SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Turing  Machineเครื่องจักรทัวริง จัดทำโดยนางสาววัลย์ลิกา แตงสาขาชั้น ม.4/1 เลขที่ 36
แอลัน ทัวริง (AlanTuring) บิดาแห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์ เสนอบทความเรื่อง "OnComputableNumberswithanapplicationtotheEntscheidungsproblem” เพื่อใช้ในการตีพิมพ์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2479                                                                                                                                                                                                                                                                                             
แอลัน แมททิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ.ศ.2474 ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ.ศ.2491 เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว 11 นาที
หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2479 ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง "OnComputableNumberswithanapplicationtotheEntscheidungsproblem” เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ Church ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ Church ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น "The Founder of Computer Science” หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล "Smith's prize” ด้วย
ต่อมาทัวริง ทำปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัย ปรินซ์ตัน แล้วเสนอความคิด ออกแบบเครื่องจักรทัวริง (UniversalTuringMachine) โดยในยุคนั้น ไม่ได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็น เครื่องคำนวณ ที่สามารถป้อนข้อมูลได้ และเขาได้สร้าง เครื่องเข้ารหัส (ciphermachine) โดยใช้รีเลย์แม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับคูณเลขฐานสอง  ทัวริงทำงาน ให้กับ "BritishCryptanalyticdepartment” รวมทั้ง ทำงานด้าน "ordinallogic” เพราะเชื่อว่า คนสามารถตอบโต้ ต่อเหตุการณ์ได้ โดยไม่ต้องคำนวน ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง เขามีส่วนสำคัญ ในการแกะรหัสลับ ของฝ่ายเยอรมัน โดยเป็นหัวหน้ากลุ่ม Hut 8 เพื่อทำหน้าที่ แกะรหัสเครื่องอีนิกมา (EnigmaCipherMachine) ที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ
หลังสงครามโลก ทัวริงออกแบบ เครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเขียนโปรแกรม ได้เครื่องแรกๆ ของโลก ที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้าง เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริงๆ ที่มหาวิทยาลัย แมนเชสเตอร์ ซึ่งรางวัลทัวริง ถูกตั้งขึ้น เพื่อยกย่องเขา  ในปี พ.ศ.2489 ทัวริงคิดโครงการ เครื่องคำนวณ (computationmachine) ที่สามารถเปลี่ยนได้ ตามใจชอบ จาก numericalwork เป็น algebra เป็น codebreaking เป็น filehandling หรือแม้กระทั่งเกมส์ ปี พ.ศ.2517 ทัวริง เสนอว่าต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ ต้องขยายตัว เป็นชุดคำสั่งย่อยๆ โดยใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ของภาษาโปรแกรม) แต่ไม่ได้รับการสนับสนุน เขาจึงพักงาน ด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำงานด้านเทคโนโลยี แต่เปลี่ยนไปสนใจเรื่อง”neurology” กับ “physiologysciences” และออกบทความเรื่อง "เครือข่ายประสาท"
ต่อมาทีมงานเก่าของทัวริง ที่ย้ายไปอยู่ ที่มหาวิทยาลัย แมนเชสเตอร์ ได้เชิญเขาไปเป็น หัวหน้าภาควิชาใหม่ โดยเน้นงาน ด้านซอฟแวร์ พร้อมกับออกบทความ วิชาการเรื่อง "ComputerMachineandIntelligence" ซึ่งนับว่า เป็นรากฐาน ของแนวคิดพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์ และในปี พ.ศ.2494 ทัวริงออกบทความเรื่อง "TheChemicalBasisofMorphogenesis"  โดยผลงานเด่นๆ ของเขา เช่น การคิดโมเดล ที่สามารถทำงานได้ เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้คำสั่งพื้นฐานง่ายๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง เขียนและลบ รวมทั้งรูปแบบ ที่เป็นทางการคณิตศาสตร์ ของการระบุอัลกอริทึมและการคำนวณ ด้วยเครื่องจักรทัวริง
อ้างอิง http://www.pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=881

More Related Content

Viewers also liked

การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3Wanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Edina Realty Sans Pierre Powerpoint
Edina Realty   Sans Pierre PowerpointEdina Realty   Sans Pierre Powerpoint
Edina Realty Sans Pierre PowerpointBeth Reilly
 
การบ้านคอม 3 แก้ไข
การบ้านคอม 3 แก้ไขการบ้านคอม 3 แก้ไข
การบ้านคอม 3 แก้ไขWanlika Tangsakha
 
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMIS
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMISCARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMIS
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMISGeneris
 
การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3Wanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 

Viewers also liked (10)

Pönkið-Punk Rock
Pönkið-Punk RockPönkið-Punk Rock
Pönkið-Punk Rock
 
การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Edina Realty Sans Pierre Powerpoint
Edina Realty   Sans Pierre PowerpointEdina Realty   Sans Pierre Powerpoint
Edina Realty Sans Pierre Powerpoint
 
การบ้านคอม 3 แก้ไข
การบ้านคอม 3 แก้ไขการบ้านคอม 3 แก้ไข
การบ้านคอม 3 แก้ไข
 
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMIS
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMISCARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMIS
CARA for Documentum, SharePoint and Alfresco using CMIS
 
การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3การบ้านคอม 3
การบ้านคอม 3
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Train the trainer
Train the trainerTrain the trainer
Train the trainer
 

การบ้านคอม 3 แก้ไข

  • 1. Turing Machineเครื่องจักรทัวริง จัดทำโดยนางสาววัลย์ลิกา แตงสาขาชั้น ม.4/1 เลขที่ 36
  • 2. แอลัน ทัวริง (AlanTuring) บิดาแห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์ เสนอบทความเรื่อง "OnComputableNumberswithanapplicationtotheEntscheidungsproblem” เพื่อใช้ในการตีพิมพ์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2479                                                                                                                                                                                                                                                                                            
  • 3. แอลัน แมททิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ.ศ.2474 ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ.ศ.2491 เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว 11 นาที
  • 4. หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2479 ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง "OnComputableNumberswithanapplicationtotheEntscheidungsproblem” เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ Church ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ Church ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น "The Founder of Computer Science” หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล "Smith's prize” ด้วย
  • 5. ต่อมาทัวริง ทำปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัย ปรินซ์ตัน แล้วเสนอความคิด ออกแบบเครื่องจักรทัวริง (UniversalTuringMachine) โดยในยุคนั้น ไม่ได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็น เครื่องคำนวณ ที่สามารถป้อนข้อมูลได้ และเขาได้สร้าง เครื่องเข้ารหัส (ciphermachine) โดยใช้รีเลย์แม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับคูณเลขฐานสอง ทัวริงทำงาน ให้กับ "BritishCryptanalyticdepartment” รวมทั้ง ทำงานด้าน "ordinallogic” เพราะเชื่อว่า คนสามารถตอบโต้ ต่อเหตุการณ์ได้ โดยไม่ต้องคำนวน ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง เขามีส่วนสำคัญ ในการแกะรหัสลับ ของฝ่ายเยอรมัน โดยเป็นหัวหน้ากลุ่ม Hut 8 เพื่อทำหน้าที่ แกะรหัสเครื่องอีนิกมา (EnigmaCipherMachine) ที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ
  • 6. หลังสงครามโลก ทัวริงออกแบบ เครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเขียนโปรแกรม ได้เครื่องแรกๆ ของโลก ที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้าง เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริงๆ ที่มหาวิทยาลัย แมนเชสเตอร์ ซึ่งรางวัลทัวริง ถูกตั้งขึ้น เพื่อยกย่องเขา ในปี พ.ศ.2489 ทัวริงคิดโครงการ เครื่องคำนวณ (computationmachine) ที่สามารถเปลี่ยนได้ ตามใจชอบ จาก numericalwork เป็น algebra เป็น codebreaking เป็น filehandling หรือแม้กระทั่งเกมส์ ปี พ.ศ.2517 ทัวริง เสนอว่าต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ ต้องขยายตัว เป็นชุดคำสั่งย่อยๆ โดยใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ของภาษาโปรแกรม) แต่ไม่ได้รับการสนับสนุน เขาจึงพักงาน ด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำงานด้านเทคโนโลยี แต่เปลี่ยนไปสนใจเรื่อง”neurology” กับ “physiologysciences” และออกบทความเรื่อง "เครือข่ายประสาท"
  • 7. ต่อมาทีมงานเก่าของทัวริง ที่ย้ายไปอยู่ ที่มหาวิทยาลัย แมนเชสเตอร์ ได้เชิญเขาไปเป็น หัวหน้าภาควิชาใหม่ โดยเน้นงาน ด้านซอฟแวร์ พร้อมกับออกบทความ วิชาการเรื่อง "ComputerMachineandIntelligence" ซึ่งนับว่า เป็นรากฐาน ของแนวคิดพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์ และในปี พ.ศ.2494 ทัวริงออกบทความเรื่อง "TheChemicalBasisofMorphogenesis" โดยผลงานเด่นๆ ของเขา เช่น การคิดโมเดล ที่สามารถทำงานได้ เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้คำสั่งพื้นฐานง่ายๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง เขียนและลบ รวมทั้งรูปแบบ ที่เป็นทางการคณิตศาสตร์ ของการระบุอัลกอริทึมและการคำนวณ ด้วยเครื่องจักรทัวริง
  • 8.