SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
ประเพณีไทย
บายศรีสู่ขวัญข้าว
ช่วงเวลา
ประเพณีไทยสู่ขวัญข้าว (ทั่วไป) บุญสู่ขวัญข้าว (หมู่บ้านเนินใหม่
ตาบลโคกกรวด) เรียกขวัญข้าว (หมู่บ้านท่าด่าน) กระทาในวันขึ้น ๓
ค่า เดือน ๓
ความสาคัญ
เพื่อเรียกขวัญพระแม่โพสพที่ตกหล่นตามท้องนาขึ้นสู่ยุ้งฉาง
บูชาพระแม่โพสพ ป้องกันศัตรูพืชและสัตว์ทาลาย
เพื่อให้ได้ผลผลิตมากในปีต่อไป
พิธีกรรม
โดยทั่วไปชาวนาต่างก็ทาพิธีโดยให้เจ้าของนาฝ่ายหญิงนุ่งขาว
ห่มขาวเป็นผู้ทาพิธีตอนเช้าตรู่โดยเตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ ข้าวต้ม เผือก มัน ไข่
ขันธ์ ๕ ขวดน้า แก้วแหวนเงินทอง แป้ง หวี กระจก ผ้าสไบ
(อาจมีเพิ่มเติมหรือแตกต่างตามท้องถิ่น) นาสิ่งของเหล่านี้ห่อด้วยผ้าขาว
ใส่กระบุงหรือบางท้องที่ปิดกระบุงด้วยผ้าขาว นาขอฉายคอนกระบุง
(บางหมู่บ้านใช้ผ้าสีผูกให้สวยงาม) เดินไปตามท้องนา เจตนาของตน
ร้องเรียกแม่โพสพ ใจความคือเชิญแม่โพสพที่ตกหล่นอยู่ให้มาอยู่ในยุ้ง ฉาง
บางหมู่บ้าน เพื่อนบ้านขานรับจนถึงบ้าน นากระบุงไปไว้ในยุ้งข้าว
บางหมู่บ้านมีพราหมณ์ทาพิธีเรียกขวัญเข้ายุ้ง โดยมีการตั้งบายศรี
และเครื่องไหว้ในยุ้ง การสู่ขวัญด้วยสานวนหรือภาษาถิ่นที่แตกต่างกันออกไป
ในปัจจุบันประเพณีสู่ขวัญข้าวยังคงกระทาอยู่ในหมู่บ้านทั้งสี่อาเภอ เช่น
หมู่บ้านหนองโพธิ์ ตาบลศรีนาวา สู่ขวัญข้าวร่วมกันและทาบุญเลี้ยงพระด้วย
สาระ
เพื่อเป็นการบารุงขวัญและความเชื่อของชาวนา
รวมถึงการแสดงความกตัญญูต่อพระแม่โพสพ
เพื่อบันดาลให้ข้าวในปีหน้าได้ผลผลิตดียิ่งขึ้น
ประเพณีไทย

ประเพณีไทย

  • 1. ประเพณีไทย บายศรีสู่ขวัญข้าว ช่วงเวลา ประเพณีไทยสู่ขวัญข้าว (ทั่วไป) บุญสู่ขวัญข้าว (หมู่บ้านเนินใหม่ ตาบลโคกกรวด) เรียกขวัญข้าว (หมู่บ้านท่าด่าน) กระทาในวันขึ้น ๓ ค่า เดือน ๓ ความสาคัญ เพื่อเรียกขวัญพระแม่โพสพที่ตกหล่นตามท้องนาขึ้นสู่ยุ้งฉาง บูชาพระแม่โพสพ ป้องกันศัตรูพืชและสัตว์ทาลาย เพื่อให้ได้ผลผลิตมากในปีต่อไป พิธีกรรม โดยทั่วไปชาวนาต่างก็ทาพิธีโดยให้เจ้าของนาฝ่ายหญิงนุ่งขาว ห่มขาวเป็นผู้ทาพิธีตอนเช้าตรู่โดยเตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ ข้าวต้ม เผือก มัน ไข่
  • 2. ขันธ์ ๕ ขวดน้า แก้วแหวนเงินทอง แป้ง หวี กระจก ผ้าสไบ (อาจมีเพิ่มเติมหรือแตกต่างตามท้องถิ่น) นาสิ่งของเหล่านี้ห่อด้วยผ้าขาว ใส่กระบุงหรือบางท้องที่ปิดกระบุงด้วยผ้าขาว นาขอฉายคอนกระบุง (บางหมู่บ้านใช้ผ้าสีผูกให้สวยงาม) เดินไปตามท้องนา เจตนาของตน ร้องเรียกแม่โพสพ ใจความคือเชิญแม่โพสพที่ตกหล่นอยู่ให้มาอยู่ในยุ้ง ฉาง บางหมู่บ้าน เพื่อนบ้านขานรับจนถึงบ้าน นากระบุงไปไว้ในยุ้งข้าว บางหมู่บ้านมีพราหมณ์ทาพิธีเรียกขวัญเข้ายุ้ง โดยมีการตั้งบายศรี และเครื่องไหว้ในยุ้ง การสู่ขวัญด้วยสานวนหรือภาษาถิ่นที่แตกต่างกันออกไป ในปัจจุบันประเพณีสู่ขวัญข้าวยังคงกระทาอยู่ในหมู่บ้านทั้งสี่อาเภอ เช่น หมู่บ้านหนองโพธิ์ ตาบลศรีนาวา สู่ขวัญข้าวร่วมกันและทาบุญเลี้ยงพระด้วย สาระ เพื่อเป็นการบารุงขวัญและความเชื่อของชาวนา รวมถึงการแสดงความกตัญญูต่อพระแม่โพสพ เพื่อบันดาลให้ข้าวในปีหน้าได้ผลผลิตดียิ่งขึ้น