SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เสนอ
มิส.เขมจิรา ปลงไสว
จัดทาโดย
นางสาว หนึ่งฤทัย สีดี
ชั้น ม. 6/4 เลขที่ 31
บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภท
เดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ.1980บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพาน
เชื่อมระหว่างสองเครือข่ายการติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย(Broadcasting)ดังนั้นจึงกระจายได้เฉพาะเครือข่าย
เดียวกันเท่านั้นการรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกาหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่ายบริดจ์จะ
นาข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูลระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีก
เครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น
อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้ง
เครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)
บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments)เข้าด้วยกันทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LANออกไปได้เรื่อยๆโดยที่
ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลงมากนักเนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่านไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์
อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layerจึงทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
บริดจ์ (Bridge)
เราเตอร์ (Router)
เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทาหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ
เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ
Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้
เราเตอร์ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทาการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ
packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์
เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทาตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทาให้เราเตอร์สามารถ
ทางานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะ
ให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างบริดจ์กับเราเตอร์คือ เราเตอร์มีการทางานที่สูงกว่าคือ ในระดับชั้นที่ 3 ของ โมเดล OSI นั่นคือคือ Network
Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซึ่งเป็นที่อยู่ซึ่งตั้งโดยซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้แต่ละเครื่องจะตั้งขึ้นให้
โปรโตคอลในระดับ Network Layer รู้จัก
เราเตอร์ (Router)
ฮับ (HUB)
ฮับเป็นอุปกรณ์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดในระบบเครือข่ายที่ใช้โทโปโลยีแบบดาว ใน ความเป็นจริงจะ ใช้ฮับอย่างแพร่หลายในระบบ
เครือข่าย 2 ประเภท คือ 10BaseT Ethernet และ Token Ring ซึ่งในระบบ เครือข่ายแต่ละประเภท ฮับ จะเป็นศูนย์กลาง
การเชื่อมต่อโหนดต่างๆ และทาให้โหนดเหล่านี้สามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ โดย ทาการติดตั้งฮับไว้ที่ศูนย์กลางของโทโปโลยีแบบ
ดาว โหนดแต่ละ โหนดที่เข้า มามี ส่วนร่วมในระบบเครือข่ายจะเชื่อมต่อผ่านฮับ และจะสื่อสารกันโดยส่งข้อมูลข่าวสารผ่านฮับ เมื่อ
มอง จากภาย นอกฮับจะมีจุดเชื่อมต่อที่เรียกว่า พอร์ต (port) ไว้จานวนหนึ่ง สาหรับให้โหนด หรือ อุปกรณ์ระบบเครือข่ายอื่น
เชื่อมต่อเข้ามา เมื่อข้อมูลถูกส่งมา จากโหนด ต่างๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับ ข้อมูลนั้นๆ จะถูกทาสาเนาไปยังพอร์ตต่างๆ เพื่อให้แน่ใจ
ว่าฮับจะสามารถส่งกระจาย ข้อมูลไปยังโหนด ทุกตัวได้ นอกจากนี้ฮับยังมีอยู่หลายประเภท คือ Intelligent Hub ,
Standalone Hub ,Modular Hub
ฮับ (HUB)

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์bombay54
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ InternetChannrong Sompronpailin
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ton16945
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นkvc10513
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทChalermkiat Aum
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10niramon_gam
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตkiss_jib
 

What's hot (18)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
What is internet
What is internetWhat is internet
What is internet
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
5630504218
56305042185630504218
5630504218
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internet
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
2
22
2
 

Similar to อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_

ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1Rang Keerati
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rang Keerati
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1Rang Keerati
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Poii Zeist
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic networkkruniid
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Jean Jeerattikul
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Berlilng Cherbet
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ptwnice01
 

Similar to อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (20)

ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic network
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from Jamnisa Nymph

ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตJamnisa Nymph
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)Jamnisa Nymph
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตJamnisa Nymph
 
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1Jamnisa Nymph
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Jamnisa Nymph
 
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Jamnisa Nymph
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_Jamnisa Nymph
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_Jamnisa Nymph
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Jamnisa Nymph
 
วรรณพร เล็กมั่นคง
วรรณพร เล็กมั่นคงวรรณพร เล็กมั่นคง
วรรณพร เล็กมั่นคงJamnisa Nymph
 
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29Jamnisa Nymph
 
วลัยพร กุลบุญญา
วลัยพร กุลบุญญา วลัยพร กุลบุญญา
วลัยพร กุลบุญญา Jamnisa Nymph
 

More from Jamnisa Nymph (20)

ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต (isp)
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_ (1)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)
อ ปกรณ เช__อมต_อคอมพ_วเตอร_ (1)
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
 
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
อ ปกรณ พ__นฐานคอมพ_วเตอร_
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
My slide
My slide My slide
My slide
 
วรรณพร เล็กมั่นคง
วรรณพร เล็กมั่นคงวรรณพร เล็กมั่นคง
วรรณพร เล็กมั่นคง
 
My slide
My slideMy slide
My slide
 
My slide
My slideMy slide
My slide
 
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29
นางสาว ภูษณิศา นิลรอด ม6 4 เลขที่29
 
วลัยพร กุลบุญญา
วลัยพร กุลบุญญา วลัยพร กุลบุญญา
วลัยพร กุลบุญญา
 

อ ปกรณ เคร_อข_ายคอมพ_วเตอร_

  • 2. บริดจ์ (Bridge) บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับเครือข่ายประเภท เดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ.1980บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพาน เชื่อมระหว่างสองเครือข่ายการติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย(Broadcasting)ดังนั้นจึงกระจายได้เฉพาะเครือข่าย เดียวกันเท่านั้นการรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกาหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่ายบริดจ์จะ นาข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูลระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีก เครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้ง เครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router) บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments)เข้าด้วยกันทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LANออกไปได้เรื่อยๆโดยที่ ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลงมากนักเนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่านไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์ อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layerจึงทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
  • 4. เราเตอร์ (Router) เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทาหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้ เราเตอร์ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหนึ่งใน LAN ซึ่งจะทาการรับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไปจากเดิม เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่น ๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นเราจึงอาจใช้เราเตอร์ เพื่อเชื่อมต่อ LAN หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกันได้ด้วย และจากการที่มันทาตัวเสมือนเป็นโหนด ๆ หนึ่งใน LAN ทาให้เราเตอร์สามารถ ทางานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลต่อ หรือตรวจสอบว่าข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะ ให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างบริดจ์กับเราเตอร์คือ เราเตอร์มีการทางานที่สูงกว่าคือ ในระดับชั้นที่ 3 ของ โมเดล OSI นั่นคือคือ Network Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซึ่งเป็นที่อยู่ซึ่งตั้งโดยซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้แต่ละเครื่องจะตั้งขึ้นให้ โปรโตคอลในระดับ Network Layer รู้จัก
  • 6. ฮับ (HUB) ฮับเป็นอุปกรณ์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดในระบบเครือข่ายที่ใช้โทโปโลยีแบบดาว ใน ความเป็นจริงจะ ใช้ฮับอย่างแพร่หลายในระบบ เครือข่าย 2 ประเภท คือ 10BaseT Ethernet และ Token Ring ซึ่งในระบบ เครือข่ายแต่ละประเภท ฮับ จะเป็นศูนย์กลาง การเชื่อมต่อโหนดต่างๆ และทาให้โหนดเหล่านี้สามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ โดย ทาการติดตั้งฮับไว้ที่ศูนย์กลางของโทโปโลยีแบบ ดาว โหนดแต่ละ โหนดที่เข้า มามี ส่วนร่วมในระบบเครือข่ายจะเชื่อมต่อผ่านฮับ และจะสื่อสารกันโดยส่งข้อมูลข่าวสารผ่านฮับ เมื่อ มอง จากภาย นอกฮับจะมีจุดเชื่อมต่อที่เรียกว่า พอร์ต (port) ไว้จานวนหนึ่ง สาหรับให้โหนด หรือ อุปกรณ์ระบบเครือข่ายอื่น เชื่อมต่อเข้ามา เมื่อข้อมูลถูกส่งมา จากโหนด ต่างๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับ ข้อมูลนั้นๆ จะถูกทาสาเนาไปยังพอร์ตต่างๆ เพื่อให้แน่ใจ ว่าฮับจะสามารถส่งกระจาย ข้อมูลไปยังโหนด ทุกตัวได้ นอกจากนี้ฮับยังมีอยู่หลายประเภท คือ Intelligent Hub , Standalone Hub ,Modular Hub