SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
การจัดการด้านหนี้สิน
  1.การยื่นขอรับชำาระหนี้
  2.การชำาระหนี้ (การแบ่ง
   ทรัพย์สน) ให้แก่เจ้าหนี้
            ิ
- หลักการชำาระหนี้ Pari Passu
     - ลำาดับการชำาระหนี้
การยื่นขอรับชำาระหนี้
         มาตรา 27 เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ด
 ขาดแล้ว เจ้าหนี้จะขอรับชำาระหนี้ได้ก็แต่โดยปฏิบัตตาม
                                                   ิ
วิธีการที่กล่าวไว้ในพระราชบัญญัตนี้ แม้จะเป็นเจ้าหนี้ตาม
                                     ิ
 คำาพิพากษา หรือเป็นเจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดีแพ่งไว้แล้ว แต่
              คดียังอยู่ระหว่างพิจารณาก็ตาม
          มาตรา 91 เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำาระหนี้ในคดีล้ม
   ละลายจะเป็นเจ้าหนี้ผเป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่น
                          ู้
  คำาขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำาหนดเวลา
  สองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
  แต่ถาเจ้าหนี้อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์
       ้
    ทรัพย์จะขยายกำาหนดเวลาให้อกได้ไม่เกินสองเดือน
                                   ี
หลักเกณฑ์สำาคัญ
 • เจ้าหนี้คนใดบ้างที่ต้องยื่น
         คำาขอรับชำาระหนี้
• ระยะเวลาในการยื่นคำาขอรับ
               ชำาระหนี้
  • หนี้ที่นำามายื่นขอระบชำาระ
                  หนี้
เจ้าหนี้คนใดบ้างที่ต้องยื่น
      คำาขอรับชำาระหนี้
      • เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษา
    • เจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดี แต่คดีอยู่
   ระหว่างการพิจารณา(หรือระหว่าง
               การบังคับคดี)
         • เจ้าหนี้ที่มิได้ฟ้องคดี
• เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ในคดีล้มละลาย
• บุคคลที่อาจใช้สิทธิไล่เบี้ย (มาตรา
ระยะเวลาในการยืนคำาขอ
                ่
      รับชำาระหนี้
• มาตรา 91 กำาหนดให้ เจ้าหนี้ที่อยู่
   ในราชอาณาจักรต้องยื่นคำาขอรับ
  ชำาระหนี้ ภายใน 2 เดือน นับแต่วัน
    โฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ด
    ขาด (การโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์
           ทรัพย์ มาตรา 28)
 • เจ้าหนี้ที่อยู่นอกอาณาจักร (2+2
กรณีเจ้าหนี้อยู่นอกราช
     อาณาจักร
    “เจ้าหนี้นอกราชอาณาจักร” หมาย
 ถึง เจ้าหนี้ทเป็นคนไทยหรือคนต่าง
               ี่
   ประเทศก็ได้ แต่ต้องอยูนอกราช
                          ่
อาณาจักรขณะที่มีการประกาศโฆษณา
คำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์เด็ดขาดโดยถือเอา
           ั
    ตามความเป็นจริง (ไม่คำานึงถึง
  ภูมิลำาเนาตามกฎหมายแต่อย่างใด)
    อำานาจในการขยายระยะเวลาอีก 2
การขอขยายระยะเวลา
    หากเจ้าหนี้ไม่ทราบคำาสัง   ่
พิทักษ์ทรัพย์ลกหนี้เด็ดขาดโย
               ู
เหตุสดวิสัย เจ้าหนี้สามารถอ้าง
      ุ
 เหตุสดวิสัยนั้นขอขยายระยะ
        ุ
  เวลาได้ ทังนี้เจ้าหนี้ต้องยื่น
            ้
   คำาร้องขอขยายระยะเวลา
  ภายในระยะเวลาอันสมควร
การขอแก้ไขคำาขอรับ
      ชำาระหนี้
• การยื่นคำาร้องขอแก้ไขคำาขอรับ
  ชำาระหนี้โดยเพิ่มเติมจำานวนหนี้
   หรือยื่นคำาขอรับชำาระหนี้เพิ่ม
  เติมต้องยื่นภายในกำาหนดเวลา
               2 เดือน
   • แต่ถ้าเป็นการขอแก้ไขราย
  ละเอียด ถือเป็นการขอแก้ไขคำา
การเริ่มนับระยะเวลาในการยื่น
 คำาขอรับชำาระหนี้ตามมาตรา
                92
    มาตรา 92 บุคคลใดได้รบความเสีย
                        ั
 หายเพราะสิงของของตนถูกยึดไปตาม
             ่
 มาตรา 109 (3) ก็ดี หรือเพราะการโอน
  ทรัพย์สนหรือการกระทำาใด ๆ ถูกเพิก
         ิ
 ถอนตามมาตรา 115 ก็ดี หรือเพราะเจ้า
    พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับ
   ทรัพย์สนหรือสิทธิตามสัญญาตาม
           ิ
  มาตรา 122 ก็ดี มีสทธิขอรับชำาระหนี้
                     ิ
 สำาหรับราคาสิงของหรือหนีเดิมหรือค่า
               ่           ้
 เสียหายได้แล้วแต่กรณีภายในกำาหนด
มาตรา 92
1.      เจ้าหนีที่ได้รบความเสียหาย
                   ้   ั
  เพราะสิ่งของของตนถูก ยึดไป
          ตามมาตรา 109 (3)
   2.เจ้าหนี้ทถูกเพิกถอนการโอน
                ี่
  ทรัพย์สินหรือการกระทำาใดๆ ตาม
                มาตรา 115
 3.เจ้าหนี้ทถูกเจ้าพนักงานพิทักษ์
             ี่
ทรัพย์ปฏิเสธไม่ยอมรับทรัพย์สนหรือ
                                ิ
  สิทธิตามสัญญา ตามมาตรา 122
 เจ้าหนี้เหล่านีต้องยื่นคำาขอรับชำาระ
                     ้
           หนี้ภายใน 2 เดือน
ข้อสังเกตบ้างประการ
• กรณีมีการเพิกถอนการโอนตามมาตรา
  113 (การเพิกถอนการฉ้อฉล) ผูได้ลาภ
                               ้
        งอกจะขอรับชำาระหนี้ไม่ได้
   • บุคคลภายนอกที่ได้รบผลกระทบ
                       ั
     เพราะมีการเพิกถอนการโอนตาม
    มาตรา 115 ไม่สามารถมายื่นขอรับ
     ชำาระหนี้ตามมาตรา 92 ได้เพราะ
   มาตรา 92 ให้สทธิเฉพาะเจ้าหนี้ทจะ
                 ิ                ี่
การเริ่มนับระยะเวลาในการยื่น
       คำาขอรับชำาระหนี้
        ตามมาตรา 93
      มาตรา 93 ในกรณีทเจ้า
                        ี่
พนักงานพิทกษ์ทรัพย์เข้าว่าคดี
             ั
 ทีค้างพิจารณาอยู่แทนลูกหนี้
   ่
ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แพ้
 คดี เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษามี
   สิทธิขอรับชำาระหนี้ภายใน
กำาหนดเวลาตามมาตรา 91 แต่
มาตรา 93
1.      เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้า
    ว่าคดีแทนลูกหนี้ (มาตรา 25)
2.     เมื่อลูกหนี้ถูกพิทกษ์ทรัพย์ เจ้า
                             ั
   พนักงานพิทกษ์ ทรัพย์ฟ้องร้อง
                  ั
   คดีเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
            ตามมาตรา 22 (3)
    เจ้าหนีต้องยืนคำาขอรับชำาระหนี้
            ้        ่
         ภายใน 2 เดือนนับจาก
              วันที่คดีถึงที่สดุ
ข้อสังเกต
• หาก จพท ขอให้ศาลแพ่งจำาหน่ายคดี
   กรณีเช่นนี้มิใช่ศาลมีคำาพิพากษาให้
      จพท แพ้คดี ไม่เข้ามาตรา 93
   • หากกรณีที่ จพท เข้าไปจัดการ
  ทรัพย์สนของลูกหนีแล้วเกิดหนี้ขึ้นมา
         ิ            ้
  และเจ้าหนี้ได้มีการฟ้องร้องให้ จพท
    ชำาระหนีนั้น หากศาลพิพากษาให้
            ้
   จพท ชำาระหนี้ จพท มีหน้าที่นำาเงิน
ระยะเวลาในการขอรับชำาระ
         หนี้ในกรณีอื่นๆ
  • กรณีศาลมีคำาสังยกเลิกการ
                    ่
 ประนอมหนีก่อนล้มละลาย เจ้า
               ้
  หนี้มีสทธิยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
         ิ
     ภายใน 2 เดือนนับแต่วัน
   ประกาศโฆษณา (มาตรา 60
              วรรคท้าย)
• กรณีทศาลมีคำาสั่งให้เพิกถอน
           ี่
หนี้ที่นำามาขอยื่นรับชำาระหนี้
          (มาตรา 94)
  มูลแห่งหนีเกิดขึ้นก่อนวัน
               ้
 ที่ศาลมีคำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์
                     ั
       แม้ว่าหนี้นั้น
  - ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระ
         - มีเงื่อนไข
หนี้ที่ไม่สามารถนำามายื่นขอรับ
           ชำาระหนี้ได้
           • หนี้ที่มิใช่หนี้เงิน
• มูลแห่งหนี้เกิดขึ้นตั้งแต่วันทีศาลมีคำา
                                  ่
  สังพิทักษ์ทรัพย์ (ชั่วคราว/เด็ดขาด)
    ่
                เป็นต้นไป
   • หนี้ตามมาตรา 94 (1) และ (2)
 • ค่าเช่าหรือหนี้อย่างอืนซึ่งมีกำาหนด
                           ่
    เวลาให้ชำาระหลังวันทีศาลมีคำาสัง
                              ่      ่
       พิทักษ์ทรัพย์ (มาตรา 99)
ผลของการยื่นคำาขอรับ
     ชำาระหนี้
   คำาสั่งทีศาลอนุญาตให้เจ้าหนี้ได้รับ
            ่
      ชำาระหนีจำานวนเท่าใดนันมิได้
              ้             ้
หมายความว่าเจ้าหนีจะได้รับชำาระหนี้
                     ้
ตามจำานวนดังกล่าว จำานวนหนี้ที่ศาลมี
คำาสั่งอนุญาตเป็นเพียงฐานแห่งสิทธิที่
     จะนำาไปใช้ในการคำานวณแบ่ง
 ทรัพย์สน ดังนั้นเจ้าหนี้จะได้รบชำาระ
          ิ                    ั
หนี้จริงเพียงใดขึ้นอยู่กบทรัพย์สินที่จะ
                        ั
ผลของการไม่ยื่นคำาขอ
    รับชำาระหนี้
 • ศาลฎีกามองว่า ลูกหนี้หลุดพ้น
   ความรับผิดในหนี้ที่ไม่ได้ขอรับ
 ชำาระหนี้ตามที่กฎหมายกำาหนดไว้
• ความเห็นทางวิชาการ สิทธิของ
  เจ้าหนี้มีอยู่ตามเดิม เจ้าหนี้จะไป
ฟ้องคดีแพ่งก็ย่อมทำาได้ แต่เจ้าหนี้
  ที่ไม่ได้ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ไม่มี
• แม้เจ้าหนี้ในคดีแพ่งมิได้ยื่นคำาขอ
 รับชำาระหนี้ แต่ลูกหนี้ซึ่งเป็นจำาเลย
 ในคดีแพ่งจะขอให้ยกเลิกเพิกถอน
       หมายบังคับคดีนั้นไม่ได้
 • หากในเวลาต่อมาศาลมีคำาสั่งให้
   ยกเลิกการล้มละลายของลูกหนี้
  ตามมาตรา 135 (1) (2) ลูกหนี้ไม่
   หลุดพ้นจากหนี้ที่เจ้าหนี้มิได้ยื่น
          คำาขอรับชำาระหนี้
สิทธิในการได้รับชำาระหนี้ของ
 เจ้าหนี้มีประกันในคดีล้มละลาย
            มีทางเลือก 2 ทาง
• บังคับชำาระหนี้จากทรัพย์สินอันเป็น
        หลักประกัน (มาตรา 95)
   • ยื่นขอรับชำาระหนี้ (มาตรา 96
         ประกอบกับ มาตรา 97)
เจ้าหนี้มประกันคือใคร
         ี
   มาตรา 6 บัญญัติว่า “เจ้าหนี้มี
ประกัน หมายความว่า เจ้าหนี้ผู้
มีสทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้
   ิ
 ในทางจำานอง จำานำา หรือสิทธิ
     ยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มี
   บุริมสิทธิทบังคับได้ทำานอง
               ี่
        เดียวกับผู้รับจำานำา”
บังคับชำาระหนี้จากทรัพย์สน          ิ
อันเป็นหลักประกัน (มาตรา
                   95) จะบังคับชำาระหนี้
   เจ้าหนี้มีประกันที่ประสงค์
 จากทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันสามารถทำาได้
            ิ
                   2 วิธีการ คือ
     1. ฟ้องลูกหนีเป็นคดีแพ่งเพื่อบังคับแก่
                       ้
          ทรัพย์สนอันเป็นหลักประกัน
                 ิ
      2. ขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยึด
 ทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันออกขายนำาเงินมา
        ิ
                     ชำาระหนี้
    มาตรา 95 มิได้บังคับให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
 ทรัพย์ต้องดำาเนินการตามที่เจ้าหนีมีประกันขอ
                                  ้
ให้ยึดและขายทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันเสมอ
                         ิ
เจ้าหนีมีประกันประสงค์ที่จะยื่น
       ้
         ขอรับชำาระหนี้
(มาตรา 96 ประกอบกับ มาตรา
     ตามมาตรา97) าหนี้มีประกันที่
              96 เจ้
    ประสงค์จะทำาการยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
     สามารถดำาเนินการตามเงื่อนไขใด
          เงื่อนไขหนึ่ง ดังต่อไปนี้
 1. มาตรา 96 (1) เจ้าหนี้มีประกันยินยอม
   สละทรัพย์สินอันเป็นหลักประกัน แล้วยื่น
     ขอรับชำาระหนี้เต็มจำานวน (เจ้าหนี้มี
           ประกันเจ้าหนี้ธรรมดา)
2. มาตรา 96 (2) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับคดี
• มาตรา 96 (3) เจ้าหนี้ขอให้เจ้าพนักงาน
   พิทักษ์ทรัพย์ทำาการขายทอดตลาดทรัพย์สิน
   อันเป็นหลักประกัน หากเงินที่ได้จากการขาย
   ทอดตลาดไม่เพียงพอชำาระหนี้ เจ้าหนี้ก็ขอรับ
          ชำาระหนี้ในส่วนที่ยังขาดอยู่
4. มาตรา 96 (4) เจ้าหนี้ตีราคาทรัพย์สนอันเป็น
                                         ิ
         หลักประกันมาในคำาขอรับชำาระหนี้
     ตีราคาสูงเกินไป        ไม่มีสวนขาดมาขอรับ
                                  ่
                       ชำาระหนี้
      ตีราคาตำ่าเกินไป เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
     ขอไถ่คืน                       ทรัพย์สนนั้นได้
                                           ิ
     สรุป     อนุ 1 เปลี่ยนสถานะจากเจ้าหนี้มี
เจ้าหนี้มีประกันไม่สามารถดำาเนิน
การตามมาตรา 96 อนุ 1, 2, 3 หรือ 4
 ได้ หากพบว่า เจ้าหนีไม่มสิทธิได้รับ
                        ้   ี
ชำาระหนี้เกินกว่าราคาทรัพย์สินอันเป็น
   หลักประกัน ตัวอย่างเช่น เจ้าหนี้
        จำานอง ตามมาตรา 733
     ถ้าเจ้าหนี้มีประกันขอรับชำาระหนี้
 โดยไม่แจ้งว่าตนเป็นเจ้าหนีมีประกัน
                              ้
  ผลคือ เจ้าหนี้มีประกันผูนั้นจะไม่มี
                          ้
สถานะเป็นเจ้าหนีมีประกัน ต้องทำาการ
                    ้
 คืนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันให้แก่
การพิจารณาคำาขอรับ
         ชำาระหนี้
• เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
       (มาตรา 104)
 • ศาล (มาตรา 106-108)
คำาขอรับชำาระหนี้
  ชั้นเจ้าพนักงานพิทักษ์
1. เมื่อพ้นกำาหนดระยะเวลายื่นคำาขอรับชำาระหนี้
                ทรัพย์
 ตามมาตรา 91 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้อง
ดำาเนินการนัดตรวจคำาขอรับชำาระหนี้ ตามมาตรา
                        104
    แจ้งลูกหนีและเจ้าหนีให้ทราบไม่น้อยกว่า 7
                ้          ้
วัน เป็นการเปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบและโต้
         แย้งคำาขอรับชำาระหนี้ที่ยื่นเข้ามา
2. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นดสอบสวนคำาขอ
                                  ั
           รับชำาระหนี้ ตามมาตรา 105
     เรียกเจ้าหนี้ และผู้โต้แย้ง (ถ้ามี) มาทำาการ
  สอบสวน เมื่อทำาการสอบสวนเป็นที่เรียบร้อย
กระบวนการพิจารณาคำาขอรับ
     ชำาระหนี้ชั้นศาล
        • กรณีที่ไม่มีผู้โต้แย้ง (มาตรา 106)
    ศาลมีอำานาจสั่งให้เจ้าหนี้ได้รับชำาระหนี้ตามคำาขอ
รับชำาระหนี้ที่ยื่นมา เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควร ศาลอาจ
                    สั่งเป็นอย่างอืนได้
                                    ่
         • กรณีที่มีผโต้แย้ง (มาตรา 107)
                         ู้
    คำาขอรับชำาระหนี้ที่มีผโต้แย้ง ศาลสามารถสั่งได้ 3
                               ู้
                            ทาง ได้แก่
                  1. ยกคำาขอรับชำาระหนี้
       2. อนุญาตให้ได้รับชำาระหนี้เต็มจำานวน
         3. อนุญาตให้ได้รับชำาระหนี้บางส่วน
      ศาลสามารถมีคำาสั่งโดยที่มิต้องออกนั่งพิจารณา
   ก็ได้ (พิจารณาจากสำานวนการสอบสวนของเจ้า
การอุทธรณ์คำาสั่ง
• การอุทธรณ์คำาสั่งขอรับชำาระหนี้
  ต้องอุทธรณ์ภายใน 1 เดือน นับ
   แต่วันทีเจ้าหนี้ทราบคำาสั่งของ
            ่
              ศาลล้มละลาย
 • ลูกหนี้มีสทธิอทธรณ์คำาสังศาล
               ิ   ุ         ่
   ทีอนุญาตให้เจ้าหนี้ได้รับชำาระ
     ่
                 หนี้ได้
การขอรับชำาระหนี้ของลูกหนี้ร่วม
      หรือผู้คำ้าประกัน
        (มาตรา 101)
      บุคคลที่มีสทธิขอรับชำาระหนี้ตาม
                   ิ
     มาตรา 101 คือ ลูกหนี้รวม ผูคำ้า
                              ่    ้
  ประกัน ผูคำ้าประกันร่วม หรือบุคคลที่
             ้
   อยู่ลักษณะอย่างเดียวกัน โดยขอรับ
  ชำาระหนี้ในจำานวนทีตนอาจใช้สิทธิไล่
                       ่
             เบี้ยได้ในภายหน้า
       แต่ถ้าเจ้าหนีได้ขอรับชำาระหนี้ไว้
                     ้
 เต็มจำานวนแล้ว ลูกหนี้ร่วม ผูคำ้าประกัน
                                ้
การหักกลบลบหนี้
        มาตรา 102
       หลักเกณฑ์การหักกลบลบหนี้ตามมาตรา
                           102
1. เจ้าหนีและลูกหนี้ผู้ถูกพิทักษ์ทรัพย์ต่างเป็นหนี้
           ้
      ซึ่งกันและกันในเวลาที่ศาลมีคำาสังพิทักษ์
                                        ่
                         ทรัพย์
 2. หนี้ที่ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระก็นำามาหักกลบลบ
                        หนีกันได้
                            ้
   3. วัตถุแห่งหนีไม่ตรงกันก็นำามาตีราคาเพื่อ
                     ้
                ทำาการหักกลบลบหนีได้ ้
 4. แม้เจ้าหนี้จะไม่ได้ยื่นคำาขอรับชำาระหนีในส่วน
                                           ้
การชำาระหนี้ (การแบ่งทรัพย์สิน)
         ให้แก่เจ้าหนี้
• ทรัพย์สนที่นำามาแบ่งในคดีล้มละลาย
          ิ
              (มาตรา 109)
  • ลำาดับการชำาระหนี้ (มาตรา 130)
• วิธีการชำาระหนี้ ตามหลัก Pari Passu
ทรัพย์สินที่นำามาแบ่งในคดีล้ม
                 ละลาย
         (มาตรา 109)
   มาตรา 109 ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินใน
                คดีล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนีได้  ้
      (1)       ทรัพย์สินทังหลายอันลูกหนี้มีอยู่ในเวลาเริ่มต้นแห่ง
                             ้
  การล้มละลายรวมทั้งสิทธิเรียกร้องเหนือทรัพย์สินของบุคคลอื่น
                                   เว้นแต่
      ก. เครื่องใช้สอยส่วนตัวอันจำาเป็นแก่การดำารงชีพ ซึ่งลูกหนี้
  รวมทั้งภริยาและบุตรผูเยาว์ของลูกหนี้ จำาเป็นต้องใช้ตามสมควร
                          ้
                            แก่ฐานานุรูป และ
          ข. สัตว์ พืชพันธุ์ เครื่องมือและสิ่งของสำาหรับใช้ในการ
    ประกอบอาชีพของลูกหนี้ราคารวมกันไม่เกินหนึ่งแสนบาท
        (2)      ทรัพย์สินซึ่งลูกหนี้ได้มาภายหลังเวลาเริ่มต้นแห่ง
             การล้มละลายจนถึงเวลาปลดจากล้มละลาย
        (3)     สิ่งของซึ่งอยู่ในครอบครองหรืออำานาจสั่งการหรือ
ลำาดับการชำาระหนี้
         (มาตรา 130)
       มาตรา 130 ในการแบ่งทรัพย์สินให้แก่เจ้าหนี้นั้น ให้ชำาระค่าใช้จ่ายและหนี้สิน
                                    ตามลำาดับดังต่อไปนี้
                        (1)        ค่าใช้จายในการจัดการมรดกของลูกหนี้
                                          ่
        (2)        ค่าใช้จายของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการจัดการทรัพย์สินของ
                            ่
                                             ลูกหนี้
                       (3)        ค่าปลงศพลูกหนี้ตามสมควรแก่ฐานานุรูป
               (4)        ค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สินตามมาตรา 179 (3)
         (5)         ค่าธรรมเนียมของเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์และค่าทนายความตามทีศาล ่
                           หรือเจ้าพนักงานพิทกษ์ทรัพย์กำาหนด
                                                 ั
          (6)        ค่าภาษีอากรทีถึงกำาหนดชำาระภายในหกเดือนก่อนมีคำาสั่งพิทักษ์
                                     ่
 ทรัพย์ และเงินทีลูกจ้างมีสิทธิได้รับก่อนมีคำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์เพื่อการงานที่ได้ทำาให้
                   ่                                          ั
ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้างตามมาตรา 257 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และตาม
                              กฎหมายว่าด้วยการคุมครองแรงงาน
                                                     ้
                                        (7)            หนี้อื่น ๆ
       ถ้ามีเงินไม่พอชำาระเต็มจำานวนหนี้ในลำาดับใดให้เจ้าหนี้ในลำาดับนั้นได้รับเฉลี่ย
                                            ตามส่วน
ข้อสังเกตบ้างประการ
 • หนี้ภาษีอากรทีได้ถึงกำาหนด
                   ่
 ชำาระเกินกว่า 6 เดือน ก่อนมีคำา
   สั่งพิทกษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้คงมี
          ั
   สิทธิที่จะได้รับชำาระหนี้ตาม
   มาตรา 130 (7) เท่านั้น (ฎีกา
            881/2517)
• เจ้าหนี้ตามมาตรา 130 ทวิ คือ
วิธีการชำาระหนี้ ตาม
  หลัก Pari Passu
  มาตรา 130 วรรค 2
กำาหนดให้ เจ้าหนี้ใน
ลำาดับเดียวกันต้องได้
     รับชำาระหนี้ใน
  อัตราส่วนที่เท่ากัน

More Related Content

Similar to การจัดการด้านหนี้สิน

บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้Suebsarn ROJANAWON
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
กฎหมายล้มละลาย
กฎหมายล้มละลายกฎหมายล้มละลาย
กฎหมายล้มละลายYosiri
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdfssuser04a0ab
 

Similar to การจัดการด้านหนี้สิน (8)

บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
12 businessfinance v1
12 businessfinance v112 businessfinance v1
12 businessfinance v1
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
กฎหมายล้มละลาย
กฎหมายล้มละลายกฎหมายล้มละลาย
กฎหมายล้มละลาย
 
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
 

การจัดการด้านหนี้สิน

  • 1. การจัดการด้านหนี้สิน 1.การยื่นขอรับชำาระหนี้ 2.การชำาระหนี้ (การแบ่ง ทรัพย์สน) ให้แก่เจ้าหนี้ ิ - หลักการชำาระหนี้ Pari Passu - ลำาดับการชำาระหนี้
  • 2. การยื่นขอรับชำาระหนี้ มาตรา 27 เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ด ขาดแล้ว เจ้าหนี้จะขอรับชำาระหนี้ได้ก็แต่โดยปฏิบัตตาม ิ วิธีการที่กล่าวไว้ในพระราชบัญญัตนี้ แม้จะเป็นเจ้าหนี้ตาม ิ คำาพิพากษา หรือเป็นเจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดีแพ่งไว้แล้ว แต่ คดียังอยู่ระหว่างพิจารณาก็ตาม มาตรา 91 เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำาระหนี้ในคดีล้ม ละลายจะเป็นเจ้าหนี้ผเป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่น ู้ คำาขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำาหนดเวลา สองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ถาเจ้าหนี้อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ ้ ทรัพย์จะขยายกำาหนดเวลาให้อกได้ไม่เกินสองเดือน ี
  • 3. หลักเกณฑ์สำาคัญ • เจ้าหนี้คนใดบ้างที่ต้องยื่น คำาขอรับชำาระหนี้ • ระยะเวลาในการยื่นคำาขอรับ ชำาระหนี้ • หนี้ที่นำามายื่นขอระบชำาระ หนี้
  • 4. เจ้าหนี้คนใดบ้างที่ต้องยื่น คำาขอรับชำาระหนี้ • เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษา • เจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดี แต่คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณา(หรือระหว่าง การบังคับคดี) • เจ้าหนี้ที่มิได้ฟ้องคดี • เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ในคดีล้มละลาย • บุคคลที่อาจใช้สิทธิไล่เบี้ย (มาตรา
  • 5. ระยะเวลาในการยืนคำาขอ ่ รับชำาระหนี้ • มาตรา 91 กำาหนดให้ เจ้าหนี้ที่อยู่ ในราชอาณาจักรต้องยื่นคำาขอรับ ชำาระหนี้ ภายใน 2 เดือน นับแต่วัน โฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ด ขาด (การโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ ทรัพย์ มาตรา 28) • เจ้าหนี้ที่อยู่นอกอาณาจักร (2+2
  • 6. กรณีเจ้าหนี้อยู่นอกราช อาณาจักร “เจ้าหนี้นอกราชอาณาจักร” หมาย ถึง เจ้าหนี้ทเป็นคนไทยหรือคนต่าง ี่ ประเทศก็ได้ แต่ต้องอยูนอกราช ่ อาณาจักรขณะที่มีการประกาศโฆษณา คำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์เด็ดขาดโดยถือเอา ั ตามความเป็นจริง (ไม่คำานึงถึง ภูมิลำาเนาตามกฎหมายแต่อย่างใด) อำานาจในการขยายระยะเวลาอีก 2
  • 7. การขอขยายระยะเวลา หากเจ้าหนี้ไม่ทราบคำาสัง ่ พิทักษ์ทรัพย์ลกหนี้เด็ดขาดโย ู เหตุสดวิสัย เจ้าหนี้สามารถอ้าง ุ เหตุสดวิสัยนั้นขอขยายระยะ ุ เวลาได้ ทังนี้เจ้าหนี้ต้องยื่น ้ คำาร้องขอขยายระยะเวลา ภายในระยะเวลาอันสมควร
  • 8. การขอแก้ไขคำาขอรับ ชำาระหนี้ • การยื่นคำาร้องขอแก้ไขคำาขอรับ ชำาระหนี้โดยเพิ่มเติมจำานวนหนี้ หรือยื่นคำาขอรับชำาระหนี้เพิ่ม เติมต้องยื่นภายในกำาหนดเวลา 2 เดือน • แต่ถ้าเป็นการขอแก้ไขราย ละเอียด ถือเป็นการขอแก้ไขคำา
  • 9. การเริ่มนับระยะเวลาในการยื่น คำาขอรับชำาระหนี้ตามมาตรา 92 มาตรา 92 บุคคลใดได้รบความเสีย ั หายเพราะสิงของของตนถูกยึดไปตาม ่ มาตรา 109 (3) ก็ดี หรือเพราะการโอน ทรัพย์สนหรือการกระทำาใด ๆ ถูกเพิก ิ ถอนตามมาตรา 115 ก็ดี หรือเพราะเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับ ทรัพย์สนหรือสิทธิตามสัญญาตาม ิ มาตรา 122 ก็ดี มีสทธิขอรับชำาระหนี้ ิ สำาหรับราคาสิงของหรือหนีเดิมหรือค่า ่ ้ เสียหายได้แล้วแต่กรณีภายในกำาหนด
  • 10. มาตรา 92 1. เจ้าหนีที่ได้รบความเสียหาย ้ ั เพราะสิ่งของของตนถูก ยึดไป ตามมาตรา 109 (3) 2.เจ้าหนี้ทถูกเพิกถอนการโอน ี่ ทรัพย์สินหรือการกระทำาใดๆ ตาม มาตรา 115 3.เจ้าหนี้ทถูกเจ้าพนักงานพิทักษ์ ี่ ทรัพย์ปฏิเสธไม่ยอมรับทรัพย์สนหรือ ิ สิทธิตามสัญญา ตามมาตรา 122 เจ้าหนี้เหล่านีต้องยื่นคำาขอรับชำาระ ้ หนี้ภายใน 2 เดือน
  • 11. ข้อสังเกตบ้างประการ • กรณีมีการเพิกถอนการโอนตามมาตรา 113 (การเพิกถอนการฉ้อฉล) ผูได้ลาภ ้ งอกจะขอรับชำาระหนี้ไม่ได้ • บุคคลภายนอกที่ได้รบผลกระทบ ั เพราะมีการเพิกถอนการโอนตาม มาตรา 115 ไม่สามารถมายื่นขอรับ ชำาระหนี้ตามมาตรา 92 ได้เพราะ มาตรา 92 ให้สทธิเฉพาะเจ้าหนี้ทจะ ิ ี่
  • 12. การเริ่มนับระยะเวลาในการยื่น คำาขอรับชำาระหนี้ ตามมาตรา 93 มาตรา 93 ในกรณีทเจ้า ี่ พนักงานพิทกษ์ทรัพย์เข้าว่าคดี ั ทีค้างพิจารณาอยู่แทนลูกหนี้ ่ ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แพ้ คดี เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษามี สิทธิขอรับชำาระหนี้ภายใน กำาหนดเวลาตามมาตรา 91 แต่
  • 13. มาตรา 93 1. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้า ว่าคดีแทนลูกหนี้ (มาตรา 25) 2. เมื่อลูกหนี้ถูกพิทกษ์ทรัพย์ เจ้า ั พนักงานพิทกษ์ ทรัพย์ฟ้องร้อง ั คดีเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามมาตรา 22 (3) เจ้าหนีต้องยืนคำาขอรับชำาระหนี้ ้ ่ ภายใน 2 เดือนนับจาก วันที่คดีถึงที่สดุ
  • 14. ข้อสังเกต • หาก จพท ขอให้ศาลแพ่งจำาหน่ายคดี กรณีเช่นนี้มิใช่ศาลมีคำาพิพากษาให้ จพท แพ้คดี ไม่เข้ามาตรา 93 • หากกรณีที่ จพท เข้าไปจัดการ ทรัพย์สนของลูกหนีแล้วเกิดหนี้ขึ้นมา ิ ้ และเจ้าหนี้ได้มีการฟ้องร้องให้ จพท ชำาระหนีนั้น หากศาลพิพากษาให้ ้ จพท ชำาระหนี้ จพท มีหน้าที่นำาเงิน
  • 15. ระยะเวลาในการขอรับชำาระ หนี้ในกรณีอื่นๆ • กรณีศาลมีคำาสังยกเลิกการ ่ ประนอมหนีก่อนล้มละลาย เจ้า ้ หนี้มีสทธิยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ ิ ภายใน 2 เดือนนับแต่วัน ประกาศโฆษณา (มาตรา 60 วรรคท้าย) • กรณีทศาลมีคำาสั่งให้เพิกถอน ี่
  • 16. หนี้ที่นำามาขอยื่นรับชำาระหนี้ (มาตรา 94) มูลแห่งหนีเกิดขึ้นก่อนวัน ้ ที่ศาลมีคำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์ ั แม้ว่าหนี้นั้น - ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระ - มีเงื่อนไข
  • 17. หนี้ที่ไม่สามารถนำามายื่นขอรับ ชำาระหนี้ได้ • หนี้ที่มิใช่หนี้เงิน • มูลแห่งหนี้เกิดขึ้นตั้งแต่วันทีศาลมีคำา ่ สังพิทักษ์ทรัพย์ (ชั่วคราว/เด็ดขาด) ่ เป็นต้นไป • หนี้ตามมาตรา 94 (1) และ (2) • ค่าเช่าหรือหนี้อย่างอืนซึ่งมีกำาหนด ่ เวลาให้ชำาระหลังวันทีศาลมีคำาสัง ่ ่ พิทักษ์ทรัพย์ (มาตรา 99)
  • 18. ผลของการยื่นคำาขอรับ ชำาระหนี้ คำาสั่งทีศาลอนุญาตให้เจ้าหนี้ได้รับ ่ ชำาระหนีจำานวนเท่าใดนันมิได้ ้ ้ หมายความว่าเจ้าหนีจะได้รับชำาระหนี้ ้ ตามจำานวนดังกล่าว จำานวนหนี้ที่ศาลมี คำาสั่งอนุญาตเป็นเพียงฐานแห่งสิทธิที่ จะนำาไปใช้ในการคำานวณแบ่ง ทรัพย์สน ดังนั้นเจ้าหนี้จะได้รบชำาระ ิ ั หนี้จริงเพียงใดขึ้นอยู่กบทรัพย์สินที่จะ ั
  • 19. ผลของการไม่ยื่นคำาขอ รับชำาระหนี้ • ศาลฎีกามองว่า ลูกหนี้หลุดพ้น ความรับผิดในหนี้ที่ไม่ได้ขอรับ ชำาระหนี้ตามที่กฎหมายกำาหนดไว้ • ความเห็นทางวิชาการ สิทธิของ เจ้าหนี้มีอยู่ตามเดิม เจ้าหนี้จะไป ฟ้องคดีแพ่งก็ย่อมทำาได้ แต่เจ้าหนี้ ที่ไม่ได้ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ไม่มี
  • 20. • แม้เจ้าหนี้ในคดีแพ่งมิได้ยื่นคำาขอ รับชำาระหนี้ แต่ลูกหนี้ซึ่งเป็นจำาเลย ในคดีแพ่งจะขอให้ยกเลิกเพิกถอน หมายบังคับคดีนั้นไม่ได้ • หากในเวลาต่อมาศาลมีคำาสั่งให้ ยกเลิกการล้มละลายของลูกหนี้ ตามมาตรา 135 (1) (2) ลูกหนี้ไม่ หลุดพ้นจากหนี้ที่เจ้าหนี้มิได้ยื่น คำาขอรับชำาระหนี้
  • 21. สิทธิในการได้รับชำาระหนี้ของ เจ้าหนี้มีประกันในคดีล้มละลาย มีทางเลือก 2 ทาง • บังคับชำาระหนี้จากทรัพย์สินอันเป็น หลักประกัน (มาตรา 95) • ยื่นขอรับชำาระหนี้ (มาตรา 96 ประกอบกับ มาตรา 97)
  • 22. เจ้าหนี้มประกันคือใคร ี มาตรา 6 บัญญัติว่า “เจ้าหนี้มี ประกัน หมายความว่า เจ้าหนี้ผู้ มีสทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ ิ ในทางจำานอง จำานำา หรือสิทธิ ยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มี บุริมสิทธิทบังคับได้ทำานอง ี่ เดียวกับผู้รับจำานำา”
  • 23. บังคับชำาระหนี้จากทรัพย์สน ิ อันเป็นหลักประกัน (มาตรา 95) จะบังคับชำาระหนี้ เจ้าหนี้มีประกันที่ประสงค์ จากทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันสามารถทำาได้ ิ 2 วิธีการ คือ 1. ฟ้องลูกหนีเป็นคดีแพ่งเพื่อบังคับแก่ ้ ทรัพย์สนอันเป็นหลักประกัน ิ 2. ขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยึด ทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันออกขายนำาเงินมา ิ ชำาระหนี้ มาตรา 95 มิได้บังคับให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ ทรัพย์ต้องดำาเนินการตามที่เจ้าหนีมีประกันขอ ้ ให้ยึดและขายทรัพย์สนอันเป็นหลักประกันเสมอ ิ
  • 24. เจ้าหนีมีประกันประสงค์ที่จะยื่น ้ ขอรับชำาระหนี้ (มาตรา 96 ประกอบกับ มาตรา ตามมาตรา97) าหนี้มีประกันที่ 96 เจ้ ประสงค์จะทำาการยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ สามารถดำาเนินการตามเงื่อนไขใด เงื่อนไขหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1. มาตรา 96 (1) เจ้าหนี้มีประกันยินยอม สละทรัพย์สินอันเป็นหลักประกัน แล้วยื่น ขอรับชำาระหนี้เต็มจำานวน (เจ้าหนี้มี ประกันเจ้าหนี้ธรรมดา) 2. มาตรา 96 (2) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับคดี
  • 25. • มาตรา 96 (3) เจ้าหนี้ขอให้เจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์ทำาการขายทอดตลาดทรัพย์สิน อันเป็นหลักประกัน หากเงินที่ได้จากการขาย ทอดตลาดไม่เพียงพอชำาระหนี้ เจ้าหนี้ก็ขอรับ ชำาระหนี้ในส่วนที่ยังขาดอยู่ 4. มาตรา 96 (4) เจ้าหนี้ตีราคาทรัพย์สนอันเป็น ิ หลักประกันมาในคำาขอรับชำาระหนี้ ตีราคาสูงเกินไป ไม่มีสวนขาดมาขอรับ ่ ชำาระหนี้ ตีราคาตำ่าเกินไป เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ขอไถ่คืน ทรัพย์สนนั้นได้ ิ สรุป อนุ 1 เปลี่ยนสถานะจากเจ้าหนี้มี
  • 26. เจ้าหนี้มีประกันไม่สามารถดำาเนิน การตามมาตรา 96 อนุ 1, 2, 3 หรือ 4 ได้ หากพบว่า เจ้าหนีไม่มสิทธิได้รับ ้ ี ชำาระหนี้เกินกว่าราคาทรัพย์สินอันเป็น หลักประกัน ตัวอย่างเช่น เจ้าหนี้ จำานอง ตามมาตรา 733 ถ้าเจ้าหนี้มีประกันขอรับชำาระหนี้ โดยไม่แจ้งว่าตนเป็นเจ้าหนีมีประกัน ้ ผลคือ เจ้าหนี้มีประกันผูนั้นจะไม่มี ้ สถานะเป็นเจ้าหนีมีประกัน ต้องทำาการ ้ คืนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันให้แก่
  • 27. การพิจารณาคำาขอรับ ชำาระหนี้ • เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (มาตรา 104) • ศาล (มาตรา 106-108)
  • 28. คำาขอรับชำาระหนี้ ชั้นเจ้าพนักงานพิทักษ์ 1. เมื่อพ้นกำาหนดระยะเวลายื่นคำาขอรับชำาระหนี้ ทรัพย์ ตามมาตรา 91 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้อง ดำาเนินการนัดตรวจคำาขอรับชำาระหนี้ ตามมาตรา 104 แจ้งลูกหนีและเจ้าหนีให้ทราบไม่น้อยกว่า 7 ้ ้ วัน เป็นการเปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบและโต้ แย้งคำาขอรับชำาระหนี้ที่ยื่นเข้ามา 2. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นดสอบสวนคำาขอ ั รับชำาระหนี้ ตามมาตรา 105 เรียกเจ้าหนี้ และผู้โต้แย้ง (ถ้ามี) มาทำาการ สอบสวน เมื่อทำาการสอบสวนเป็นที่เรียบร้อย
  • 29. กระบวนการพิจารณาคำาขอรับ ชำาระหนี้ชั้นศาล • กรณีที่ไม่มีผู้โต้แย้ง (มาตรา 106) ศาลมีอำานาจสั่งให้เจ้าหนี้ได้รับชำาระหนี้ตามคำาขอ รับชำาระหนี้ที่ยื่นมา เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควร ศาลอาจ สั่งเป็นอย่างอืนได้ ่ • กรณีที่มีผโต้แย้ง (มาตรา 107) ู้ คำาขอรับชำาระหนี้ที่มีผโต้แย้ง ศาลสามารถสั่งได้ 3 ู้ ทาง ได้แก่ 1. ยกคำาขอรับชำาระหนี้ 2. อนุญาตให้ได้รับชำาระหนี้เต็มจำานวน 3. อนุญาตให้ได้รับชำาระหนี้บางส่วน ศาลสามารถมีคำาสั่งโดยที่มิต้องออกนั่งพิจารณา ก็ได้ (พิจารณาจากสำานวนการสอบสวนของเจ้า
  • 30. การอุทธรณ์คำาสั่ง • การอุทธรณ์คำาสั่งขอรับชำาระหนี้ ต้องอุทธรณ์ภายใน 1 เดือน นับ แต่วันทีเจ้าหนี้ทราบคำาสั่งของ ่ ศาลล้มละลาย • ลูกหนี้มีสทธิอทธรณ์คำาสังศาล ิ ุ ่ ทีอนุญาตให้เจ้าหนี้ได้รับชำาระ ่ หนี้ได้
  • 31. การขอรับชำาระหนี้ของลูกหนี้ร่วม หรือผู้คำ้าประกัน (มาตรา 101) บุคคลที่มีสทธิขอรับชำาระหนี้ตาม ิ มาตรา 101 คือ ลูกหนี้รวม ผูคำ้า ่ ้ ประกัน ผูคำ้าประกันร่วม หรือบุคคลที่ ้ อยู่ลักษณะอย่างเดียวกัน โดยขอรับ ชำาระหนี้ในจำานวนทีตนอาจใช้สิทธิไล่ ่ เบี้ยได้ในภายหน้า แต่ถ้าเจ้าหนีได้ขอรับชำาระหนี้ไว้ ้ เต็มจำานวนแล้ว ลูกหนี้ร่วม ผูคำ้าประกัน ้
  • 32. การหักกลบลบหนี้ มาตรา 102 หลักเกณฑ์การหักกลบลบหนี้ตามมาตรา 102 1. เจ้าหนีและลูกหนี้ผู้ถูกพิทักษ์ทรัพย์ต่างเป็นหนี้ ้ ซึ่งกันและกันในเวลาที่ศาลมีคำาสังพิทักษ์ ่ ทรัพย์ 2. หนี้ที่ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระก็นำามาหักกลบลบ หนีกันได้ ้ 3. วัตถุแห่งหนีไม่ตรงกันก็นำามาตีราคาเพื่อ ้ ทำาการหักกลบลบหนีได้ ้ 4. แม้เจ้าหนี้จะไม่ได้ยื่นคำาขอรับชำาระหนีในส่วน ้
  • 33. การชำาระหนี้ (การแบ่งทรัพย์สิน) ให้แก่เจ้าหนี้ • ทรัพย์สนที่นำามาแบ่งในคดีล้มละลาย ิ (มาตรา 109) • ลำาดับการชำาระหนี้ (มาตรา 130) • วิธีการชำาระหนี้ ตามหลัก Pari Passu
  • 34. ทรัพย์สินที่นำามาแบ่งในคดีล้ม ละลาย (มาตรา 109) มาตรา 109 ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินใน คดีล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนีได้ ้ (1) ทรัพย์สินทังหลายอันลูกหนี้มีอยู่ในเวลาเริ่มต้นแห่ง ้ การล้มละลายรวมทั้งสิทธิเรียกร้องเหนือทรัพย์สินของบุคคลอื่น เว้นแต่ ก. เครื่องใช้สอยส่วนตัวอันจำาเป็นแก่การดำารงชีพ ซึ่งลูกหนี้ รวมทั้งภริยาและบุตรผูเยาว์ของลูกหนี้ จำาเป็นต้องใช้ตามสมควร ้ แก่ฐานานุรูป และ ข. สัตว์ พืชพันธุ์ เครื่องมือและสิ่งของสำาหรับใช้ในการ ประกอบอาชีพของลูกหนี้ราคารวมกันไม่เกินหนึ่งแสนบาท (2) ทรัพย์สินซึ่งลูกหนี้ได้มาภายหลังเวลาเริ่มต้นแห่ง การล้มละลายจนถึงเวลาปลดจากล้มละลาย (3) สิ่งของซึ่งอยู่ในครอบครองหรืออำานาจสั่งการหรือ
  • 35. ลำาดับการชำาระหนี้ (มาตรา 130) มาตรา 130 ในการแบ่งทรัพย์สินให้แก่เจ้าหนี้นั้น ให้ชำาระค่าใช้จ่ายและหนี้สิน ตามลำาดับดังต่อไปนี้ (1) ค่าใช้จายในการจัดการมรดกของลูกหนี้ ่ (2) ค่าใช้จายของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการจัดการทรัพย์สินของ ่ ลูกหนี้ (3) ค่าปลงศพลูกหนี้ตามสมควรแก่ฐานานุรูป (4) ค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สินตามมาตรา 179 (3) (5) ค่าธรรมเนียมของเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์และค่าทนายความตามทีศาล ่ หรือเจ้าพนักงานพิทกษ์ทรัพย์กำาหนด ั (6) ค่าภาษีอากรทีถึงกำาหนดชำาระภายในหกเดือนก่อนมีคำาสั่งพิทักษ์ ่ ทรัพย์ และเงินทีลูกจ้างมีสิทธิได้รับก่อนมีคำาสั่งพิทกษ์ทรัพย์เพื่อการงานที่ได้ทำาให้ ่ ั ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้างตามมาตรา 257 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และตาม กฎหมายว่าด้วยการคุมครองแรงงาน ้ (7) หนี้อื่น ๆ ถ้ามีเงินไม่พอชำาระเต็มจำานวนหนี้ในลำาดับใดให้เจ้าหนี้ในลำาดับนั้นได้รับเฉลี่ย ตามส่วน
  • 36. ข้อสังเกตบ้างประการ • หนี้ภาษีอากรทีได้ถึงกำาหนด ่ ชำาระเกินกว่า 6 เดือน ก่อนมีคำา สั่งพิทกษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้คงมี ั สิทธิที่จะได้รับชำาระหนี้ตาม มาตรา 130 (7) เท่านั้น (ฎีกา 881/2517) • เจ้าหนี้ตามมาตรา 130 ทวิ คือ
  • 37. วิธีการชำาระหนี้ ตาม หลัก Pari Passu มาตรา 130 วรรค 2 กำาหนดให้ เจ้าหนี้ใน ลำาดับเดียวกันต้องได้ รับชำาระหนี้ใน อัตราส่วนที่เท่ากัน