บุคคลใช้มือวาดภาพและกราฟิกส์ทานองเดียวกับใช้ปากกาวาดลงบนกระดาษ
ทั้งยังสามารถใช้ยึดเก็บข้อมูล ลงลายมือชื่อ
และร่างภาพจากกระดาษซึ่งวางหรืดติดไว้บนเครื่องได้ด้วยอุปกรณ์นี้ประกอบด้วยกระดานที่สามารถใช้แท่ง (stylus)
ซึ่งเป็นอุปกรณ์คล้ายปากกาและแนบมาพร้อมกัน วาดหรือร่างภาพลงบนนั้นได้ แต่ภาพจะมิได้ปรากฏบนตัวแท็บเล็ต
หากปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันอยู่
แท็บเล็ตอิเล็กทรอนิกส์สาหรับขีดเขียนด้วยมือเครื่องแรกนั้น คือ เครื่องเท็ลออโตกราฟ (Telautograph) ซึ่งเอลิชา เกรย์ (Elisha
Gray)จดสิทธิบัตรไปใน ค.ศ. 1888 เอลิชา เกรย์ผู้นี้เป็นที่รู้จักกันในฐานะที่ประดิษฐ์โทรศัพท์และอยู่ร่วมสมัยกับอะเล็กซานเดอร์ เกรย์แฮม
เบล(AlexanderGrahamBell) ส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตเครื่องแรกซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับแท็บเล็ตปัจจุบันและใช้ผ่านจอคอมพิวเตอร์นั้น
คือ สไตเลเตอร์ (Stylator) ผลิตขึ้นเมื่อค.ศ. 1957 และนาออกเผยแพร่เมื่อค.ศ.
1964 แรนด์แท็บแล็ตนี้อาศัยสายไฟฟ้าซึ่งอยู่ใต้ผิวกระดานในการแปลงพิกัดแนวนอนแนวดิ่งเป็นสัญญาณแม่เหล็กขนาดเล็ก
แล้วปากกาจะรับสัญญาณแม่เหล็กนี้ก่อนถอดรหัสกลับเป็นข้อมูลเชิงพิกัดอีกทอดหนึ่งกราฟิกส์แท็บเล็ตได้รับความนิยมเป็นอันมากในช่วง
กลางคริสต์ทศวรรษที่ 1970 จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1980 เมื่อสินค้าแท็บเล็ตที่เรียก"ไอดี" (ID)ย่อมากจาก "อินเทลลิเจนต์ดิจิไทเซอร์"
(Intelligent Digitizer) กับ "บิตแพด" (BitPad) ของบริษัทซัมมากราฟิกส์ (Summagraphics) ประสบความสาเร็จทางการค้า
บริษัทซัมมากราฟิกส์ยังผลิตบิตแพดรุ่นโออีเอ็ม (OEM) ให้บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer)
จาหน่ายเป็นอุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 (Apple II)ในยี่ห้อแอปเปิลกราฟิกส์แท็บเล็ต (Apple Graphics
Tablet) แท็บเล็ตเหล่านี้ทางานด้วยเทคโนโลยีแมกเนโตสตริกชัน (magnetostriction)
ซึ่งใช้สายไฟฟ้าทาจากลวดอัลลอยชนิดพิเศษแผ่ไปทั่วซับสเตรต (substrate) เพื่อให้วางตาแหน่งปากกาบนผิวกระดานได้ถูกต้องแม่นยา
ทั้งยังช่วยให้มีการคานวณแกน "แซด" (Z)ด้วยส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตสาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านนั้น คือ โคอาลาแพด (KoalaPad)
ซึ่งตั้งใจออกแบบมาเพื่อคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2
แต่ภายหลังปรับปรุงให้ใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านทั่วไปที่มีสิ่งสนับสนุนทางกราฟิกส์ได้ด้วย
แท็บลิตที่บริษัทอาตาริผลิตนั้นถือกันว่ามีคุณภาพสูง ต่อมาใน ค.ศ. 1981 นักดนตรีทอด รันด์เกรน (ToddRundgren)
สร้างซอฟต์แวร์กราฟิกส์แท็บเล็ตแบบมีสีสาหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนตัวเป็นครั้งแรกของโลก
แอปเปิลได้จดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์นี้โดยเรียกชื่อว่า "ระบบยูโทเปียกราฟิกส์แท็บเล็ต" (Utopia Graphics TabletSystem)
ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980ผู้จาหน่ายกราฟิส์แท็บเล็ตหลายเจ้าได้เพิ่มระบบทางานหลายประการให้แก่แท็บเล็ต
เช่นการรับรองลายมือ และผังรายการบนแท็บเล็ต

More Related Content

More from Lorpiyanon Krittaya

S2 work2m34no27
S2 work2m34no27S2 work2m34no27
S2 work2m34no27
Lorpiyanon Krittaya
 

More from Lorpiyanon Krittaya (11)

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Course outline
Course outlineCourse outline
Course outline
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
S2 work2m34no27
S2 work2m34no27S2 work2m34no27
S2 work2m34no27
 

อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์

  • 1. ชื่อ นางสาวกฤตยา หล่อปิยานนท์ม.5/4 เลขที่20 กราฟฟิกแท็บแล็ต กราฟิกส์แท็บเล็ต (graphics tablet) หรือดิจิไทเซอร์ (digitizer) หรือมักเรียกกันว่า เมาส์ปากกา (penmouse) เป็นอุปกรณ์รับเข้าสาหรับคอมพิวเตอร์ซึ่งช่วยให้บุคคลใช้มือวาดภาพและกราฟิกส์ทานองเดียวกับใช้ปากกาวาดลงบนกระดาษ ทั้งยังสามารถใช้ยึดเก็บข้อมูล ลงลายมือชื่อ และร่างภาพจากกระดาษซึ่งวางหรืดติดไว้บนเครื่องได้ด้วยอุปกรณ์นี้ประกอบด้วยกระดานที่สามารถใช้แท่ง (stylus) ซึ่งเป็นอุปกรณ์คล้ายปากกาและแนบมาพร้อมกัน วาดหรือร่างภาพลงบนนั้นได้ แต่ภาพจะมิได้ปรากฏบนตัวแท็บเล็ต หากปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันอยู่ แท็บเล็ตอิเล็กทรอนิกส์สาหรับขีดเขียนด้วยมือเครื่องแรกนั้น คือ เครื่องเท็ลออโตกราฟ (Telautograph) ซึ่งเอลิชา เกรย์ (Elisha Gray)จดสิทธิบัตรไปใน ค.ศ. 1888 เอลิชา เกรย์ผู้นี้เป็นที่รู้จักกันในฐานะที่ประดิษฐ์โทรศัพท์และอยู่ร่วมสมัยกับอะเล็กซานเดอร์ เกรย์แฮม เบล(AlexanderGrahamBell) ส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตเครื่องแรกซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับแท็บเล็ตปัจจุบันและใช้ผ่านจอคอมพิวเตอร์นั้น คือ สไตเลเตอร์ (Stylator) ผลิตขึ้นเมื่อค.ศ. 1957 และนาออกเผยแพร่เมื่อค.ศ. 1964 แรนด์แท็บแล็ตนี้อาศัยสายไฟฟ้าซึ่งอยู่ใต้ผิวกระดานในการแปลงพิกัดแนวนอนแนวดิ่งเป็นสัญญาณแม่เหล็กขนาดเล็ก แล้วปากกาจะรับสัญญาณแม่เหล็กนี้ก่อนถอดรหัสกลับเป็นข้อมูลเชิงพิกัดอีกทอดหนึ่งกราฟิกส์แท็บเล็ตได้รับความนิยมเป็นอันมากในช่วง กลางคริสต์ทศวรรษที่ 1970 จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1980 เมื่อสินค้าแท็บเล็ตที่เรียก"ไอดี" (ID)ย่อมากจาก "อินเทลลิเจนต์ดิจิไทเซอร์" (Intelligent Digitizer) กับ "บิตแพด" (BitPad) ของบริษัทซัมมากราฟิกส์ (Summagraphics) ประสบความสาเร็จทางการค้า บริษัทซัมมากราฟิกส์ยังผลิตบิตแพดรุ่นโออีเอ็ม (OEM) ให้บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) จาหน่ายเป็นอุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 (Apple II)ในยี่ห้อแอปเปิลกราฟิกส์แท็บเล็ต (Apple Graphics Tablet) แท็บเล็ตเหล่านี้ทางานด้วยเทคโนโลยีแมกเนโตสตริกชัน (magnetostriction) ซึ่งใช้สายไฟฟ้าทาจากลวดอัลลอยชนิดพิเศษแผ่ไปทั่วซับสเตรต (substrate) เพื่อให้วางตาแหน่งปากกาบนผิวกระดานได้ถูกต้องแม่นยา ทั้งยังช่วยให้มีการคานวณแกน "แซด" (Z)ด้วยส่วนกราฟิกส์แท็บเล็ตสาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านนั้น คือ โคอาลาแพด (KoalaPad) ซึ่งตั้งใจออกแบบมาเพื่อคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 แต่ภายหลังปรับปรุงให้ใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ประจาบ้านทั่วไปที่มีสิ่งสนับสนุนทางกราฟิกส์ได้ด้วย แท็บลิตที่บริษัทอาตาริผลิตนั้นถือกันว่ามีคุณภาพสูง ต่อมาใน ค.ศ. 1981 นักดนตรีทอด รันด์เกรน (ToddRundgren) สร้างซอฟต์แวร์กราฟิกส์แท็บเล็ตแบบมีสีสาหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนตัวเป็นครั้งแรกของโลก แอปเปิลได้จดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์นี้โดยเรียกชื่อว่า "ระบบยูโทเปียกราฟิกส์แท็บเล็ต" (Utopia Graphics TabletSystem) ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980ผู้จาหน่ายกราฟิส์แท็บเล็ตหลายเจ้าได้เพิ่มระบบทางานหลายประการให้แก่แท็บเล็ต เช่นการรับรองลายมือ และผังรายการบนแท็บเล็ต