SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
IT for Warehouse Management
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการคลังสินค้า
Tanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
Warehouse Management
• คลังสินค้า (Warehouse) คือสถานที่สาหรับวาง จัดเก็บ พัก กระจายสินค้าคงคลัง
คลังสินค้ามีชื่อเรียกได้ต่างๆ กัน อาทิ ศูนย์กระจายสินค้า, ศูนย์จาหน่ายสินค้า และโกดัง ฯลฯ
คาว่าคลังสินค้าจึงเป็นคาที่มีความหมายรวมๆ ส่วนจะเรียกว่าอะไร ก็ขึ้นอยู่กับฟังก์ชันของ
คลังสินค้าแต่ละประเภท คลังสินค้าที่รับ สินค้าเข้ามาทาการคัดแยก แล้วกระจายออกไป
เรียกว่า ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) และกระบวนการ ดังกล่าว เรียกว่า
Cross Docking
Warehouse Management
• คลังสินค้า (Warehouse) คือ สถานที่ใช้ในการเก็บรักษาสินค้าให้อยู่ในสภาพและคุณภาพที่พร้อมจะนาส่ง
มอบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามที่ร้องขอ โดยอาจเรียกเป็นชื่ออื่นๆ เช่น
- คลังสินค้า (Warehouse)
- โกดัง (Godown)
- ที่เก็บของ (Storage)
- ที่เก็บสินค้า (Whaft)
- คลังพัสดุ (Depot)
- ฉางเก็บสินค้า (Silo)
- แท็งค์เก็บของเหลว (Liquid Tank)
- คลังทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
โดยไม่ว่าจะเรียกว่าอะไร คลังสินค้าก็จะทาหน้าที่เหมือนกัน คือ เป็นสถานที่เก็บรักษาสินค้าหรือวัตถุดิบหรือสิ่งของ
ต่างๆ เพื่อสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆของกระบวนการ Supply Chain
Warehouse Management
• การจัดการคลังสินค้า(Warehouse Management) เป็นการ
ดาเนินงานต่าง ๆ ภายในคลังสินค้าเริ่มตั้งแต่การรับ จัดเก็บ หยิบสินค้า
จ่ายสินค้าออกจากคลัง เพื่อลดความสูญเสียจากการดาเนินงาน และ
สามารถใช้ประโยชน์พื้นที่คลังสินค้าได้อย่างเต็มที่ภายใต้ต้นทุนการ
ดาเนินงานที่ต่าที่สุด และใช้เวลาสั้นที่สุด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Warehouse Management
• กระบวนการทางานหลักๆ ภายในคลังสินค้า
1. การรับสินค้า (Receiving)
2. การจัดเก็บเข้าชั้น (Put-away)
3. การหยิบสินค้า (Picking)
4. การนับสต็อก (Inventory Count)
5. การจัดทารายงาน (Report)
Warehouse Management
1. การรับสินค้า (Receiving)
ซึ่งการตรวจรับสินค้ากี่ชนิด อะไรบ้าง จานวนเท่าใด สภาพสินค้าเมื่อเทียบ
กับเอกสาร/ข้อมูลจากใบ PO เพื่อรับสินค้าเข้าสู่คลังสินค้า เนื่องจาก
ข้อมูลเหล่านี้มีความแตกต่างและหลากหลาย ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหา
ในเรื่องรับผิดชนิด/ผิดจานวนได้ ดังนั้น การรับข้อมูลรายการสินค้าในการ
ผ่านระบบเทคโนโลยีจาเป็นต้องสร้างระบบฐานข้อมูลที่ทาให้สามารถ
จัดสรรพื้นที่และวางสินค้าในชั้นเก็บของได้ล่วงหน้า หากมีการนาระบบ
Barcode มาใช้ก็สามารถใช้ Barcode ที่มาพร้อมสินค้าหรือจัดทา
ระบบ Barcode ขึ้นเองก็ได้
Warehouse Management
2. การจัดเก็บเข้าชั้น (Put-away)
เก็บที่ไหน ระบุตาแหน่งที่ต้องการจัดเก็บสินค้า บล็อกตาแหน่งจัดเก็บ
สินค้าใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น อัตราการหมุนเวียน ประเภทสินค้า ขนาด
น้าหนัก ฯลฯ การขนสินค้าเข้าสู่ตาแหน่งจัดเก็บ การยืนยันการจัดเก็บ
ตามตาแหน่งที่กาหนด ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหาในเรื่องการจัดเก็บ
ผิดสถานที่ รวมถึงการกาหนดลาดับงานและเส้นทางในการจัดเก็บ
สินค้าที่เหมาะสมด้วย
Warehouse Management
3. การหยิบสินค้า (Picking)
เป็นกิจกรรมที่ใช้เวลามากที่สุด เหมือนกับการเดินหาซื้อของใน
ห้างสรรพสินค้าจะเสียเวลาทั้ง ๆ ที่จดรายการมาจากบ้าน เนื่องจาก
ส่วนใหญ่จะใช้ในการเดินและค้นหา การจัดโหลดการขนส่ง การ
วางแผนการหยิบสินค้า (หยิบที่ไหน หยิบอย่างไร เส้นทาง/วิธีการ)
เกณฑ์ในการหยิบ เช่น FIFO FEFO หยิบสินค้าตามตาแหน่งและ
ปริมาณที่ระบุ ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหาในเรื่องการตรวจเช็คซ้า การ
วางโปรแกรมประมวลผลจากฐานข้อมูล และการเรียงลาดับก่อนหลัง
การหยิบสินค้าตามเงื่อนไขที่กาหนด
Warehouse Management
• 4. การนับสต็อก (Inventory Count
ก่อนการตรวจนับ จะหยุดการรับจ่ายและเคลื่อนไหวสินค้า เคลียร์เอกสารรับจ่าย จัดเก็บสินค้าคงคลัง
ทั้งหมดในสถานที่เก็บ เก็บข้อมูลสต็อกในระบบที่มีก่อนนับเพื่อเปรียบเทียบกับของจริง และเตรียมเอกสาร
นับสต็อก ส่วนการตรวจนับตามรายละเอียดในใบนับสต็อก(ชนิด ปริมาณ ฯลฯ) เปรียบเทียบข้อมูลที่เก็บ
กับที่ได้จากการตรวจนับจริง ซึ่งการตรวจสอบซ้าเบื้องต้น หากพบผลต่าง และขั้นหลังการตรวจนับ ปรับ
ข้อมูลหรือจานวนในระบบให้ตรงกับจานวนจริงที่นับได้ ซึ่งก็ต้องสรุปรายงานปัญหาและวัดความแม่นยา
ในการจัดเก็บสินค้า(Inventory Accuracy)
ดังนั้น หากต้องการวางระบบ จะต้องคานึงถึงการนับสต็อกแบบเดิม ก่อนปรับเปลี่ยนการตรวจ
นับสินค้าภายในช่วงเวลาที่กาหนดโดยอาศัยการประมวลผลจากฐานข้อมูลแบบ Real time หรือ
สามารถตรวจนับในขณะที่กาลังปฏิบัติงาน ซึ่งระบบ Cycle count สามารถเชื่อมต่อกับระบบ
Mobile network ทาให้การตรวจนับสินค้ามีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
Warehouse Management
5. การจัดทารายงาน (Report)
โดยปกติจะมีการจัดทารายงานเก็บรวบรวมข้อมูลอยู่แล้ว แต่หากมีการ
นาระบบดังกล่าวมาใช้จะต้องสามารถตรวจสอบสถานะต่าง ๆ ของ
สินค้าและสินค้าคงคลังแบบเรียลไทม์ ติดตามตรวจสอบผลิตภัณฑ์ และ
ผลของการจัดการคลังสินค้าเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาปรับปรุง
รวมถึงการประมวลผลสรุปข้อมูลเชิงตัวเลข สถิติ และเชิงบรรยาย
Warehouse Management
• วัตถุประสงค์ของการจัดการคลังสินค้า
(Objective of Warehouse Management)
: ลดระยะทางในการปฏิบัติการในการเคลื่อนย้ายให้มากที่สุด
: การใช้พื้นที่และปริมาตรในการจัดเก็บให้เกิดประโยชน์สูงสุด
: สร้างความมั่นใจว่าแรงงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ มีเพียงพอและ
สอดคล้อง กับระดับของธุรกิจที่ได้วางแผนไว้
: สร้าง ความพึงพอใจในการทางานในแต่ละวันแก่ผู้เกี่ยวข้องในการเคลื่อนย้ายสินค้า ทั้ง
การรับเข้าและการจ่ายออก โดยใช้ปริมาณจากการจัดซื้อ และความต้องการในการ จัดส่ง
ให้แก่ลูกค้าเป็นเกณฑ์
: สามารถ วางแผนได้อย่างต่อเนื่อง ควบคุม และรักษาระดับการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้
เกิดการบริการภายใต้ต้นทุนที่เกิดประสิทธิภาพคุ้มค่าในการลงทุนตาม ขนาดธุรกิจที่กาหนด
Warehouse Management
• ประโยชน์ของการจัดการคลังสินค้า (The Benefit of a warehouse)
• : ทาให้ต้นทุนของสินค้าลดลง
• : เป็นการป้องกันการขาดมือของสินค้าที่จะขาย
• : ช่วยลดปัญหาอันจะเกิดขึ้นเนื่องจากการขนส่ง
• : สามารถผลิตได้ในปริมาณเกินกว่าความต้องการตามฤดูกาล
• : ช่วยให้ได้ใช้สินค้านั้นๆ ได้ทันเวลาตามต้องการ
• : ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
• : ช่วยให้การผลิตดาเนินไปได้โดยปกติ
• : ช่วยให้เครดิตแก่อุตสาหกรรมหรือพ่อค้าที่มีทุนน้อย
• : ช่วยให้ราคาสินค้ามีเสถียรภาพ
• : ช่วยเก็บพักสินค้าชั่วคราวที่จะต้องส่งออกไปต่างประเทศอีกต่อหนึ่งในลักษณะของ Re-export
จบ

More Related Content

More from Tanapat Limsaiprom

Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationClinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationTanapat Limsaiprom
 
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameCompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameTanapat Limsaiprom
 
Microsoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatMicrosoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatTanapat Limsaiprom
 
Data science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatData science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Limsaiprom
 
Certificate from Department of Industrial promotion of Thailand
Certificate from Department of Industrial promotion of ThailandCertificate from Department of Industrial promotion of Thailand
Certificate from Department of Industrial promotion of ThailandTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Certificate form Google
Tanapat  Certificate form GoogleTanapat  Certificate form Google
Tanapat Certificate form GoogleTanapat Limsaiprom
 
Tanapat Certificate from Microsoft
Tanapat Certificate from MicrosoftTanapat Certificate from Microsoft
Tanapat Certificate from MicrosoftTanapat Limsaiprom
 
Tanapat limsaiprom certificate microsoft
Tanapat limsaiprom certificate  microsoftTanapat limsaiprom certificate  microsoft
Tanapat limsaiprom certificate microsoftTanapat Limsaiprom
 

More from Tanapat Limsaiprom (20)

Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet TransplantationClinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
Clinical Kidney, Pancreas and Islet Transplantation
 
CompTIA-Security_Plus
CompTIA-Security_PlusCompTIA-Security_Plus
CompTIA-Security_Plus
 
CompTIA-Server_Plus
CompTIA-Server_PlusCompTIA-Server_Plus
CompTIA-Server_Plus
 
Com tia pentest-plus
Com tia pentest-plusCom tia pentest-plus
Com tia pentest-plus
 
ComTIA CASP+
ComTIA  CASP+ComTIA  CASP+
ComTIA CASP+
 
ComTIA CySA+
ComTIA CySA+ComTIA CySA+
ComTIA CySA+
 
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer ProgrameCompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
CompTIA CASP+ Train the Trainer Programe
 
Tanapat DataCamp Certificate
Tanapat DataCamp CertificateTanapat DataCamp Certificate
Tanapat DataCamp Certificate
 
Microsoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - TanapatMicrosoft Certificate - Tanapat
Microsoft Certificate - Tanapat
 
Data science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapatData science certificate - tanapat
Data science certificate - tanapat
 
Tanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator centerTanapat Certificate From MS educator center
Tanapat Certificate From MS educator center
 
Tanapat sap certificate
Tanapat sap certificate Tanapat sap certificate
Tanapat sap certificate
 
Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate Tanapat Data Science Certificate
Tanapat Data Science Certificate
 
Certificate from Department of Industrial promotion of Thailand
Certificate from Department of Industrial promotion of ThailandCertificate from Department of Industrial promotion of Thailand
Certificate from Department of Industrial promotion of Thailand
 
Tanapat Certificate From AWS
Tanapat Certificate From AWSTanapat Certificate From AWS
Tanapat Certificate From AWS
 
Tanapat Certificate form Google
Tanapat  Certificate form GoogleTanapat  Certificate form Google
Tanapat Certificate form Google
 
Tanapat Certificate from Microsoft
Tanapat Certificate from MicrosoftTanapat Certificate from Microsoft
Tanapat Certificate from Microsoft
 
Tanapat SAP Certificate
Tanapat SAP CertificateTanapat SAP Certificate
Tanapat SAP Certificate
 
Tanapat Certificate OpenSap
Tanapat Certificate OpenSapTanapat Certificate OpenSap
Tanapat Certificate OpenSap
 
Tanapat limsaiprom certificate microsoft
Tanapat limsaiprom certificate  microsoftTanapat limsaiprom certificate  microsoft
Tanapat limsaiprom certificate microsoft
 

4 e-warehouse management

  • 1. IT for Warehouse Management เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการคลังสินค้า Tanapat Limsaiprom ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
  • 2. Warehouse Management • คลังสินค้า (Warehouse) คือสถานที่สาหรับวาง จัดเก็บ พัก กระจายสินค้าคงคลัง คลังสินค้ามีชื่อเรียกได้ต่างๆ กัน อาทิ ศูนย์กระจายสินค้า, ศูนย์จาหน่ายสินค้า และโกดัง ฯลฯ คาว่าคลังสินค้าจึงเป็นคาที่มีความหมายรวมๆ ส่วนจะเรียกว่าอะไร ก็ขึ้นอยู่กับฟังก์ชันของ คลังสินค้าแต่ละประเภท คลังสินค้าที่รับ สินค้าเข้ามาทาการคัดแยก แล้วกระจายออกไป เรียกว่า ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) และกระบวนการ ดังกล่าว เรียกว่า Cross Docking
  • 3. Warehouse Management • คลังสินค้า (Warehouse) คือ สถานที่ใช้ในการเก็บรักษาสินค้าให้อยู่ในสภาพและคุณภาพที่พร้อมจะนาส่ง มอบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามที่ร้องขอ โดยอาจเรียกเป็นชื่ออื่นๆ เช่น - คลังสินค้า (Warehouse) - โกดัง (Godown) - ที่เก็บของ (Storage) - ที่เก็บสินค้า (Whaft) - คลังพัสดุ (Depot) - ฉางเก็บสินค้า (Silo) - แท็งค์เก็บของเหลว (Liquid Tank) - คลังทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) โดยไม่ว่าจะเรียกว่าอะไร คลังสินค้าก็จะทาหน้าที่เหมือนกัน คือ เป็นสถานที่เก็บรักษาสินค้าหรือวัตถุดิบหรือสิ่งของ ต่างๆ เพื่อสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆของกระบวนการ Supply Chain
  • 4. Warehouse Management • การจัดการคลังสินค้า(Warehouse Management) เป็นการ ดาเนินงานต่าง ๆ ภายในคลังสินค้าเริ่มตั้งแต่การรับ จัดเก็บ หยิบสินค้า จ่ายสินค้าออกจากคลัง เพื่อลดความสูญเสียจากการดาเนินงาน และ สามารถใช้ประโยชน์พื้นที่คลังสินค้าได้อย่างเต็มที่ภายใต้ต้นทุนการ ดาเนินงานที่ต่าที่สุด และใช้เวลาสั้นที่สุด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 5. Warehouse Management • กระบวนการทางานหลักๆ ภายในคลังสินค้า 1. การรับสินค้า (Receiving) 2. การจัดเก็บเข้าชั้น (Put-away) 3. การหยิบสินค้า (Picking) 4. การนับสต็อก (Inventory Count) 5. การจัดทารายงาน (Report)
  • 6. Warehouse Management 1. การรับสินค้า (Receiving) ซึ่งการตรวจรับสินค้ากี่ชนิด อะไรบ้าง จานวนเท่าใด สภาพสินค้าเมื่อเทียบ กับเอกสาร/ข้อมูลจากใบ PO เพื่อรับสินค้าเข้าสู่คลังสินค้า เนื่องจาก ข้อมูลเหล่านี้มีความแตกต่างและหลากหลาย ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหา ในเรื่องรับผิดชนิด/ผิดจานวนได้ ดังนั้น การรับข้อมูลรายการสินค้าในการ ผ่านระบบเทคโนโลยีจาเป็นต้องสร้างระบบฐานข้อมูลที่ทาให้สามารถ จัดสรรพื้นที่และวางสินค้าในชั้นเก็บของได้ล่วงหน้า หากมีการนาระบบ Barcode มาใช้ก็สามารถใช้ Barcode ที่มาพร้อมสินค้าหรือจัดทา ระบบ Barcode ขึ้นเองก็ได้
  • 7. Warehouse Management 2. การจัดเก็บเข้าชั้น (Put-away) เก็บที่ไหน ระบุตาแหน่งที่ต้องการจัดเก็บสินค้า บล็อกตาแหน่งจัดเก็บ สินค้าใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น อัตราการหมุนเวียน ประเภทสินค้า ขนาด น้าหนัก ฯลฯ การขนสินค้าเข้าสู่ตาแหน่งจัดเก็บ การยืนยันการจัดเก็บ ตามตาแหน่งที่กาหนด ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหาในเรื่องการจัดเก็บ ผิดสถานที่ รวมถึงการกาหนดลาดับงานและเส้นทางในการจัดเก็บ สินค้าที่เหมาะสมด้วย
  • 8. Warehouse Management 3. การหยิบสินค้า (Picking) เป็นกิจกรรมที่ใช้เวลามากที่สุด เหมือนกับการเดินหาซื้อของใน ห้างสรรพสินค้าจะเสียเวลาทั้ง ๆ ที่จดรายการมาจากบ้าน เนื่องจาก ส่วนใหญ่จะใช้ในการเดินและค้นหา การจัดโหลดการขนส่ง การ วางแผนการหยิบสินค้า (หยิบที่ไหน หยิบอย่างไร เส้นทาง/วิธีการ) เกณฑ์ในการหยิบ เช่น FIFO FEFO หยิบสินค้าตามตาแหน่งและ ปริมาณที่ระบุ ที่สาคัญจะต้องแก้ไขปัญหาในเรื่องการตรวจเช็คซ้า การ วางโปรแกรมประมวลผลจากฐานข้อมูล และการเรียงลาดับก่อนหลัง การหยิบสินค้าตามเงื่อนไขที่กาหนด
  • 9. Warehouse Management • 4. การนับสต็อก (Inventory Count ก่อนการตรวจนับ จะหยุดการรับจ่ายและเคลื่อนไหวสินค้า เคลียร์เอกสารรับจ่าย จัดเก็บสินค้าคงคลัง ทั้งหมดในสถานที่เก็บ เก็บข้อมูลสต็อกในระบบที่มีก่อนนับเพื่อเปรียบเทียบกับของจริง และเตรียมเอกสาร นับสต็อก ส่วนการตรวจนับตามรายละเอียดในใบนับสต็อก(ชนิด ปริมาณ ฯลฯ) เปรียบเทียบข้อมูลที่เก็บ กับที่ได้จากการตรวจนับจริง ซึ่งการตรวจสอบซ้าเบื้องต้น หากพบผลต่าง และขั้นหลังการตรวจนับ ปรับ ข้อมูลหรือจานวนในระบบให้ตรงกับจานวนจริงที่นับได้ ซึ่งก็ต้องสรุปรายงานปัญหาและวัดความแม่นยา ในการจัดเก็บสินค้า(Inventory Accuracy) ดังนั้น หากต้องการวางระบบ จะต้องคานึงถึงการนับสต็อกแบบเดิม ก่อนปรับเปลี่ยนการตรวจ นับสินค้าภายในช่วงเวลาที่กาหนดโดยอาศัยการประมวลผลจากฐานข้อมูลแบบ Real time หรือ สามารถตรวจนับในขณะที่กาลังปฏิบัติงาน ซึ่งระบบ Cycle count สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Mobile network ทาให้การตรวจนับสินค้ามีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
  • 10. Warehouse Management 5. การจัดทารายงาน (Report) โดยปกติจะมีการจัดทารายงานเก็บรวบรวมข้อมูลอยู่แล้ว แต่หากมีการ นาระบบดังกล่าวมาใช้จะต้องสามารถตรวจสอบสถานะต่าง ๆ ของ สินค้าและสินค้าคงคลังแบบเรียลไทม์ ติดตามตรวจสอบผลิตภัณฑ์ และ ผลของการจัดการคลังสินค้าเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาปรับปรุง รวมถึงการประมวลผลสรุปข้อมูลเชิงตัวเลข สถิติ และเชิงบรรยาย
  • 11. Warehouse Management • วัตถุประสงค์ของการจัดการคลังสินค้า (Objective of Warehouse Management) : ลดระยะทางในการปฏิบัติการในการเคลื่อนย้ายให้มากที่สุด : การใช้พื้นที่และปริมาตรในการจัดเก็บให้เกิดประโยชน์สูงสุด : สร้างความมั่นใจว่าแรงงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ มีเพียงพอและ สอดคล้อง กับระดับของธุรกิจที่ได้วางแผนไว้ : สร้าง ความพึงพอใจในการทางานในแต่ละวันแก่ผู้เกี่ยวข้องในการเคลื่อนย้ายสินค้า ทั้ง การรับเข้าและการจ่ายออก โดยใช้ปริมาณจากการจัดซื้อ และความต้องการในการ จัดส่ง ให้แก่ลูกค้าเป็นเกณฑ์ : สามารถ วางแผนได้อย่างต่อเนื่อง ควบคุม และรักษาระดับการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้ เกิดการบริการภายใต้ต้นทุนที่เกิดประสิทธิภาพคุ้มค่าในการลงทุนตาม ขนาดธุรกิจที่กาหนด
  • 12. Warehouse Management • ประโยชน์ของการจัดการคลังสินค้า (The Benefit of a warehouse) • : ทาให้ต้นทุนของสินค้าลดลง • : เป็นการป้องกันการขาดมือของสินค้าที่จะขาย • : ช่วยลดปัญหาอันจะเกิดขึ้นเนื่องจากการขนส่ง • : สามารถผลิตได้ในปริมาณเกินกว่าความต้องการตามฤดูกาล • : ช่วยให้ได้ใช้สินค้านั้นๆ ได้ทันเวลาตามต้องการ • : ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค • : ช่วยให้การผลิตดาเนินไปได้โดยปกติ • : ช่วยให้เครดิตแก่อุตสาหกรรมหรือพ่อค้าที่มีทุนน้อย • : ช่วยให้ราคาสินค้ามีเสถียรภาพ • : ช่วยเก็บพักสินค้าชั่วคราวที่จะต้องส่งออกไปต่างประเทศอีกต่อหนึ่งในลักษณะของ Re-export