SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
[INC 281 MULTIDISCIPLINARY WORKSHOP WEEKLY REPORT]                                             March 28, 2012

Name-Surname Kittipong Kitchakan
   Student ID. 53211803
  Group Name KID-WA Company
   Engineering Ple(05), Disk (09), Pete(12), Fond(18),
Team Members Care(21), Wijak(27), Lek(34)

Product Design
               P’ Tong, P’ Gong, P’ Joy, P’Aru
Team Members


Weekly Progress

         สถานีตรวจวัดและแสดงผลสภาพแวดล้ อมแบบไร้ สายโดยใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ (Wireless environment station using
solar energy) โดย มีการตรวจสอบทิศทางลม วัดความเร็ วลม วัดความชื ้นในดิน วัดความชื ้นในอากาศ วัดอุณหภูมิ วัดการระเหย
ของน ้าโดยใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์เก็บไว้ ที่แบตตารี่ 12 โวลต์ แล้ วก็ส่งข้ อมูลที่ได้ โดยใช้ Zigbee ไปให้ คอมพิวเตอร์ ที่สานึกงาน
ในรู ปแบบของ Wireless หลักการของการตรวจสอบทิศทางลม จะใช้ รีดสวิตซ์(Reed Switch) ทังหมด 8 ตัว เพื่อแสดงทิศทังหมด
                                                                                                  ้                         ้
8 ทิศ ในการวัดความเร็ วลมใช้ หลักการ encoder motor เทียบกับหน่วยของเวลา ซึงวัดได้ เป็ น กิโลเมตรต่อชัวโมง ซึงต้ องออกแบบ
                                                                                    ่                         ่    ่
ใบพัดของกังหันให้ ดี เพราะว่าการออกแบบมีส่วนสาคัญมากที่ทาให้ ความเร็ วลมลดลง ควรคิดถึงเรื่ องความฝื ดของ encoder
motor น ้าหนักของใบพัด เป็ นต้ น การวัดความชื ้นในดินใช้ หลักการของ Voltage Divider คือความชื ้นของดินที่แตกต่างกันจะมี
ความต้ านทานที่แตกต่างกัน เช่น ดินที่มีความชื ้นมากจะมีความต้ านทานน้ อยกว่าดินที่มีความชื ้นน้ อย ดังนันเมื่อจ่ายไฟให้ กบดิน
                                                                                                            ้                 ั
แล้ ววัดค่าความต่างศักย์ แล้ วนามาเปรี ยบเทียบกันแล้ วนามาคานวณทางทฤษฏี ก็จะได้ ค่าความชื ้นของดินมาเป็ นเปอร์ เซ็นต์
สาหรับการวัดอุณหภูมิจะออกแบบให้ ทนต่อแดดและฝน และทาสีขาวเพื่อปองกันการดูดแสงแดดของ sensor เพื่อลดความ
                                                                          ้
คลาดเคลื่อนของอุณหภูมิ เช่น ถ้ าใช้ สีดาจะทาให้ sensor ร้ อนกว่าปกติ ส่วนการวัดการระเหยของน ้าจะใช้ การวัดน ้าหนักของน ้า
เป็ นหน่วยกรัม
          ในวันนี ้กระผมได้ รับความรู้ ตางๆมากมาย ทังทฤษฏีและการปฏิบติ ซึงเป็ นแนวทางในการทาโปรเจคต่อไป
                                        ่           ้                    ั ่




                     Figure 1. ZigBee                                         Figure 2. Environment station

Engineering Analysis
Strong Point
   -    ใช้ หลักการทางไฟฟา และฟิ สิกส์มาประยุกต์ใช้ ได้ ดี ช่วยให้ ประหยัดงบประมาณได้ เช่น ใช้ หลักการของ Voltage Divider
                          ้
        ในการทาเซ็นเซอร์ วดความชื ้นในดิน
                            ั
Weak Point
   -    การออกแบบในส่วนของฮาร์ ดแวร์ ค่อนข้ างมีปัญหาเพราะว่าต้ องคานึงถึงหลายๆ ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อค่าที่ต้องการวัด
        เช่น ในส่วนการวัดความเร็ วลม ออกแบบได้ ไม่คอยดีเท่าที่ควร เพราะใช้ โลหะซึงหนักในการทาใบพัดของกังหัน
                                                   ่                             ่


                                               Department of Control System and Instrumentation Engineering
                                                  KING MONGKUT’s UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

More Related Content

More from Killupop Kp (15)

Week 8
Week 8Week 8
Week 8
 
Week 8
Week 8Week 8
Week 8
 
Week 7
Week 7Week 7
Week 7
 
53211820
5321182053211820
53211820
 
Week 6
Week 6Week 6
Week 6
 
Week 5
Week 5Week 5
Week 5
 
Traffic s7 grap
Traffic s7 grapTraffic s7 grap
Traffic s7 grap
 
Week 4
Week 4Week 4
Week 4
 
Week 3
Week 3Week 3
Week 3
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
ความสามารถด้านวิศว
ความสามารถด้านวิศวความสามารถด้านวิศว
ความสามารถด้านวิศว
 

Week 8

  • 1. [INC 281 MULTIDISCIPLINARY WORKSHOP WEEKLY REPORT] March 28, 2012 Name-Surname Kittipong Kitchakan Student ID. 53211803 Group Name KID-WA Company Engineering Ple(05), Disk (09), Pete(12), Fond(18), Team Members Care(21), Wijak(27), Lek(34) Product Design P’ Tong, P’ Gong, P’ Joy, P’Aru Team Members Weekly Progress สถานีตรวจวัดและแสดงผลสภาพแวดล้ อมแบบไร้ สายโดยใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ (Wireless environment station using solar energy) โดย มีการตรวจสอบทิศทางลม วัดความเร็ วลม วัดความชื ้นในดิน วัดความชื ้นในอากาศ วัดอุณหภูมิ วัดการระเหย ของน ้าโดยใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์เก็บไว้ ที่แบตตารี่ 12 โวลต์ แล้ วก็ส่งข้ อมูลที่ได้ โดยใช้ Zigbee ไปให้ คอมพิวเตอร์ ที่สานึกงาน ในรู ปแบบของ Wireless หลักการของการตรวจสอบทิศทางลม จะใช้ รีดสวิตซ์(Reed Switch) ทังหมด 8 ตัว เพื่อแสดงทิศทังหมด ้ ้ 8 ทิศ ในการวัดความเร็ วลมใช้ หลักการ encoder motor เทียบกับหน่วยของเวลา ซึงวัดได้ เป็ น กิโลเมตรต่อชัวโมง ซึงต้ องออกแบบ ่ ่ ่ ใบพัดของกังหันให้ ดี เพราะว่าการออกแบบมีส่วนสาคัญมากที่ทาให้ ความเร็ วลมลดลง ควรคิดถึงเรื่ องความฝื ดของ encoder motor น ้าหนักของใบพัด เป็ นต้ น การวัดความชื ้นในดินใช้ หลักการของ Voltage Divider คือความชื ้นของดินที่แตกต่างกันจะมี ความต้ านทานที่แตกต่างกัน เช่น ดินที่มีความชื ้นมากจะมีความต้ านทานน้ อยกว่าดินที่มีความชื ้นน้ อย ดังนันเมื่อจ่ายไฟให้ กบดิน ้ ั แล้ ววัดค่าความต่างศักย์ แล้ วนามาเปรี ยบเทียบกันแล้ วนามาคานวณทางทฤษฏี ก็จะได้ ค่าความชื ้นของดินมาเป็ นเปอร์ เซ็นต์ สาหรับการวัดอุณหภูมิจะออกแบบให้ ทนต่อแดดและฝน และทาสีขาวเพื่อปองกันการดูดแสงแดดของ sensor เพื่อลดความ ้ คลาดเคลื่อนของอุณหภูมิ เช่น ถ้ าใช้ สีดาจะทาให้ sensor ร้ อนกว่าปกติ ส่วนการวัดการระเหยของน ้าจะใช้ การวัดน ้าหนักของน ้า เป็ นหน่วยกรัม ในวันนี ้กระผมได้ รับความรู้ ตางๆมากมาย ทังทฤษฏีและการปฏิบติ ซึงเป็ นแนวทางในการทาโปรเจคต่อไป ่ ้ ั ่ Figure 1. ZigBee Figure 2. Environment station Engineering Analysis Strong Point - ใช้ หลักการทางไฟฟา และฟิ สิกส์มาประยุกต์ใช้ ได้ ดี ช่วยให้ ประหยัดงบประมาณได้ เช่น ใช้ หลักการของ Voltage Divider ้ ในการทาเซ็นเซอร์ วดความชื ้นในดิน ั Weak Point - การออกแบบในส่วนของฮาร์ ดแวร์ ค่อนข้ างมีปัญหาเพราะว่าต้ องคานึงถึงหลายๆ ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อค่าที่ต้องการวัด เช่น ในส่วนการวัดความเร็ วลม ออกแบบได้ ไม่คอยดีเท่าที่ควร เพราะใช้ โลหะซึงหนักในการทาใบพัดของกังหัน ่ ่ Department of Control System and Instrumentation Engineering KING MONGKUT’s UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI