SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การปฏิบัติงานด้านพิจารณาโครงการ
แนวทางการพิจารณาโครงการ
เพื่อการพัฒนาแหล่งน้าประเภทอ่างเก็บน้า
ฝ่ ายพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรม
สํานักงานชลประทานที่ 2
อ่างเก็บนํ้า
อ่างเก็บน้า เป็นแหล่งน้าผิวดินที่มักจะสร้างบริเวณที่ต่าที่น้าไหลจาก
ร่องน้า หรือตามลาน้าธรรมชาติมารวมกันโดยการก่อสร้างปิดกั้น
ระหว่างหุบเขาหรือเนินเขาสูง จนเกิดเป็นแหล่งน้าที่มีขนาดต่าง ๆ มัก
ก่อสร้างโดยใช้ดินบดอัดแน่นเป็นตัวเขื่อนดิน ซึ่งจะเก็บน้าฝนที่ตกใน
ฤดูฝนเก็บกักไว้ใช้ในฤดูแล้ง โดยส่งน้าไปตามท่อส่งน้า ใช้สาหรับทา
การเพาะปลูกการอุปโภคบริโภค เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้า รวมถึง
การบรรเทาปัญหาอุทกภัย
ตัวอย่างอ่างเก็บน้าในเขต สปช. 2
อ่างเก็บนํ้ากิ่วคอหมา จ. ลําปาง อ่างเก็บนํ้าแม่ตํ๋า จ. พะเยา
อ่างเก็บนํ้าห้วยช้าง จ.เชียงราย อ่างเก็บนํ้าแม่สรวย จ.เชียงราย
ตัวอย่างอ่างเก็บนํ้าในเขต สชป.2
รับเรื่องร้องเรียนราษฎร/
แผนงานกระทรวงกรมฯ/
อื่นๆ
ศึกษาเรื่องเดิมและสภาพปัญหา
ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลในสนาม
ศึกษาด้านวิศวกรรมโครงการ
พิจารณาออกแบบ
ลักษณะโครงการ
เบื้องต้น
จัดทํารายงาน
การศึกษาเบื้องต้น
รายงานผลการศึกษาเบื้องต้น
กระบวนงานศึกษาโครงการพัฒนาแหล่งนํ้า
ลําดับ ผังกระบวนงาน รายละเอียดงาน ผู้รับผิดชอบ
ระยะเวลา
(วัน)
1
รับเรื่องร้องเรียนจากราษฎร/
แผนกระทรวงกรมฯ/อื่นๆ
พิจารณาตรวจสอบแนวคิด เรื่องเดิม และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ถ้าหากมีผลการศึกษาแล้ว จะจัดทารายงานสรุปผลการศึกษาเสนอ ผวศ.ชป.2
และ ผส.ชป.2 เพื่อเห็นชอบ ตอบชี้แจง ต่อไป
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
- โครงการชลประทาน
1-2
2
ศึกษาเรื่ องเดิมและสภาพ
ปัญหา
ถ้าหากยังไม่มีผลการศึกษาหรือยังขาดข้อมูลเป็นปัจจุบัน จะทาการรวบรวม
ตรวจสอบเรื่องเดิม จัดเตรียมแผนที่เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาโครงการ
เบื้องต้น โดยศึกษาทาความเข้าใจเรื่องราวความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของ
โครงการให้ครอบคลุมปัญหาทั้งหมด
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
- โครงการชลประทาน
1-2
3
ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล
ในสนาม
กาหนดจุดที่ตั้งหัวงานและลักษณะโครงการเบื้องต้น ตรวจสอบสภาพภูมิ
ประเทศและสภาพลาน้า เก็บรวบรวมข้อมูลสภาพทางการเกษตร สภาพทาง
สังคม และสภาพการใช้น้าปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลแหล่งน้าและอาคาร
ชลประทานที่มีอยู่เดิมของกรมชลประทานและหน่วยงานอื่น รวมทั้งสอบถาม
และรับฟังข้อคิดเห็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อใช้ประกอบการ
พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
- โครงการชลประทาน
- ผู้ร้องขอโครงการ
- ผู้ที่ได้รับผลกระทบ
1-3
4
ศึกษาด้านวิศวกรรมโครงการ ศึกษาปริมาณน้าฝน ศึกษาปริมาณน้าต้นทุน (ปริมาณน้าท่า) ศึกษาปริมาณ
น้านองสูงสุด ศึกษาปริมาณตะกอน ศึกษาอัตราการระเหยและอัตราการรั่วซึม
ศึกษาความต้องการใช้น้าด้านต่าง ๆ
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
7-10
5
พิจารณาออกแบบลักษณะ
โครงการเบื้องต้น
วิเคราะห์สมดุลน้าระหว่างความต้องการใช้น้ากับปริมาณน้าต้นทุน สรุปผล
การศึกษาวิเคราะห์แนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ กาหนดลักษณะโครงการ
และพื้นที่ชลประทาน อาคารหัวงาน ระบบส่งน้าและอาคารประกอบ ประมาณ
ราคาค่าก่อสร้างโครงการ ศึกษาผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบของ
โครงการ สรุปข้อเสนอแนะ และกาหนดขอบเขตการสารวจภูมิประเทศ
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
7-10
6
จัดทารายงานผลการศึกษา
เบื้องต้น
พิมพ์ ตรวจสอบ ทาน แก้ไขรายละเอียดผลการศึกษา จัดทาเอกสารรายงาน
จัดทาแผนที่โครงการและภาพถ่ายประกอบการนาเสนอ ผวศ.ชป.2 และ
ผส.ชป.2 เพื่อเห็นชอบและอนุมัติ
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
3-5
7
รายงานผลการศึกษาเบื้องต้น จัดทาสาเนาและส่งให้หน่วยงานผู้เกี่ยวข้องนาไปใช้เป็นข้อมูลตอบเรื่อง
ร้องเรียน สารวจ ออกแบบ ต่อไป หากถ้าเป็นโครงการชลประทานขนาดกลาง
ขนาดใหญ่ จะจัดส่งให้สานักบริหารโครงการศึกษาและจัดทารายงาน
วางโครงการระดับ PR , FS ต่อไป
- ฝ่ายพิจารณาโครงการ
1-2
รวม 21-35
กระบวนงานศึกษาโครงการพัฒนาแหล่งนํ้า
การตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลในสนาม
สภาพพื้นที่ประสบปัญหาขาดแคลนนํ้า
ร่วมกันพิจารณาแนวทางเลือกของโครงการโดยราษฎรมีส่วนร่วม
ตรวจสอบสภาพการใช้นํ้าปัจจุบันพร้อมจัดทําแผนภูมิการใช้นํ้า
ตรวจสอบสภาพการใช้นํ้าปัจจุบันพร้อมจัดทําแผนที่ประกอบ
การพิจารณาจุดที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้า
1.บริเวณที่มีสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมหัวงานประเภทอ่างเก็บน้า
ควรเป็นบริเวณเขาแคบหรือมีสันเนินอยู่ใกล้กัน บริเวณที่เก็บ
กักน้ามีลักษณะเป็นแอ่งกว้าง ทาให้ไม่ต้องสร้างทานบดินยาว
เกินไปหรือสูงเกินไป
2. บริเวณที่มีสภาพทางธรณีวิทยาและสภาพฐานรากที่เหมาะสม
3. หัวงานควรตั้งอยู่บริเวณที่สูง สามารถส่งน้าหรือมี Head เพียง
พอที่จะส่งน้าไปยังพื้นที่เพาะปลูกได้
การศึกษาด้านวิศวกรรมโครงการ
1.การศึกษาข้อมูลนํ้าฝน
2.การศึกษาปริมาณนํ้าต้นทุน (ปริมาณนํ้าท่า)
3.การศึกษาปริมาณนํ้านองสูงสุด
4.การศึกษาปริมาณตะกอน
5.การศึกษาอัตราการระเหย การรั่วซึม
6.การศึกษาปริมาณความต้องการใช้นํ้าด้านต่าง ๆ
7.การศึกษาผลกระทบของโครงการ ด้านต่างๆ
ปริมาณนํ้าฝนรายเดือน - มิลลิเมตร
สถานี :16092 อ.งาว จ.ลําปาง
ปีนํ้า เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. รวม ปริมาณฝนสูงสุด ยกกาลังสอง
2495 10.5 34.8 32.3 244.6 206.4 303.5 62.5 0 2.1 18.8 6.5 0 922.0 303.5 92112.3
2496 192.1 202.3 261.5 165.3 209.6 163.2 65.3 14.6 0 4.2 0 22.1 1300.2 261.5 68382.3
2497 69.6 218.1 113.6 66.1 299.1 284.2 105.9 7.5 28.1 0 7.4 11 1210.6 299.1 89460.8
2498 85.6 139.3 218.5 142.6 386 171.6 111.9 0 0 0 0 14.3 1269.8 386.0 148996.0
2499 133.1 188.6 142 236.1 301.2 298.9 59.7 33 0 0 0 87.7 1480.3 301.2 90721.4
2500 74.5 125.4 206.6 145.4 306.1 263.5 137.8 0 0 7.9 0 19.3 1286.5 306.1 93697.2
2501 73.7 172.7 177.2 118 214.1 108.1 97.9 0 0 0 3.8 17.3 982.8 214.1 45838.8
2502 57.5 167.5 141 243.6 247.1 272.6 39.8 11.4 0 32.3 0 13.5 1226.3 272.6 74310.8
2503 19.9 107.8 72.5 152.5 190.7 315.2 57.4 27.4 22.8 0 25 77.9 1069.1 315.2 99351.0
2504 103.5 290.1 212.2 107.5 427.4 426.1 111.7 0 37.3 0 0 29.4 1745.2 427.4 182670.8
2505 93 210.6 147.9 148.5 208.4 199.7 193.5 15.9 0 0 21.7 27.9 1267.1 210.6 44352.4
2506 47.6 61.7 288.1 213.9 290.6 106.7 220 60.1 0 0 0 0 1288.7 290.6 84448.4
2530 45.3 138.2 168.7 112.8 317.6 201.7 43.8 114.5 0 0 0 0 1142.6 317.6 100869.8
2531 71.8 98.9 159.5 90.7 242.7 90.5 96.4 30.2 0 0 0 0 880.7 242.7 58903.3
2532 7.4 277.6 130.1 169.9 182.9 160 132.8 0 0 0 15.1 43.5 1119.3 277.6 77061.8
2533 58.5 43.5 71.4 176.5 160.8 145.4 78.2 16.5 0 0 0 13.2 764.0 176.5 31152.3
2534 77.9 81.1 152.9 116.6 282.6 91 112.4 8.2 0 0.4 38.6 0 961.7 282.6 79862.8
2535 0 18.7 89.3 155.7 100.4 122.3 201.7 0 80.1 0 0 35.7 803.9 201.7 40682.9
2536 117.9 227.3 122.6 125.8 124 133.9 10.7 0 0 0 0 201.3 1063.5 227.3 51665.3
2537 72.4 292.8 118.1 248.8 364.7 85.1 3 0 10.5 0 0 0 1195.4 364.7 133006.1
2538 15.3 139 61.6 316 278.4 87.3 22.1 157.8 0 0 4 17.3 1098.8 316.0 99856.0
2539 97 35.5 73.2 103.6 237.7 115.8 81.2 55.4 0 0 19.3 35.2 853.9 237.7 56501.3
2540 92.3 52.7 131 220.1 278 165.2 49 26.5 0 0 0 122 1136.8 278.0 77284.0
2541 53.7 261.6 104.1 226.8 268.5 35.5 52.2 73.2 0 0 0 0 1075.6 268.5 72092.3
2542 46 326.4 400 207.8 229.6 401.8 225.9 25.6 0 0 4.9 1.2 1869.2 401.8 161443.2
2543 39.6 39.7 32.9 189.2 241.2 216.3 154 0 0 28.5 0 210.7 1152.1 241.2 58177.4
2544 84.1 231.7 99.4 325.3 317.3 180.3 150.5 7.3 0 30.3 0 7.6 1433.8 325.3 105820.1
2545 81.8 570.4 55 158 375.9 240.8 61.4 63.7 27.4 3.2 0 77.6 1715.2 570.4 325356.2
2546 74.8 118.4 145.3 94.5 147.3 210 180 28.1 0 0 0 0 998.4 210.0 44100.0
2547 21.2 177 198.6 163.8 195.3 280.6 0 0 0 0 0 10 1046.5 280.6 78736.4
2548 84 150 55.7 139 269.2 552 170 15 0 0 1 10 1445.9 552.0 304704.0
2549 106.7 240 116.5 113.5 415.4 205.8 20 0 0 0 0 0 1217.9 415.4 172557.2
สูงสุด 192.1 570.4 400 394.6 427.4 552 225.9 157.8 80.1 89.8 38.6 210.7 1869.2 เฉลี่ย หรือ Q 297.5 5245948.3
เฉลี่ย 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 1186.4 N 55
ตํ่าสุด 0 18.7 32.3 66.1 84 35.5 0 0 0 0 0 0 764.0 SQ 83.69
วัน 4.3 9.9 9.5 11.6 14.6 12.9 7 1.5 0.4 0.6 0.7 1.5 74.6
ตารางคํานาณปริมาณนํ้าต้นทุน
โครงการชลประทานในเขตสานักชลประทานที่ 2
อ่างฯแม่จางตอนบน พิกัด 47 QNA939 - 415 ระวาง 4945 I ลาดับชุด L 7018
บ้านจางเหนือพัฒนาหมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
เดือน ฝนเฉลี่ย DA R.O.Coeft. ปริมาณน้าไหล ปริมาณน้าไหล หมายเหตุ
(มม.) (กม.2) (%) ผ่านหัวงาน(ม.3) ผ่านหัวงาน%
เม.ย. 71.63 9.15 6.77 44,343 1.75 1. ค่าฝนเฉลี่ยที่ใช้ในการคานวณ
พ.ค. 176.05 9.15 20.29 326,820 12.90 เป็นค่าเฉลี่ยของปริมาณฝนที่
มิ.ย. 143.34 9.15 17.05 223,629 8.83
อาเภองาว
จังหวัด
ลาปาง
ก.ค. 181.14 9.15 24.95 413,457 16.32 รหัส 16092
ส.ค. 241.44 9.15 32.76 723,616 28.57 2. เฉลี่ยระหว่างปี
ก.ย. 204.67 9.15 32.99 617,869 24.39 พ.ศ. 2495 ถึง พ.ศ. 2549
ต.ค. 101.80 9.15 19.67 183,229 7.23 3. D.A. วัดจากแผนที่มาตราส่วน
พ.ย. 21.95 9.15 0.00 - 0.00 1:50,000
ธ.ค. 6.59 9.15 0.00 - 0.00 4. R.O. Coefficient คานวณ
ม.ค. 5.95 9.15 0.00 - 0.00 จาก Terrain - C
ก.พ. 4.45 9.15 0.00 - 0.00 C
มี.ค. 27.40 9.15 0.00 - 0.00
รวม 1186.40 2,532,964 100.00
40% 1,013,186
1. Yield from Yield Map 5 - 10
ลิตร/วินาที/
กม.2
2. Specific Yield from calculat 8.78
ลิตร/วินาที/
กม.2
3. Avg. Annual R.O.Coeft. 23.33 %
จากการตรวจสอบSpecific Yield กับแผนที่แสดงYield ของประเทศไทยที่ทางสานัก
อุทกวิทยาและบริหารน้าจัดทาไว้พบว่ามีค่าใกล้เคียงกัน แสดงว่า Terrain ที่เลือกไว้ถูกต้อง
4. ปริมาณตะกอน 68,625ลูกบาศก์เมตร
RUNOFF ESTIMATION CHART
Type of Terrain Equations Remark
A y = 0.1295x + 8.5 ( x > 23 )
B y = 0.1295x + 5.5 ( x > 27 )
C y = 0.1295x + 1.5 ( x > 35 )
D y = 0.1295x - 3.0 ( x > 42 )
E y = 0.1295x - 6.0 ( x > 50 )
สถานี W.22 น้าแม่จาง อ.เกาะคา จ.ลาปาง
สถิติที่เคยปรากฏ
1. สถิติระดับน้าสูงสุด 5.46 ม.( 30 ต.ค. 44 )
2. สถิติปริมาณน้าไหลสูงสุด 398.40 ลบ.ม./วินาที ( 30 ต.ค.44 )
3. สถิติระดับน้าต่าสุด -0.40 ม.( 26 ธ.ค. 53 )
4. สถิติปริมาณน้าไหลต่าสุด 0.00 ลบ.ม./วินาที ( 10 เม.ย. 49 )
5. สถิติปริมาณน้าเฉลี่ยของเดือน ต.ค. (2544-2554) 32.9 ล้าน ลบ.ม.
6.สถิติปริมาณน้าเฉลี่ยสะสมรายปี (2544-2554) 204.7 ล้าน ลบ.ม.
ข้อมูลนํ้าท่าของเดือน ตุลาคม 2555
1. ระดับน้าสูงสุด 0.60 ม.(7 ต.ค. 55)
2. ปริมาณน้าไหลสูงสุด 34.40 ลบ.ม./วินาที
3. ระดับน้าต่าสุด -0.01 ม.(31 ต.ค. 55)
4. ปริมาณน้าไหลต่าสุด 2.68 ลบ.ม./วินาที
5. ปริมาณน้ารวมทั้งเดือน 31.7 ล้าน ลบ.ม.
6. น้าท่าประจาเดือนนี้อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
ปริมาณน้ารายเดือน - ล้าน
ลูกบาศก์เมตร
เดือน เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค ปี
เฉลี่ย(2544-2554) 5.7 19.9 11.3 11.0 31.0 75.9 32.9 9.6 2.1 2.0 1.7 1.7 204.7
เฉลี่ยสะสม 5.7 25.5 36.8 47.8 78.9 154.7 187.6 197.2 199.3 201.3 203.1 204.7
ปี2555 11.0 34.9 35.5 5.9 28.8 212.7 31.7
สะสมปี2555 11.0 45.9 81.4 87.3 116.0 328.7 360.5
ตารางแสดงการแพร่กระจายปริมาณนํ้าต้นทุน
อ่างฯแม่จางตอนบน
บ้านจางเหนือพัฒนาหมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
ฝนเฉลี่ย การแผ่กระจาย
การแผ่กระจายน้าท่า
ในลุ่มน้าใกล้เคียง ปริมาณน้าต้นทุน ปริมาณน้าต้นทุน
เดือน เนื่องจากฝน สถานี W.22 (D.A= 1,549km2) ไหลผ่านหัวงาน ไหลผ่านหัวงาน
(มม.) (%) (ล้าน ม.3) % (%) (ม3)
เม.ย. 71.63 1.75 5.66 2.77 2.259 57,214
พ.ค. 176.05 12.90 19.87 9.70 11.303 286,306
มิ.ย. 143.34 8.83 11.31 5.53 7.177 181,790
ก.ค. 181.14 16.32 10.98 5.36 10.843 274,659
ส.ค. 241.44 28.57 31.04 15.16 21.864 553,819
ก.ย. 204.67 24.39 75.87 37.06 30.726 778,284
ต.ค. 101.80 7.23 32.88 16.06 11.647 295,002
พ.ย. 21.95 - 9.64 4.71 2.354 59,619
ธ.ค. 6.59 - 2.10 1.03 0.513 12,997
ม.ค. 5.95 - 2.00 0.98 0.488 12,371
ก.พ. 4.45 - 1.71 0.84 0.419 10,606
มี.ค. 27.40 - 1.66 0.81 0.4066 10,298
รวม 1186.40 100.00 204.73 100.00 100.00 2,532,964
สถานี W. 22 = ข้อมูลน้าท่าของสถานีแม่น้าจาง อ.เกาะคา จ.ลาปาง
ตารางคํานวณหา Monthly correlation Factor
อ่างฯแม่จางตอนบน
เดือน ฝนเฉลี่ย Avg. Monthly Flow Correlation Factor หมายเหตุ
(มม.) (ม.3) (ของฝน 1 มม.)
เม.ย. 71.63 57,213.69 798.71
พ.ค. 176.05 286,305.52 1,626.23
มิ.ย. 143.34 181,790.10 1,268.28
ก.ค. 181.14 274,658.55 1,516.31
ส.ค. 241.44 553,818.74 2,293.83
ก.ย. 204.67 778,284.13 3,802.68
ต.ค. 101.80 295,002.06 2,897.96
พ.ย. 21.95 59,618.60 2,716.45
ธ.ค. 6.59 12,997.27 1,973.09
ม.ค. 5.95 12,371.13 2,077.59
ก.พ. 4.45 10,605.70 2,383.79
มี.ค. 27.40 10,298.33 375.85
1186.4 2,532,963.81
ตารางคํานวณปริมาณนํ้าต้นทุนเฉลี่ยรายเดือน
โครงการ
อ่างฯแม่จาง
ตอนบน ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
พ.ศ. เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม รวม
2495 8386.4 56592.9 40965.3 370889.0 473447.0 1154113.4 181122.7 0.0 4143.5 39058.8 15494.6 0.0 2,344,214
2496 153432.0 328986.7 331654.2 250645.7 480787.3 620597.4 189237.0 39660.1 0.0 8725.9 0.0 8306.3 2,412,033
2497 55590.1 354681.2 144076.2 100228.0 686085.3 1080721.6 306894.2 20373.3 55443.8 0.0 17640.0 4134.4 2,825,868
2498 68369.5 226534.1 277118.4 216225.5 885419.3 652539.9 324282.0 0.0 0.0 0.0 0.0 5374.7 2,655,863
2499 106308.1 306707.3 180095.2 358000.4 690902.3 1136621.0 173008.4 89642.7 0.0 0.0 0.0 32962.2 3,074,248
2500 59503.8 203929.5 262025.9 220471.2 702142.1 1002006.2 399339.2 0.0 0.0 16413.0 0.0 7253.9 2,873,085
2501 58864.8 280850.2 224738.5 178924.4 491109.5 411069.7 283710.5 0.0 0.0 0.0 9058.4 6502.2 1,944,828
2502 45925.8 272393.8 178826.9 369372.7 566806.0 1036610.6 115338.9 30967.5 0.0 67106.3 0.0 5074.0 2,688,422
2503 15894.3 175307.8 91950.0 231237.0 437433.9 1198604.7 166343.1 74430.6 44986.4 0.0 59594.7 29278.8 2,525,061
2504 82666.4 471769.9 269128.2 163003.1 980384.0 1620321.9 323702.4 0.0 73596.2 0.0 0.0 11050.0 3,995,622
2505 74279.9 342484.4 187578.1 225171.8 478034.7 759395.2 560755.8 43191.5 0.0 0.0 51728.2 10486.3 2,733,106
2506 38018.5 100338.5 365390.4 324338.3 666587.7 405746.0 637551.8 163258.4 0.0 0.0 0.0 0.0 2,701,230
2507 46245.2 461524.6 125052.0 306445.9 259203.1 981091.4 442229.1 30967.5 0.0 0.0 52681.8 6126.4 2,711,567
2528 118768.0 260847.6 210787.5 253071.8 192681.9 960176.7 268061.5 203461.9 0.0 0.0 0.0 0.0 2,467,857
2529 48401.8 307683.1 115793.6 316756.8 494779.7 444533.3 448025.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2,175,973
2530 36181.5 224745.2 213958.2 171039.6 728521.2 767000.5 126930.8 311033.1 0.0 0.0 0.0 0.0 2,579,410
2531 57347.3 160834.3 202290.1 137529.2 556713.1 344142.5 279363.6 82036.7 0.0 0.0 0.0 0.0 1,820,257
2532 5910.4 451442.0 165002.7 257620.8 419542.0 608428.8 384849.4 0.0 0.0 0.0 35995.2 16349.5 2,345,141
2533 46724.5 70741.1 90554.9 267628.4 368848.3 552909.7 226620.7 44821.4 0.0 0.0 0.0 4961.2 1,673,810
2534 62219.4 131887.4 193919.4 176801.5 648237.1 346043.9 325731.0 22274.9 0.0 831.0 92014.3 0.0 1,999,960
2535 0.0 30410.5 113257.1 236089.2 230300.8 465067.8 584519.1 0.0 158044.4 0.0 0.0 13417.9 1,831,107
2536 94167.8 369642.5 155490.7 190751.6 284435.2 509178.8 31008.2 0.0 0.0 0.0 0.0 75658.9 1,710,334
2537 57826.5 476160.7 149783.4 377257.5 836560.7 323608.1 8693.9 0.0 20717.4 0.0 0.0 0.0 2,250,608
2538 12220.2 226046.2 78125.8 479153.4 638603.0 331974.0 64045.0 428655.3 0.0 0.0 9535.2 6502.2 2,274,860
2539 77474.8 57731.2 92837.8 157089.5 545244.0 440350.3 235314.6 150491.1 0.0 0.0 46007.1 13230.0 1,815,770
2540 73720.8 85702.4 166144.2 333739.4 637685.4 628202.7 142000.2 71985.8 0.0 0.0 0.0 45853.9 2,185,035
2541 42890.7 425422.3 132027.6 343898.7 615894.0 134995.1 151273.6 198843.9 0.0 0.0 0.0 0.0 2,045,246
2542 36740.6 530802.1 507310.5 315088.8 526663.9 1527916.8 654649.8 69541.0 0.0 0.0 11680.6 451.0 4,180,845
2543 31628.9 64561.4 41726.3 286885.5 553272.4 822519.7 446286.2 0.0 0.0 59211.4 0.0 79191.9 2,385,284
2544 67171.4 376797.9 126066.7 493255.0 727833.0 685623.2 436143.4 19830.1 0.0 62951.1 0.0 2856.5 2,998,528
2545 65334.4 927602.7 69755.2 239576.7 862251.6 915685.3 177934.9 173037.7 54062.6 6648.3 0.0 29166.1 3,521,055
2546 59743.4 192545.9 184280.5 143291.1 337881.5 798562.8 521633.3 76332.2 0.0 0.0 0.0 0.0 2,314,271
2547 16932.6 287843.0 251879.7 248371.3 447985.5 1067032.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 3758.5 2,323,803
2548 67091.5 243934.8 70643.0 210766.8 617499.7 2099079.3 492653.6 40746.7 0.0 0.0 2383.8 3758.5 3,848,558
2549 85222.2 390295.7 147754.2 172101.0 952858.0 782591.5 57959.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2,588,782
ปริมาณน้าเฉลี่ย (ม.3) 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 2,532,964
ปริมาณน้ารอบ 10 ปี
(ม.3) 72,838 364,492 231,435 349,665 705,060 990,824 375,564 75,900 16,547 15,750 13,502 13,111 3,224,686
การหาปริมาณนํ้านองสูงสุดโดยวิธี Rational
โครงการอ่างฯแม่จางตอนบน
ที่ตั้ง บ้านจางเหนือพัฒนา หมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
47 QNA 939 - 415 ระวาง4945 I
ประเภทโครงการที่ร้องขอ อ่างเก็บน้า
พื้นที่รับน้าฝนเหนือที่ตั้งหัวงาน ( A ) 9.15 ตารางกิโลเมตร
ความยาวของลาน้าสายหลักจากทานบดินจนถึงจุดไกลสุดบนสันปันน้า( L ) 5.1 กิโลเมตร
ความแตกต่างระหว่างพื้นทานบดินและจุดไกลสุดบนสันปันน้า( H ) 134.118 เมตร (รทก.)
Time of Concentration ( Tc ) จะคานวณได้จาก , Tc = (0.87*L^3/H)0.385
ดังนั้น Tc เท่ากับ 0.94 ชั่วโมง
ดังนั้นช่วงเวลาของฝนเท่ากับ 0.94 ชั่วโมงหรือ 56.63 นาที
กาหนดให้รอบปีการเกิดซ้าเฉลี่ยเท่ากับ 25 ปี
จากกราฟความเข้มน้าฝน-ช่วงเวลา-รอบปีการเกิดซ้า ของจังหวัด ลาปาง
จะได้ค่าความเข้มของฝน (I) เท่ากับ 60 มม./ชั่วโมง
ค่าสัมประสิทธิ์น้าท่า( C ) ที่ใช้ในสูตรRational formula เท่ากับ 0.1
ปริมาณการไหลสูงสุด Q = 0.278*C*I*A
ดังนั้นปริมาณการไหลสูงสุด, Q เท่ากับ 15.26 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ตารางที่ 10 แสดงสัมประสิทธิ์การไหลนํ้าท่า (C)
ลักษณะพื้นที่ สัมประสิทธิ์การไหลน้าท่า(C)
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย 0.40-0.45
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง 0.50-0.55
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นสูง 0.55-0.60
ย่านค้าขาย 0.50-0.70
โรงเรียน-โรงพยาบาล 0.40-0.70
ย่านอุตสาหกรรม 0.50-0.70
สวนสาธารณะและสนามหญ้า 0.20-0.30
พื้นที่เกษตรกรรม 0.20-0.30
พื้นที่รกร้าง 0.10-0.30
การศึกษาปริมาณตะกอน
สําหรับการหาปริมาณตะกอน กรมชลประทานได้พัฒนาสูตรการหาปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้นใช้สําหรับโครงการ
ชลประทาน ดังนี้
V = CdAn x 1,000
เมื่อ V = ปริมาณตะกอนที่ตกจมในอ่างฯ(ลบ.ม.)
C = Coefficient of Terrain’s Slope
d = อัตราการกัดเซาะผิวดิน , (มม./ปี/ตร.กม.)
A = พื้นที่รับน้า(ตร.กม.)
N = อายุการใช้งานของอ่างเก็บน้า, (ปี)
และจากผลการคานวณจะได้ปริมาณตะกอนที่ตกจมในอ่างเก็บน้าแม่จางตอนบนที่อายุการใช้งานอ่างฯ ที่ 30 ปี เท่ากับ 68,625 ลูกบาศก์เมตร ดังนั้น
การกาหนดความจุอ่างเก็บน้าที่ระดับน้าต่าสุด (Dead Storage) จะต้องไม่ต่ากว่า 68,625 ลูกบาศก์เมตร
-
การหา EVAPORATION AND SEEPAGE
เดือน อัตราการระเหย อัตราการระเหย SEEPAGE EVAPORATION หมายเหตุ
มม. จริง มม. มม. AND SEEPAGE
เม.ย. 185.10 133.27 45.0 178.3 1.อัตราการระเหยที่ใช้วัดจาก
พ.ค. 162.50 117.00 46.5 163.5 อ.เมือง จ.ลาปาง
มิ.ย. 135.00 97.20 45.0 142.2
เป็นค่าเฉลี่ย
ระหว่าง ปี พ.ศ.
ก.ค. 128.40 92.45 46.5 138.9 2544 2546
ส.ค. 121.70 87.62 46.5 134.1 2.CORRECTION FACTOR
ก.ย. 109.50 78.84 45.0 123.8 CLASS A PAN (c)
ต.ค. 99.40 71.57 46.5 118.1 = 0.72 (ทุกภาค)
พ.ย. 86.50 62.28 45.0 107.3 3.SEEPAGE RATE (S)
ธ.ค. 80.90 58.25 46.5 104.7 ดินเหนียว 1.0-1.5 มม./วัน
ม.ค. 88.90 64.01 46.5 110.5 ดินร่วน 1.5-2.5 มม./วัน
ก.พ. 111.30 80.14 42.0 122.1 ร่วนปนทราย 2.5-3.8 มม./วัน
มี.ค. 157.50 113.40 46.5 159.9 ใช้SEEPAGE RATE (S) =
รวม 1466.70 1056.02 547.50 1603.52 1.5
การคํานวณปริมาณนํ้าที่ต้องส่งไปให้แก่พื้นที่เพาะปลูก
อ่างฯแม่จางตอนบน ตําบลจางเหนือ อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง
ที่ รายการ หน่วย มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม
1 แผนการปลูกพืช -
ตกกล้า
เพาะปลูก เก็บเกี่ยว พืชไร่ ไม่มีกิจกรรม
2
ระยะเวลาเจริญเติบโตของ
พืช วัน 30 31 31 30 31 30 31 31 28 31 30 31
3 Kc - 1 1.1 1.15 1.17 1 0 0.3 0.5 1 0.9 0 0
4 Evapotranspiration(ETp) มม./วัน 4.133 3.903 3.677 3.667 3.484 3.033 2.613 2.677 3.286 4.226 5.033 4.677
5 ETc มม./วัน 4.133 4.294 4.229 4.290 3.484 0.000 0.784 1.339 3.286 3.803 0.000 0.000
6 Percolation(P) มม./วัน 1.500 1.500 1.500 1.500 1.500 0.000 0.750 0.750 0.750 0.750 0.000 0.000
7 ETc+P มม./วัน 5.633 5.794 5.729 5.790 4.984 0.000 1.534 2.089 4.036 4.553 0.000 0.000
8 ปริมาณน้าที่พืชต้องการใช้ มม./เดือน 169.000 179.600 177.600 173.700 154.500 0.000 47.550 64.750 113.000 141.150 0.000 0.000
9 ฝนเฉลี่ยรายเดือน มม./เดือน 143.336 181.136 241.438 204.667 101.796 21.947 6.587 5.955 4.449 27.400 71.633 176.055
10 ฝนใช้การ(RE) มม./เดือน 100.335 126.795 144.863 122.800 71.257 17.558 6.587 5.955 4.449 21.920 57.306 123.238
11 ETc+P-RE มม./เดือน 68.665 52.805 32.737 50.900 83.243 0.000 40.963 58.795 108.551 119.230 0.000 0.000
12 Irr.Eff. % 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000
13 ความต้องการน้าชลประทาน มม./เดือน 171.661 132.011 81.843 127.249 208.106 0.000 102.407 146.989 271.377 298.075 0.000 0.000
14 ปริมาณน้าชลประทาน ม.^3/เดือน/ไร่ 274.658 211.218 130.948 203.599 332.970 0.000 163.851 235.182 434.204 476.920 0.000 0.000
15 ค่าชลภาระ ลิตร/วินาที/ไร่ 0.10596 0.07886 0.04889 0.07855 0.12432 0.00000 0.06117 0.08781 0.17948 0.17806 0.00000 0.00000
หมายเหตุ Percolation คิดดังนี้ ภาคกลาง =1 มม./วัน,ภาค ตอน. =2 มม./วัน,ภาคอื่นๆ = 1.5 มม./วัน
Irrigation Eff. ใช้ดังนี้ คลองดิน = 40 %,คลองดาด
=50%
ฝน 1153.393
แล้ง 1310.156
RESERVOIROPERATIONSTUDY
Average Annual Runoff Volume 2,532,964 m.^3
Reservoir Capacity m.^3
Dead Storage 68,625 m.^3
แถว เดือน
ที่ รายการ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
1 Average rainfall (mm.) 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7
2 Evaporation and Seepage(mm.) 118.068 107.280 104.748 110.508 122.136 159.900 178.272 163.500 142.200 138.948 134.124 123.840
3 Quantityin storage at startof period (m.^3) 903,932 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 68,625 426,905
4 Inflow from runoff (m.^3) 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284
5 Average water surface area of lake (m.^2) 108471 83725 90022 90521 90870 90860 90651 96356 130858 103252 8235 51228
6 Rainfall over water surface area (m.^3) 11041.95336 1837.535409 592.9994655 539.0114091 404.2888909 2489.564 6493.57836 16963.91178 18756.70987 18702.69182 1988.243427 10484.69505
7 Evaporation and Seepage(m.^3) 12806.95403 8982.018 9429.624456 10003.29467 11098.49832 14528.514 16160.53507 15754.206 18608.0076 14346.6589 1104.5 6344.1
8 Nettotalgain or loss (m.^3) 293,237 52,474 4,161 2,907 -89 -1,741 47,547 287,515 181,939 279,015 554,702 782,425
9 Total quantityfor period (m.^3) 1,197,169 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 1,272,427 1,139,454 623,327 1,209,330
10 Requirement for rice per rai (m.^3) 333.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 274.7 211.2 130.9 203.6
11 Requirement for uplandcrop per rai (m.^3) 0.0 0.0 163.9 235.2 434.2 476.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
12 Quantityrequired for rice-rai (m.^3) 1,500.00ไร่ 499,455 - - - - - - - 411,987 316,827 196,423 305,398
13
Quantityrequired for upland crop-rai
(m.^3) ไร่ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
14 Requirement for watersupply (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
15 Requirement for factories (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
16 Total QuantityRequired (m.^3) 499,455 - - - - - - - 411,987 316,827 196,423 305,398
17 Shortage (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
18 Excess or Spill(m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 754001.9116 0 0
19 Carried over to nextperiod (m.^3) 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 68,625 426,905 903,932
ความต้องการน้าสาหรับข้าวทั้งหมด 1153.4ม.^3 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 822,627 426,905 903,932
ความต้องการน้าสาหรับพืชไร่ทั้งหมด 1310.2ม.^3
ความต้องการน้าสาหรับประปาทั้งหมด 0ม.^3
ความต้องการน้าสาหรับโรงงาน
อุตสาหกรรมทั้งหมด 0ม.^3
พื้นที่ฤดูฝน 2,136.60
ปรับแก้ 1,500.00
ปริมาณน้ามากที่สุดเดือน มิถุนายน 1,090,488 นาไปใช้ในการทา ROS 2
RESERVOIROPERATIONSTUDY
Average Annual Runoff Volume 2,532,964 m.^3
Reservoir Capacity 1,090,488 m.^3 43.05% 1,139,296
44.978751
62
Dead Storage 68,625 m.^3
แถว เดือน
ที่ รายการ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
1 Average rainfall (mm.) 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7
2 Evaporation and Seepage(mm.) 118.068 107.280 104.748 110.508 122.136 159.900 178.272 163.500 142.200 138.948 134.124 123.840
3 Quantityin storage at startof period (m.^3) 1,139,296 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177
4 Inflow from runoff (m.^3) 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284
5 Average water surface area of lake (m.^2) 108471 83725 90022 90521 90870 90860 90651 96356 130858 103252 8235 51228
6 Rainfall over water surface area (m.^3) 11041.95336 1837.535409 592.9994655 539.0114091 404.2888909 2489.564 6493.57836 16963.91178 18756.70987 18702.69182 1988.243427 10484.69505
7 Evaporation and Seepage(m.^3) 12806.95403 8982.018 9429.624456 10003.29467 11098.49832 14528.514 16160.53507 15754.206 18608.0076 14346.6589 1104.51114 6344.07552
8 Nettotalgain or loss (m.^3) 293,237 52,474 4,161 2,907 -89 -1,741 47,547 287,515 181,939 279,015 554,702 782,425
9 Total quantityfor period (m.^3) 1,432,533 985,551 989,712 894,308 753,111 490,848 252,243 539,758 721,697 588,724 826,599 1,412,601
10 Requirement for rice per rai (m.^3) 333.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 274.7 211.2 130.9 203.6
11 Requirement for uplandcrop per rai (m.^3) 0.0 0.0 163.9 235.2 434.2 476.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
12 Quantityrequired for rice-rai (m.^3) 1500ไร่ 499455.2727 0 0 0 0 0 0 0 411987.2727 316827.2727 196422.5455 305397.8182
13 Quantityrequired for upland crop-rai (m.^3) 600ไร่ 0 0 98310.54545 141109.0909 260522.1818 286152 0 0 0 0 0 0
14 Requirement for watersupply (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
15 Requirement for factories (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
16 Total QuantityRequired (m.^3) 499455.2727 0 98310.54545 141109.0909 260522.1818 286152 0 0 411987.2727 316827.2727 196422.5455 305397.8182
17 Shortage (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
18 Excess or Spill(m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
19 Carried over to nextperiod (m.^3) 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177 1,107,204
ความต้องการน้าสาหรับข้าวทั้งหมด 1153.4ม.^3 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177 1,107,204
ความต้องการน้าสาหรับพืชไร่ทั้งหมด 1310.2ม.^3
ความต้องการน้าสาหรับประปาทั้งหมด 0ม.^3
ความต้องการน้าสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม
ทั้งหมด 0ม.^3
พื้นที่ฤดูแล้ง 575.5052851
ปรับ 600
โค้งความจุ อ่างเก็บน้าแม่จางตอนบน
ความสูง ระดับ พื้นที่ผิวอ่างฯ พื้นที่ผิวอ่างฯเฉลี่ย
สูงระหว่าง
พื้นที่ ปริมาตร ปริมาตรสะสม
(ม.) ม.(ร.ท.ก.) ตารางเมตร ตารางเมตร เมตร ลบ.ม. ลบ.ม.
0 443.000 0 0 - 0 -
1 444.000 1,077.00 538.50 1 538.50 539
2 445.000 5,640.00 3,358.50 1 3,358.50 3,897
3 446.000 10,203.00 7,921.50 1 7,921.50 11,819
4 447.000 15,910.00 13,056.50 1 13,056.50 24,875
5 448.000 21,617.00 18,763.50 1 18,763.50 43,639
6 449.000 27,877.00 24,747.00 1 24,747.00 68,386 ร.น.ต.
7 450.000 34,137.00 31,007.00 1 31,007.00 99,393
8 451.000 39,742.50 36,939.75 1 36,939.75 136,332
9 452.000 45,348.00 42,545.25 1 42,545.25 178,878
10 453.000 54,734.00 50,041.00 1 50,041.00 228,919
11 454.000 64,120.00 59,427.00 1 59,427.00 288,346
12 455.000 74,139.00 69,129.50 1 69,129.50 357,475
13 456.000 84,158.00 79,148.50 1 79,148.50 436,624
14 457.000 94,334.00 89,246.00 1 89,246.00 525,870
15 458.000 104,510.00 99,422.00 1 99,422.00 625,292
16 459.000 115,433.50 109,971.75 1 109,971.75 735,263
17 460.000 126,357.00 120,895.25 1 120,895.25 856,159
18 461.000 141,568.50 133,962.75 1 133,962.75 990,121
19 462.000 156,780.00 149,174.25 1 149,174.25 1,139,296 ร.น.ก.
20 463.000 176,985.00 166,882.50 1 166,882.50 1,306,178 ร.น.ส.
21 464.000 197,190.00 187,087.50 1 187,087.50 1,493,266 หลังคัน
22 465.000 220,990.00 209,090.00 1 209,090.00 1,702,356
พื้นที่ผิวอ่างที่ระดับเก็บกัก 88 ไร่
พิจารณาออกแบบลักษณะโครงการเบื้องต้น
- ที่ตั้ง บ้านจางเหนือพัฒนา หมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
- พิกัด47 QNA 939-415 ระวาง 4945 I ลาดับชุด L 7018
- ประเภท อ่างน้า
- พื้นที่รับน้าฝนเหนือที่ตั้งหัวงาน 9.15 ตารางกิโลเมตร
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,186.40 มิลลิเมตร
- ปริมาณน้าไหลผ่านหัวงานเฉลี่ยทั้งปี 2,532,964 ลูกบาศก์เมตร
- ทานบดิน กว้าง 8.00 เมตร
ยาว 100.00 เมตร
สูงสุดประมาณ 21.00 เมตร
ความจุอ่างฯที่ระดับเก็บกัก 1.14 ล้านลูกบาศก์เมตร
- พื้นที่รับประโยชน์ ฤดูฝน 1,500 ไร่ ฤดูแล้ง 600 ไร่
- ระบบส่งน้า ระบายน้าลงลาน้าเดิมแล้วใช้ระบบเหมืองฝายเดิมทดน้าเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก
สรุปรายละเอียดของโครงการ
จัดทําแผนที่ 1:50,000 ประกอบรายงาน
ผลกระทบของโครงการด้านป่ าไม้
การจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่ าไม้ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ
1) เขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ (C) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่กาหนดไว้เพื่ออนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าหายาก เพื่อป้องกันภัยธรรมชาติ ตลอดทั้ง
เพื่อเป็นประโยชน์ในด้านวิจัย นันทนาการ และความมั่นคงของชาติ
1.1) พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี
1.2) พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม
2) เขตพื้นที่ป่ าเพื่อเศรษฐกิจ (E) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่กาหนดไว้เพื่อการผลิตไม้
และของป่า รวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามนัยมติ ครม. เกี่ยวกับการกาหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้า
และการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ในพื้นที่ป่าชายเลน ส่วนใหญ่เป็นป่า
ค่อนข้างเสื่อมโทรมและใกล้เขตชุมชน ได้แก่ พื้นที่พัฒนาป่าธรรมชาติ
3) เขตพื้นที่ป่ าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (A) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวน
แห่งชาติที่มีสมรรถนะที่ดินเหมาะสมต่อการทาเกษตรกรรมโดย
จะต้องไม่อยู่ในเขต C และ E
⃰ ใช้ในการพิจารณา
ระดับการจัดทํารายงานฯ
ผลกระทบของโครงการด้านคุณภาพลุ่มนํ้า
พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า (Watershed)
พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ลุ่มน้าที่ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้าลาธารโดยเฉพาะที่อาจ
มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง
- พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1A ได้แก่ พื้นที่ต้นน้าลาธารที่ยังมีสภาพป่าสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2525
- พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1B เป็นพื้นที่ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ได้ถูกทาลาย หรือเปลี่ยนแปลงก่อน พ.ศ.2525
พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 2 พื้นที่ที่เหมาะต่อการเป็นต้นน้าลาธารในระดับรองจากลุ่มน้าชั้นที่ 1
สามารถใช้เพื่อประโยชน์ที่สาคัญอย่างอื่นได้ เช่น การทาเหมืองแร่ เป็นต้น
พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งการทาไม้ เหมืองแร่ และการ
ปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น
พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 4 โดยสภาพป่าของลุ่มน้าชั้นนี้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์
เพื่อกิจการพืชไร่เป็นส่วนใหญ่
พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 5 โดยทั่วไปเป็นที่ราบ,ที่ลุ่ม และส่วนใหญ่ป่าไม้ได้ถูกแผ้วถางเพื่อ
ประโยชน์ด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทานาและกิจการอื่นไปแล้ว
จาแนกตามมติคณะรัฐมนตรี
การพิจารณาระดับการจัดทารายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
 โครงการเขื่อนเก็บกักนํ้าหรืออ่างเก็บนํ้า ที่มีพื้นที่โครงการอยู่ในเขตพื้นที่ป่ าอนุรักษ์
หรือป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม
1) พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม ตั้งแต่ 500 ไร่ ขึ้นไป EIA
2) พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม ตั้งแต่ 50 ไร่ แต่ไม่ถึง 500 ไร่ IEE
3) โครงการที่ไม่เข้าข่ายที่ต้องจัดทารายงาน EIA หรือ IEE EC
ประเภทและขนาดโครงการที่เข้าข่าย มติ ครม.
เกี่ยวกับป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม เมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2554
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ

More Related Content

Similar to 1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ

Similar to 1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ (7)

เฉลย Pat1
เฉลย Pat1เฉลย Pat1
เฉลย Pat1
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
Key onet52 m6
Key onet52 m6Key onet52 m6
Key onet52 m6
 
Key onet52 m6
Key onet52 m6Key onet52 m6
Key onet52 m6
 
Key onet52 m6
Key onet52 m6Key onet52 m6
Key onet52 m6
 
7 เฉลย
7 เฉลย7 เฉลย
7 เฉลย
 

1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ

  • 2. อ่างเก็บนํ้า อ่างเก็บน้า เป็นแหล่งน้าผิวดินที่มักจะสร้างบริเวณที่ต่าที่น้าไหลจาก ร่องน้า หรือตามลาน้าธรรมชาติมารวมกันโดยการก่อสร้างปิดกั้น ระหว่างหุบเขาหรือเนินเขาสูง จนเกิดเป็นแหล่งน้าที่มีขนาดต่าง ๆ มัก ก่อสร้างโดยใช้ดินบดอัดแน่นเป็นตัวเขื่อนดิน ซึ่งจะเก็บน้าฝนที่ตกใน ฤดูฝนเก็บกักไว้ใช้ในฤดูแล้ง โดยส่งน้าไปตามท่อส่งน้า ใช้สาหรับทา การเพาะปลูกการอุปโภคบริโภค เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้า รวมถึง การบรรเทาปัญหาอุทกภัย
  • 3. ตัวอย่างอ่างเก็บน้าในเขต สปช. 2 อ่างเก็บนํ้ากิ่วคอหมา จ. ลําปาง อ่างเก็บนํ้าแม่ตํ๋า จ. พะเยา
  • 4. อ่างเก็บนํ้าห้วยช้าง จ.เชียงราย อ่างเก็บนํ้าแม่สรวย จ.เชียงราย ตัวอย่างอ่างเก็บนํ้าในเขต สชป.2
  • 6. ลําดับ ผังกระบวนงาน รายละเอียดงาน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา (วัน) 1 รับเรื่องร้องเรียนจากราษฎร/ แผนกระทรวงกรมฯ/อื่นๆ พิจารณาตรวจสอบแนวคิด เรื่องเดิม และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าหากมีผลการศึกษาแล้ว จะจัดทารายงานสรุปผลการศึกษาเสนอ ผวศ.ชป.2 และ ผส.ชป.2 เพื่อเห็นชอบ ตอบชี้แจง ต่อไป - ฝ่ายพิจารณาโครงการ - โครงการชลประทาน 1-2 2 ศึกษาเรื่ องเดิมและสภาพ ปัญหา ถ้าหากยังไม่มีผลการศึกษาหรือยังขาดข้อมูลเป็นปัจจุบัน จะทาการรวบรวม ตรวจสอบเรื่องเดิม จัดเตรียมแผนที่เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาโครงการ เบื้องต้น โดยศึกษาทาความเข้าใจเรื่องราวความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของ โครงการให้ครอบคลุมปัญหาทั้งหมด - ฝ่ายพิจารณาโครงการ - โครงการชลประทาน 1-2 3 ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล ในสนาม กาหนดจุดที่ตั้งหัวงานและลักษณะโครงการเบื้องต้น ตรวจสอบสภาพภูมิ ประเทศและสภาพลาน้า เก็บรวบรวมข้อมูลสภาพทางการเกษตร สภาพทาง สังคม และสภาพการใช้น้าปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลแหล่งน้าและอาคาร ชลประทานที่มีอยู่เดิมของกรมชลประทานและหน่วยงานอื่น รวมทั้งสอบถาม และรับฟังข้อคิดเห็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา - ฝ่ายพิจารณาโครงการ - โครงการชลประทาน - ผู้ร้องขอโครงการ - ผู้ที่ได้รับผลกระทบ 1-3 4 ศึกษาด้านวิศวกรรมโครงการ ศึกษาปริมาณน้าฝน ศึกษาปริมาณน้าต้นทุน (ปริมาณน้าท่า) ศึกษาปริมาณ น้านองสูงสุด ศึกษาปริมาณตะกอน ศึกษาอัตราการระเหยและอัตราการรั่วซึม ศึกษาความต้องการใช้น้าด้านต่าง ๆ - ฝ่ายพิจารณาโครงการ 7-10 5 พิจารณาออกแบบลักษณะ โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์สมดุลน้าระหว่างความต้องการใช้น้ากับปริมาณน้าต้นทุน สรุปผล การศึกษาวิเคราะห์แนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ กาหนดลักษณะโครงการ และพื้นที่ชลประทาน อาคารหัวงาน ระบบส่งน้าและอาคารประกอบ ประมาณ ราคาค่าก่อสร้างโครงการ ศึกษาผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบของ โครงการ สรุปข้อเสนอแนะ และกาหนดขอบเขตการสารวจภูมิประเทศ - ฝ่ายพิจารณาโครงการ 7-10 6 จัดทารายงานผลการศึกษา เบื้องต้น พิมพ์ ตรวจสอบ ทาน แก้ไขรายละเอียดผลการศึกษา จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผนที่โครงการและภาพถ่ายประกอบการนาเสนอ ผวศ.ชป.2 และ ผส.ชป.2 เพื่อเห็นชอบและอนุมัติ - ฝ่ายพิจารณาโครงการ 3-5 7 รายงานผลการศึกษาเบื้องต้น จัดทาสาเนาและส่งให้หน่วยงานผู้เกี่ยวข้องนาไปใช้เป็นข้อมูลตอบเรื่อง ร้องเรียน สารวจ ออกแบบ ต่อไป หากถ้าเป็นโครงการชลประทานขนาดกลาง ขนาดใหญ่ จะจัดส่งให้สานักบริหารโครงการศึกษาและจัดทารายงาน วางโครงการระดับ PR , FS ต่อไป - ฝ่ายพิจารณาโครงการ 1-2 รวม 21-35 กระบวนงานศึกษาโครงการพัฒนาแหล่งนํ้า
  • 11. การพิจารณาจุดที่ตั้งหัวงานอ่างเก็บน้า 1.บริเวณที่มีสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมหัวงานประเภทอ่างเก็บน้า ควรเป็นบริเวณเขาแคบหรือมีสันเนินอยู่ใกล้กัน บริเวณที่เก็บ กักน้ามีลักษณะเป็นแอ่งกว้าง ทาให้ไม่ต้องสร้างทานบดินยาว เกินไปหรือสูงเกินไป 2. บริเวณที่มีสภาพทางธรณีวิทยาและสภาพฐานรากที่เหมาะสม 3. หัวงานควรตั้งอยู่บริเวณที่สูง สามารถส่งน้าหรือมี Head เพียง พอที่จะส่งน้าไปยังพื้นที่เพาะปลูกได้
  • 13. ปริมาณนํ้าฝนรายเดือน - มิลลิเมตร สถานี :16092 อ.งาว จ.ลําปาง ปีนํ้า เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. รวม ปริมาณฝนสูงสุด ยกกาลังสอง 2495 10.5 34.8 32.3 244.6 206.4 303.5 62.5 0 2.1 18.8 6.5 0 922.0 303.5 92112.3 2496 192.1 202.3 261.5 165.3 209.6 163.2 65.3 14.6 0 4.2 0 22.1 1300.2 261.5 68382.3 2497 69.6 218.1 113.6 66.1 299.1 284.2 105.9 7.5 28.1 0 7.4 11 1210.6 299.1 89460.8 2498 85.6 139.3 218.5 142.6 386 171.6 111.9 0 0 0 0 14.3 1269.8 386.0 148996.0 2499 133.1 188.6 142 236.1 301.2 298.9 59.7 33 0 0 0 87.7 1480.3 301.2 90721.4 2500 74.5 125.4 206.6 145.4 306.1 263.5 137.8 0 0 7.9 0 19.3 1286.5 306.1 93697.2 2501 73.7 172.7 177.2 118 214.1 108.1 97.9 0 0 0 3.8 17.3 982.8 214.1 45838.8 2502 57.5 167.5 141 243.6 247.1 272.6 39.8 11.4 0 32.3 0 13.5 1226.3 272.6 74310.8 2503 19.9 107.8 72.5 152.5 190.7 315.2 57.4 27.4 22.8 0 25 77.9 1069.1 315.2 99351.0 2504 103.5 290.1 212.2 107.5 427.4 426.1 111.7 0 37.3 0 0 29.4 1745.2 427.4 182670.8 2505 93 210.6 147.9 148.5 208.4 199.7 193.5 15.9 0 0 21.7 27.9 1267.1 210.6 44352.4 2506 47.6 61.7 288.1 213.9 290.6 106.7 220 60.1 0 0 0 0 1288.7 290.6 84448.4 2530 45.3 138.2 168.7 112.8 317.6 201.7 43.8 114.5 0 0 0 0 1142.6 317.6 100869.8 2531 71.8 98.9 159.5 90.7 242.7 90.5 96.4 30.2 0 0 0 0 880.7 242.7 58903.3 2532 7.4 277.6 130.1 169.9 182.9 160 132.8 0 0 0 15.1 43.5 1119.3 277.6 77061.8 2533 58.5 43.5 71.4 176.5 160.8 145.4 78.2 16.5 0 0 0 13.2 764.0 176.5 31152.3 2534 77.9 81.1 152.9 116.6 282.6 91 112.4 8.2 0 0.4 38.6 0 961.7 282.6 79862.8 2535 0 18.7 89.3 155.7 100.4 122.3 201.7 0 80.1 0 0 35.7 803.9 201.7 40682.9 2536 117.9 227.3 122.6 125.8 124 133.9 10.7 0 0 0 0 201.3 1063.5 227.3 51665.3 2537 72.4 292.8 118.1 248.8 364.7 85.1 3 0 10.5 0 0 0 1195.4 364.7 133006.1 2538 15.3 139 61.6 316 278.4 87.3 22.1 157.8 0 0 4 17.3 1098.8 316.0 99856.0 2539 97 35.5 73.2 103.6 237.7 115.8 81.2 55.4 0 0 19.3 35.2 853.9 237.7 56501.3 2540 92.3 52.7 131 220.1 278 165.2 49 26.5 0 0 0 122 1136.8 278.0 77284.0 2541 53.7 261.6 104.1 226.8 268.5 35.5 52.2 73.2 0 0 0 0 1075.6 268.5 72092.3 2542 46 326.4 400 207.8 229.6 401.8 225.9 25.6 0 0 4.9 1.2 1869.2 401.8 161443.2 2543 39.6 39.7 32.9 189.2 241.2 216.3 154 0 0 28.5 0 210.7 1152.1 241.2 58177.4 2544 84.1 231.7 99.4 325.3 317.3 180.3 150.5 7.3 0 30.3 0 7.6 1433.8 325.3 105820.1 2545 81.8 570.4 55 158 375.9 240.8 61.4 63.7 27.4 3.2 0 77.6 1715.2 570.4 325356.2 2546 74.8 118.4 145.3 94.5 147.3 210 180 28.1 0 0 0 0 998.4 210.0 44100.0 2547 21.2 177 198.6 163.8 195.3 280.6 0 0 0 0 0 10 1046.5 280.6 78736.4 2548 84 150 55.7 139 269.2 552 170 15 0 0 1 10 1445.9 552.0 304704.0 2549 106.7 240 116.5 113.5 415.4 205.8 20 0 0 0 0 0 1217.9 415.4 172557.2 สูงสุด 192.1 570.4 400 394.6 427.4 552 225.9 157.8 80.1 89.8 38.6 210.7 1869.2 เฉลี่ย หรือ Q 297.5 5245948.3 เฉลี่ย 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 1186.4 N 55 ตํ่าสุด 0 18.7 32.3 66.1 84 35.5 0 0 0 0 0 0 764.0 SQ 83.69 วัน 4.3 9.9 9.5 11.6 14.6 12.9 7 1.5 0.4 0.6 0.7 1.5 74.6
  • 14. ตารางคํานาณปริมาณนํ้าต้นทุน โครงการชลประทานในเขตสานักชลประทานที่ 2 อ่างฯแม่จางตอนบน พิกัด 47 QNA939 - 415 ระวาง 4945 I ลาดับชุด L 7018 บ้านจางเหนือพัฒนาหมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง เดือน ฝนเฉลี่ย DA R.O.Coeft. ปริมาณน้าไหล ปริมาณน้าไหล หมายเหตุ (มม.) (กม.2) (%) ผ่านหัวงาน(ม.3) ผ่านหัวงาน% เม.ย. 71.63 9.15 6.77 44,343 1.75 1. ค่าฝนเฉลี่ยที่ใช้ในการคานวณ พ.ค. 176.05 9.15 20.29 326,820 12.90 เป็นค่าเฉลี่ยของปริมาณฝนที่ มิ.ย. 143.34 9.15 17.05 223,629 8.83 อาเภองาว จังหวัด ลาปาง ก.ค. 181.14 9.15 24.95 413,457 16.32 รหัส 16092 ส.ค. 241.44 9.15 32.76 723,616 28.57 2. เฉลี่ยระหว่างปี ก.ย. 204.67 9.15 32.99 617,869 24.39 พ.ศ. 2495 ถึง พ.ศ. 2549 ต.ค. 101.80 9.15 19.67 183,229 7.23 3. D.A. วัดจากแผนที่มาตราส่วน พ.ย. 21.95 9.15 0.00 - 0.00 1:50,000 ธ.ค. 6.59 9.15 0.00 - 0.00 4. R.O. Coefficient คานวณ ม.ค. 5.95 9.15 0.00 - 0.00 จาก Terrain - C ก.พ. 4.45 9.15 0.00 - 0.00 C มี.ค. 27.40 9.15 0.00 - 0.00 รวม 1186.40 2,532,964 100.00 40% 1,013,186 1. Yield from Yield Map 5 - 10 ลิตร/วินาที/ กม.2 2. Specific Yield from calculat 8.78 ลิตร/วินาที/ กม.2 3. Avg. Annual R.O.Coeft. 23.33 % จากการตรวจสอบSpecific Yield กับแผนที่แสดงYield ของประเทศไทยที่ทางสานัก อุทกวิทยาและบริหารน้าจัดทาไว้พบว่ามีค่าใกล้เคียงกัน แสดงว่า Terrain ที่เลือกไว้ถูกต้อง 4. ปริมาณตะกอน 68,625ลูกบาศก์เมตร RUNOFF ESTIMATION CHART Type of Terrain Equations Remark A y = 0.1295x + 8.5 ( x > 23 ) B y = 0.1295x + 5.5 ( x > 27 ) C y = 0.1295x + 1.5 ( x > 35 ) D y = 0.1295x - 3.0 ( x > 42 ) E y = 0.1295x - 6.0 ( x > 50 )
  • 15. สถานี W.22 น้าแม่จาง อ.เกาะคา จ.ลาปาง สถิติที่เคยปรากฏ 1. สถิติระดับน้าสูงสุด 5.46 ม.( 30 ต.ค. 44 ) 2. สถิติปริมาณน้าไหลสูงสุด 398.40 ลบ.ม./วินาที ( 30 ต.ค.44 ) 3. สถิติระดับน้าต่าสุด -0.40 ม.( 26 ธ.ค. 53 ) 4. สถิติปริมาณน้าไหลต่าสุด 0.00 ลบ.ม./วินาที ( 10 เม.ย. 49 ) 5. สถิติปริมาณน้าเฉลี่ยของเดือน ต.ค. (2544-2554) 32.9 ล้าน ลบ.ม. 6.สถิติปริมาณน้าเฉลี่ยสะสมรายปี (2544-2554) 204.7 ล้าน ลบ.ม. ข้อมูลนํ้าท่าของเดือน ตุลาคม 2555 1. ระดับน้าสูงสุด 0.60 ม.(7 ต.ค. 55) 2. ปริมาณน้าไหลสูงสุด 34.40 ลบ.ม./วินาที 3. ระดับน้าต่าสุด -0.01 ม.(31 ต.ค. 55) 4. ปริมาณน้าไหลต่าสุด 2.68 ลบ.ม./วินาที 5. ปริมาณน้ารวมทั้งเดือน 31.7 ล้าน ลบ.ม. 6. น้าท่าประจาเดือนนี้อยู่ในเกณฑ์ ปกติ ปริมาณน้ารายเดือน - ล้าน ลูกบาศก์เมตร เดือน เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค ปี เฉลี่ย(2544-2554) 5.7 19.9 11.3 11.0 31.0 75.9 32.9 9.6 2.1 2.0 1.7 1.7 204.7 เฉลี่ยสะสม 5.7 25.5 36.8 47.8 78.9 154.7 187.6 197.2 199.3 201.3 203.1 204.7 ปี2555 11.0 34.9 35.5 5.9 28.8 212.7 31.7 สะสมปี2555 11.0 45.9 81.4 87.3 116.0 328.7 360.5
  • 16. ตารางแสดงการแพร่กระจายปริมาณนํ้าต้นทุน อ่างฯแม่จางตอนบน บ้านจางเหนือพัฒนาหมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ฝนเฉลี่ย การแผ่กระจาย การแผ่กระจายน้าท่า ในลุ่มน้าใกล้เคียง ปริมาณน้าต้นทุน ปริมาณน้าต้นทุน เดือน เนื่องจากฝน สถานี W.22 (D.A= 1,549km2) ไหลผ่านหัวงาน ไหลผ่านหัวงาน (มม.) (%) (ล้าน ม.3) % (%) (ม3) เม.ย. 71.63 1.75 5.66 2.77 2.259 57,214 พ.ค. 176.05 12.90 19.87 9.70 11.303 286,306 มิ.ย. 143.34 8.83 11.31 5.53 7.177 181,790 ก.ค. 181.14 16.32 10.98 5.36 10.843 274,659 ส.ค. 241.44 28.57 31.04 15.16 21.864 553,819 ก.ย. 204.67 24.39 75.87 37.06 30.726 778,284 ต.ค. 101.80 7.23 32.88 16.06 11.647 295,002 พ.ย. 21.95 - 9.64 4.71 2.354 59,619 ธ.ค. 6.59 - 2.10 1.03 0.513 12,997 ม.ค. 5.95 - 2.00 0.98 0.488 12,371 ก.พ. 4.45 - 1.71 0.84 0.419 10,606 มี.ค. 27.40 - 1.66 0.81 0.4066 10,298 รวม 1186.40 100.00 204.73 100.00 100.00 2,532,964 สถานี W. 22 = ข้อมูลน้าท่าของสถานีแม่น้าจาง อ.เกาะคา จ.ลาปาง
  • 17. ตารางคํานวณหา Monthly correlation Factor อ่างฯแม่จางตอนบน เดือน ฝนเฉลี่ย Avg. Monthly Flow Correlation Factor หมายเหตุ (มม.) (ม.3) (ของฝน 1 มม.) เม.ย. 71.63 57,213.69 798.71 พ.ค. 176.05 286,305.52 1,626.23 มิ.ย. 143.34 181,790.10 1,268.28 ก.ค. 181.14 274,658.55 1,516.31 ส.ค. 241.44 553,818.74 2,293.83 ก.ย. 204.67 778,284.13 3,802.68 ต.ค. 101.80 295,002.06 2,897.96 พ.ย. 21.95 59,618.60 2,716.45 ธ.ค. 6.59 12,997.27 1,973.09 ม.ค. 5.95 12,371.13 2,077.59 ก.พ. 4.45 10,605.70 2,383.79 มี.ค. 27.40 10,298.33 375.85 1186.4 2,532,963.81
  • 18. ตารางคํานวณปริมาณนํ้าต้นทุนเฉลี่ยรายเดือน โครงการ อ่างฯแม่จาง ตอนบน ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง พ.ศ. เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม รวม 2495 8386.4 56592.9 40965.3 370889.0 473447.0 1154113.4 181122.7 0.0 4143.5 39058.8 15494.6 0.0 2,344,214 2496 153432.0 328986.7 331654.2 250645.7 480787.3 620597.4 189237.0 39660.1 0.0 8725.9 0.0 8306.3 2,412,033 2497 55590.1 354681.2 144076.2 100228.0 686085.3 1080721.6 306894.2 20373.3 55443.8 0.0 17640.0 4134.4 2,825,868 2498 68369.5 226534.1 277118.4 216225.5 885419.3 652539.9 324282.0 0.0 0.0 0.0 0.0 5374.7 2,655,863 2499 106308.1 306707.3 180095.2 358000.4 690902.3 1136621.0 173008.4 89642.7 0.0 0.0 0.0 32962.2 3,074,248 2500 59503.8 203929.5 262025.9 220471.2 702142.1 1002006.2 399339.2 0.0 0.0 16413.0 0.0 7253.9 2,873,085 2501 58864.8 280850.2 224738.5 178924.4 491109.5 411069.7 283710.5 0.0 0.0 0.0 9058.4 6502.2 1,944,828 2502 45925.8 272393.8 178826.9 369372.7 566806.0 1036610.6 115338.9 30967.5 0.0 67106.3 0.0 5074.0 2,688,422 2503 15894.3 175307.8 91950.0 231237.0 437433.9 1198604.7 166343.1 74430.6 44986.4 0.0 59594.7 29278.8 2,525,061 2504 82666.4 471769.9 269128.2 163003.1 980384.0 1620321.9 323702.4 0.0 73596.2 0.0 0.0 11050.0 3,995,622 2505 74279.9 342484.4 187578.1 225171.8 478034.7 759395.2 560755.8 43191.5 0.0 0.0 51728.2 10486.3 2,733,106 2506 38018.5 100338.5 365390.4 324338.3 666587.7 405746.0 637551.8 163258.4 0.0 0.0 0.0 0.0 2,701,230 2507 46245.2 461524.6 125052.0 306445.9 259203.1 981091.4 442229.1 30967.5 0.0 0.0 52681.8 6126.4 2,711,567 2528 118768.0 260847.6 210787.5 253071.8 192681.9 960176.7 268061.5 203461.9 0.0 0.0 0.0 0.0 2,467,857 2529 48401.8 307683.1 115793.6 316756.8 494779.7 444533.3 448025.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2,175,973 2530 36181.5 224745.2 213958.2 171039.6 728521.2 767000.5 126930.8 311033.1 0.0 0.0 0.0 0.0 2,579,410 2531 57347.3 160834.3 202290.1 137529.2 556713.1 344142.5 279363.6 82036.7 0.0 0.0 0.0 0.0 1,820,257 2532 5910.4 451442.0 165002.7 257620.8 419542.0 608428.8 384849.4 0.0 0.0 0.0 35995.2 16349.5 2,345,141 2533 46724.5 70741.1 90554.9 267628.4 368848.3 552909.7 226620.7 44821.4 0.0 0.0 0.0 4961.2 1,673,810 2534 62219.4 131887.4 193919.4 176801.5 648237.1 346043.9 325731.0 22274.9 0.0 831.0 92014.3 0.0 1,999,960 2535 0.0 30410.5 113257.1 236089.2 230300.8 465067.8 584519.1 0.0 158044.4 0.0 0.0 13417.9 1,831,107 2536 94167.8 369642.5 155490.7 190751.6 284435.2 509178.8 31008.2 0.0 0.0 0.0 0.0 75658.9 1,710,334 2537 57826.5 476160.7 149783.4 377257.5 836560.7 323608.1 8693.9 0.0 20717.4 0.0 0.0 0.0 2,250,608 2538 12220.2 226046.2 78125.8 479153.4 638603.0 331974.0 64045.0 428655.3 0.0 0.0 9535.2 6502.2 2,274,860 2539 77474.8 57731.2 92837.8 157089.5 545244.0 440350.3 235314.6 150491.1 0.0 0.0 46007.1 13230.0 1,815,770 2540 73720.8 85702.4 166144.2 333739.4 637685.4 628202.7 142000.2 71985.8 0.0 0.0 0.0 45853.9 2,185,035 2541 42890.7 425422.3 132027.6 343898.7 615894.0 134995.1 151273.6 198843.9 0.0 0.0 0.0 0.0 2,045,246 2542 36740.6 530802.1 507310.5 315088.8 526663.9 1527916.8 654649.8 69541.0 0.0 0.0 11680.6 451.0 4,180,845 2543 31628.9 64561.4 41726.3 286885.5 553272.4 822519.7 446286.2 0.0 0.0 59211.4 0.0 79191.9 2,385,284 2544 67171.4 376797.9 126066.7 493255.0 727833.0 685623.2 436143.4 19830.1 0.0 62951.1 0.0 2856.5 2,998,528 2545 65334.4 927602.7 69755.2 239576.7 862251.6 915685.3 177934.9 173037.7 54062.6 6648.3 0.0 29166.1 3,521,055 2546 59743.4 192545.9 184280.5 143291.1 337881.5 798562.8 521633.3 76332.2 0.0 0.0 0.0 0.0 2,314,271 2547 16932.6 287843.0 251879.7 248371.3 447985.5 1067032.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 3758.5 2,323,803 2548 67091.5 243934.8 70643.0 210766.8 617499.7 2099079.3 492653.6 40746.7 0.0 0.0 2383.8 3758.5 3,848,558 2549 85222.2 390295.7 147754.2 172101.0 952858.0 782591.5 57959.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2,588,782 ปริมาณน้าเฉลี่ย (ม.3) 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 2,532,964 ปริมาณน้ารอบ 10 ปี (ม.3) 72,838 364,492 231,435 349,665 705,060 990,824 375,564 75,900 16,547 15,750 13,502 13,111 3,224,686
  • 19. การหาปริมาณนํ้านองสูงสุดโดยวิธี Rational โครงการอ่างฯแม่จางตอนบน ที่ตั้ง บ้านจางเหนือพัฒนา หมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง 47 QNA 939 - 415 ระวาง4945 I ประเภทโครงการที่ร้องขอ อ่างเก็บน้า พื้นที่รับน้าฝนเหนือที่ตั้งหัวงาน ( A ) 9.15 ตารางกิโลเมตร ความยาวของลาน้าสายหลักจากทานบดินจนถึงจุดไกลสุดบนสันปันน้า( L ) 5.1 กิโลเมตร ความแตกต่างระหว่างพื้นทานบดินและจุดไกลสุดบนสันปันน้า( H ) 134.118 เมตร (รทก.) Time of Concentration ( Tc ) จะคานวณได้จาก , Tc = (0.87*L^3/H)0.385 ดังนั้น Tc เท่ากับ 0.94 ชั่วโมง ดังนั้นช่วงเวลาของฝนเท่ากับ 0.94 ชั่วโมงหรือ 56.63 นาที กาหนดให้รอบปีการเกิดซ้าเฉลี่ยเท่ากับ 25 ปี จากกราฟความเข้มน้าฝน-ช่วงเวลา-รอบปีการเกิดซ้า ของจังหวัด ลาปาง จะได้ค่าความเข้มของฝน (I) เท่ากับ 60 มม./ชั่วโมง ค่าสัมประสิทธิ์น้าท่า( C ) ที่ใช้ในสูตรRational formula เท่ากับ 0.1 ปริมาณการไหลสูงสุด Q = 0.278*C*I*A ดังนั้นปริมาณการไหลสูงสุด, Q เท่ากับ 15.26 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ตารางที่ 10 แสดงสัมประสิทธิ์การไหลนํ้าท่า (C) ลักษณะพื้นที่ สัมประสิทธิ์การไหลน้าท่า(C) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย 0.40-0.45 ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง 0.50-0.55 ที่อยู่อาศัยหนาแน่นสูง 0.55-0.60 ย่านค้าขาย 0.50-0.70 โรงเรียน-โรงพยาบาล 0.40-0.70 ย่านอุตสาหกรรม 0.50-0.70 สวนสาธารณะและสนามหญ้า 0.20-0.30 พื้นที่เกษตรกรรม 0.20-0.30 พื้นที่รกร้าง 0.10-0.30
  • 20. การศึกษาปริมาณตะกอน สําหรับการหาปริมาณตะกอน กรมชลประทานได้พัฒนาสูตรการหาปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้นใช้สําหรับโครงการ ชลประทาน ดังนี้ V = CdAn x 1,000 เมื่อ V = ปริมาณตะกอนที่ตกจมในอ่างฯ(ลบ.ม.) C = Coefficient of Terrain’s Slope d = อัตราการกัดเซาะผิวดิน , (มม./ปี/ตร.กม.) A = พื้นที่รับน้า(ตร.กม.) N = อายุการใช้งานของอ่างเก็บน้า, (ปี) และจากผลการคานวณจะได้ปริมาณตะกอนที่ตกจมในอ่างเก็บน้าแม่จางตอนบนที่อายุการใช้งานอ่างฯ ที่ 30 ปี เท่ากับ 68,625 ลูกบาศก์เมตร ดังนั้น การกาหนดความจุอ่างเก็บน้าที่ระดับน้าต่าสุด (Dead Storage) จะต้องไม่ต่ากว่า 68,625 ลูกบาศก์เมตร
  • 21. - การหา EVAPORATION AND SEEPAGE เดือน อัตราการระเหย อัตราการระเหย SEEPAGE EVAPORATION หมายเหตุ มม. จริง มม. มม. AND SEEPAGE เม.ย. 185.10 133.27 45.0 178.3 1.อัตราการระเหยที่ใช้วัดจาก พ.ค. 162.50 117.00 46.5 163.5 อ.เมือง จ.ลาปาง มิ.ย. 135.00 97.20 45.0 142.2 เป็นค่าเฉลี่ย ระหว่าง ปี พ.ศ. ก.ค. 128.40 92.45 46.5 138.9 2544 2546 ส.ค. 121.70 87.62 46.5 134.1 2.CORRECTION FACTOR ก.ย. 109.50 78.84 45.0 123.8 CLASS A PAN (c) ต.ค. 99.40 71.57 46.5 118.1 = 0.72 (ทุกภาค) พ.ย. 86.50 62.28 45.0 107.3 3.SEEPAGE RATE (S) ธ.ค. 80.90 58.25 46.5 104.7 ดินเหนียว 1.0-1.5 มม./วัน ม.ค. 88.90 64.01 46.5 110.5 ดินร่วน 1.5-2.5 มม./วัน ก.พ. 111.30 80.14 42.0 122.1 ร่วนปนทราย 2.5-3.8 มม./วัน มี.ค. 157.50 113.40 46.5 159.9 ใช้SEEPAGE RATE (S) = รวม 1466.70 1056.02 547.50 1603.52 1.5
  • 22. การคํานวณปริมาณนํ้าที่ต้องส่งไปให้แก่พื้นที่เพาะปลูก อ่างฯแม่จางตอนบน ตําบลจางเหนือ อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง ที่ รายการ หน่วย มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม 1 แผนการปลูกพืช - ตกกล้า เพาะปลูก เก็บเกี่ยว พืชไร่ ไม่มีกิจกรรม 2 ระยะเวลาเจริญเติบโตของ พืช วัน 30 31 31 30 31 30 31 31 28 31 30 31 3 Kc - 1 1.1 1.15 1.17 1 0 0.3 0.5 1 0.9 0 0 4 Evapotranspiration(ETp) มม./วัน 4.133 3.903 3.677 3.667 3.484 3.033 2.613 2.677 3.286 4.226 5.033 4.677 5 ETc มม./วัน 4.133 4.294 4.229 4.290 3.484 0.000 0.784 1.339 3.286 3.803 0.000 0.000 6 Percolation(P) มม./วัน 1.500 1.500 1.500 1.500 1.500 0.000 0.750 0.750 0.750 0.750 0.000 0.000 7 ETc+P มม./วัน 5.633 5.794 5.729 5.790 4.984 0.000 1.534 2.089 4.036 4.553 0.000 0.000 8 ปริมาณน้าที่พืชต้องการใช้ มม./เดือน 169.000 179.600 177.600 173.700 154.500 0.000 47.550 64.750 113.000 141.150 0.000 0.000 9 ฝนเฉลี่ยรายเดือน มม./เดือน 143.336 181.136 241.438 204.667 101.796 21.947 6.587 5.955 4.449 27.400 71.633 176.055 10 ฝนใช้การ(RE) มม./เดือน 100.335 126.795 144.863 122.800 71.257 17.558 6.587 5.955 4.449 21.920 57.306 123.238 11 ETc+P-RE มม./เดือน 68.665 52.805 32.737 50.900 83.243 0.000 40.963 58.795 108.551 119.230 0.000 0.000 12 Irr.Eff. % 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 40.000 13 ความต้องการน้าชลประทาน มม./เดือน 171.661 132.011 81.843 127.249 208.106 0.000 102.407 146.989 271.377 298.075 0.000 0.000 14 ปริมาณน้าชลประทาน ม.^3/เดือน/ไร่ 274.658 211.218 130.948 203.599 332.970 0.000 163.851 235.182 434.204 476.920 0.000 0.000 15 ค่าชลภาระ ลิตร/วินาที/ไร่ 0.10596 0.07886 0.04889 0.07855 0.12432 0.00000 0.06117 0.08781 0.17948 0.17806 0.00000 0.00000 หมายเหตุ Percolation คิดดังนี้ ภาคกลาง =1 มม./วัน,ภาค ตอน. =2 มม./วัน,ภาคอื่นๆ = 1.5 มม./วัน Irrigation Eff. ใช้ดังนี้ คลองดิน = 40 %,คลองดาด =50% ฝน 1153.393 แล้ง 1310.156
  • 23. RESERVOIROPERATIONSTUDY Average Annual Runoff Volume 2,532,964 m.^3 Reservoir Capacity m.^3 Dead Storage 68,625 m.^3 แถว เดือน ที่ รายการ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 Average rainfall (mm.) 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7 2 Evaporation and Seepage(mm.) 118.068 107.280 104.748 110.508 122.136 159.900 178.272 163.500 142.200 138.948 134.124 123.840 3 Quantityin storage at startof period (m.^3) 903,932 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 68,625 426,905 4 Inflow from runoff (m.^3) 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284 5 Average water surface area of lake (m.^2) 108471 83725 90022 90521 90870 90860 90651 96356 130858 103252 8235 51228 6 Rainfall over water surface area (m.^3) 11041.95336 1837.535409 592.9994655 539.0114091 404.2888909 2489.564 6493.57836 16963.91178 18756.70987 18702.69182 1988.243427 10484.69505 7 Evaporation and Seepage(m.^3) 12806.95403 8982.018 9429.624456 10003.29467 11098.49832 14528.514 16160.53507 15754.206 18608.0076 14346.6589 1104.5 6344.1 8 Nettotalgain or loss (m.^3) 293,237 52,474 4,161 2,907 -89 -1,741 47,547 287,515 181,939 279,015 554,702 782,425 9 Total quantityfor period (m.^3) 1,197,169 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 1,272,427 1,139,454 623,327 1,209,330 10 Requirement for rice per rai (m.^3) 333.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 274.7 211.2 130.9 203.6 11 Requirement for uplandcrop per rai (m.^3) 0.0 0.0 163.9 235.2 434.2 476.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 12 Quantityrequired for rice-rai (m.^3) 1,500.00ไร่ 499,455 - - - - - - - 411,987 316,827 196,423 305,398 13 Quantityrequired for upland crop-rai (m.^3) ไร่ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 Requirement for watersupply (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 Requirement for factories (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 16 Total QuantityRequired (m.^3) 499,455 - - - - - - - 411,987 316,827 196,423 305,398 17 Shortage (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 Excess or Spill(m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 754001.9116 0 0 19 Carried over to nextperiod (m.^3) 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 68,625 426,905 903,932 ความต้องการน้าสาหรับข้าวทั้งหมด 1153.4ม.^3 697,714 750,188 754,348 757,255 757,167 755,426 802,973 1,090,488 860,440 822,627 426,905 903,932 ความต้องการน้าสาหรับพืชไร่ทั้งหมด 1310.2ม.^3 ความต้องการน้าสาหรับประปาทั้งหมด 0ม.^3 ความต้องการน้าสาหรับโรงงาน อุตสาหกรรมทั้งหมด 0ม.^3 พื้นที่ฤดูฝน 2,136.60 ปรับแก้ 1,500.00 ปริมาณน้ามากที่สุดเดือน มิถุนายน 1,090,488 นาไปใช้ในการทา ROS 2
  • 24. RESERVOIROPERATIONSTUDY Average Annual Runoff Volume 2,532,964 m.^3 Reservoir Capacity 1,090,488 m.^3 43.05% 1,139,296 44.978751 62 Dead Storage 68,625 m.^3 แถว เดือน ที่ รายการ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 Average rainfall (mm.) 101.8 21.9 6.6 6.0 4.4 27.4 71.6 176.1 143.3 181.1 241.4 204.7 2 Evaporation and Seepage(mm.) 118.068 107.280 104.748 110.508 122.136 159.900 178.272 163.500 142.200 138.948 134.124 123.840 3 Quantityin storage at startof period (m.^3) 1,139,296 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177 4 Inflow from runoff (m.^3) 295,002 59,619 12,997 12,371 10,606 10,298 57,214 286,306 181,790 274,659 553,819 778,284 5 Average water surface area of lake (m.^2) 108471 83725 90022 90521 90870 90860 90651 96356 130858 103252 8235 51228 6 Rainfall over water surface area (m.^3) 11041.95336 1837.535409 592.9994655 539.0114091 404.2888909 2489.564 6493.57836 16963.91178 18756.70987 18702.69182 1988.243427 10484.69505 7 Evaporation and Seepage(m.^3) 12806.95403 8982.018 9429.624456 10003.29467 11098.49832 14528.514 16160.53507 15754.206 18608.0076 14346.6589 1104.51114 6344.07552 8 Nettotalgain or loss (m.^3) 293,237 52,474 4,161 2,907 -89 -1,741 47,547 287,515 181,939 279,015 554,702 782,425 9 Total quantityfor period (m.^3) 1,432,533 985,551 989,712 894,308 753,111 490,848 252,243 539,758 721,697 588,724 826,599 1,412,601 10 Requirement for rice per rai (m.^3) 333.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 274.7 211.2 130.9 203.6 11 Requirement for uplandcrop per rai (m.^3) 0.0 0.0 163.9 235.2 434.2 476.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 12 Quantityrequired for rice-rai (m.^3) 1500ไร่ 499455.2727 0 0 0 0 0 0 0 411987.2727 316827.2727 196422.5455 305397.8182 13 Quantityrequired for upland crop-rai (m.^3) 600ไร่ 0 0 98310.54545 141109.0909 260522.1818 286152 0 0 0 0 0 0 14 Requirement for watersupply (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 Requirement for factories (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 16 Total QuantityRequired (m.^3) 499455.2727 0 98310.54545 141109.0909 260522.1818 286152 0 0 411987.2727 316827.2727 196422.5455 305397.8182 17 Shortage (m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 Excess or Spill(m.^3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 19 Carried over to nextperiod (m.^3) 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177 1,107,204 ความต้องการน้าสาหรับข้าวทั้งหมด 1153.4ม.^3 933,077 985,551 891,401 753,199 492,589 204,696 252,243 539,758 309,709 271,897 630,177 1,107,204 ความต้องการน้าสาหรับพืชไร่ทั้งหมด 1310.2ม.^3 ความต้องการน้าสาหรับประปาทั้งหมด 0ม.^3 ความต้องการน้าสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งหมด 0ม.^3 พื้นที่ฤดูแล้ง 575.5052851 ปรับ 600
  • 25. โค้งความจุ อ่างเก็บน้าแม่จางตอนบน ความสูง ระดับ พื้นที่ผิวอ่างฯ พื้นที่ผิวอ่างฯเฉลี่ย สูงระหว่าง พื้นที่ ปริมาตร ปริมาตรสะสม (ม.) ม.(ร.ท.ก.) ตารางเมตร ตารางเมตร เมตร ลบ.ม. ลบ.ม. 0 443.000 0 0 - 0 - 1 444.000 1,077.00 538.50 1 538.50 539 2 445.000 5,640.00 3,358.50 1 3,358.50 3,897 3 446.000 10,203.00 7,921.50 1 7,921.50 11,819 4 447.000 15,910.00 13,056.50 1 13,056.50 24,875 5 448.000 21,617.00 18,763.50 1 18,763.50 43,639 6 449.000 27,877.00 24,747.00 1 24,747.00 68,386 ร.น.ต. 7 450.000 34,137.00 31,007.00 1 31,007.00 99,393 8 451.000 39,742.50 36,939.75 1 36,939.75 136,332 9 452.000 45,348.00 42,545.25 1 42,545.25 178,878 10 453.000 54,734.00 50,041.00 1 50,041.00 228,919 11 454.000 64,120.00 59,427.00 1 59,427.00 288,346 12 455.000 74,139.00 69,129.50 1 69,129.50 357,475 13 456.000 84,158.00 79,148.50 1 79,148.50 436,624 14 457.000 94,334.00 89,246.00 1 89,246.00 525,870 15 458.000 104,510.00 99,422.00 1 99,422.00 625,292 16 459.000 115,433.50 109,971.75 1 109,971.75 735,263 17 460.000 126,357.00 120,895.25 1 120,895.25 856,159 18 461.000 141,568.50 133,962.75 1 133,962.75 990,121 19 462.000 156,780.00 149,174.25 1 149,174.25 1,139,296 ร.น.ก. 20 463.000 176,985.00 166,882.50 1 166,882.50 1,306,178 ร.น.ส. 21 464.000 197,190.00 187,087.50 1 187,087.50 1,493,266 หลังคัน 22 465.000 220,990.00 209,090.00 1 209,090.00 1,702,356 พื้นที่ผิวอ่างที่ระดับเก็บกัก 88 ไร่
  • 26. พิจารณาออกแบบลักษณะโครงการเบื้องต้น - ที่ตั้ง บ้านจางเหนือพัฒนา หมู่ที่ 7 ตาบลจางเหนือ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง - พิกัด47 QNA 939-415 ระวาง 4945 I ลาดับชุด L 7018 - ประเภท อ่างน้า - พื้นที่รับน้าฝนเหนือที่ตั้งหัวงาน 9.15 ตารางกิโลเมตร - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,186.40 มิลลิเมตร - ปริมาณน้าไหลผ่านหัวงานเฉลี่ยทั้งปี 2,532,964 ลูกบาศก์เมตร - ทานบดิน กว้าง 8.00 เมตร ยาว 100.00 เมตร สูงสุดประมาณ 21.00 เมตร ความจุอ่างฯที่ระดับเก็บกัก 1.14 ล้านลูกบาศก์เมตร - พื้นที่รับประโยชน์ ฤดูฝน 1,500 ไร่ ฤดูแล้ง 600 ไร่ - ระบบส่งน้า ระบายน้าลงลาน้าเดิมแล้วใช้ระบบเหมืองฝายเดิมทดน้าเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก
  • 30. การจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่ าไม้ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ 1) เขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ (C) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่กาหนดไว้เพื่ออนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าหายาก เพื่อป้องกันภัยธรรมชาติ ตลอดทั้ง เพื่อเป็นประโยชน์ในด้านวิจัย นันทนาการ และความมั่นคงของชาติ 1.1) พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี 1.2) พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม 2) เขตพื้นที่ป่ าเพื่อเศรษฐกิจ (E) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่กาหนดไว้เพื่อการผลิตไม้ และของป่า รวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามนัยมติ ครม. เกี่ยวกับการกาหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้า และการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ในพื้นที่ป่าชายเลน ส่วนใหญ่เป็นป่า ค่อนข้างเสื่อมโทรมและใกล้เขตชุมชน ได้แก่ พื้นที่พัฒนาป่าธรรมชาติ 3) เขตพื้นที่ป่ าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (A) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติที่มีสมรรถนะที่ดินเหมาะสมต่อการทาเกษตรกรรมโดย จะต้องไม่อยู่ในเขต C และ E ⃰ ใช้ในการพิจารณา ระดับการจัดทํารายงานฯ
  • 32. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า (Watershed) พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ลุ่มน้าที่ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้าลาธารโดยเฉพาะที่อาจ มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง - พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1A ได้แก่ พื้นที่ต้นน้าลาธารที่ยังมีสภาพป่าสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2525 - พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 1B เป็นพื้นที่ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ได้ถูกทาลาย หรือเปลี่ยนแปลงก่อน พ.ศ.2525 พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 2 พื้นที่ที่เหมาะต่อการเป็นต้นน้าลาธารในระดับรองจากลุ่มน้าชั้นที่ 1 สามารถใช้เพื่อประโยชน์ที่สาคัญอย่างอื่นได้ เช่น การทาเหมืองแร่ เป็นต้น พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งการทาไม้ เหมืองแร่ และการ ปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 4 โดยสภาพป่าของลุ่มน้าชั้นนี้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์ เพื่อกิจการพืชไร่เป็นส่วนใหญ่ พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ 5 โดยทั่วไปเป็นที่ราบ,ที่ลุ่ม และส่วนใหญ่ป่าไม้ได้ถูกแผ้วถางเพื่อ ประโยชน์ด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทานาและกิจการอื่นไปแล้ว จาแนกตามมติคณะรัฐมนตรี
  • 34.  โครงการเขื่อนเก็บกักนํ้าหรืออ่างเก็บนํ้า ที่มีพื้นที่โครงการอยู่ในเขตพื้นที่ป่ าอนุรักษ์ หรือป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม 1) พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม ตั้งแต่ 500 ไร่ ขึ้นไป EIA 2) พื้นที่โครงการอยู่ในพื้นที่ป่ าอนุรักษ์เพิ่มเติม ตั้งแต่ 50 ไร่ แต่ไม่ถึง 500 ไร่ IEE 3) โครงการที่ไม่เข้าข่ายที่ต้องจัดทารายงาน EIA หรือ IEE EC ประเภทและขนาดโครงการที่เข้าข่าย มติ ครม. เกี่ยวกับป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม เมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2554