SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
21

พระราชบัญ ญัต ิ
วิธ ีป ฏิบ ัต ิร าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
ภูม ิพ ลอดุล ยเดช ป.ร.
ให้ไ ว้ ณ วัน ที่ ๒๗ กัน ยายน พ.ศ. ๒๕๓๙
เป็น ปีท ี่ ๕๑ ในรัช กาลปัจ จุบ ัน
พระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหาภู มิ พลอดุ ลยเดช มี พระบรม
ราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้
โดยคำาแนะนำาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙”
มาตรา ๒* พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนดหนึ่ง
ร้อยแปดสิบวันนับแต่วนถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ั
เป็นต้นไป
* รก.๒๕๓๙/๖๐ก/๑/๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๙

มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ
ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีที่
กฎหมายใดกำาหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว้โดย
เฉพาะและมีหลักเกณฑ์ ที่ประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานใน
การปฏิบัติราชการไม่ตำ่ากว่าหลักเกณฑ์ที่กำาหนดในพระราชบัญญัตินี้
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับขั้นตอนและระยะเวลา
อุทธรณ์หรือโต้แย้งที่กำาหนดในกฎหมาย
มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่
(๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
(๒) องค์กรที่ใช้อำานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
22
(๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทาง
นโยบายโดยตรง
(๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำาเนินงานของ
เจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวาง
ทรัพย์
(๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตาม
กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
(๖) การดำาเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
(๗) การดำาเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจ้าหน้าที่ซึ่ง
ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้องกันและรักษาความ
มันคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทังภายนอกและภายในประเทศ
่
้
(๘) การดำาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(๙) การดำาเนินกิจการขององค์การทางศาสนา
การยกเว้นไม่ให้นำาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้
บังคับแก่การดำาเนินกิจการใดหรือกับหน่วยงานใดนอกจากที่กำาหนด
ไว้ในวรรคหนึ่ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาตามข้อเสนอของคณะ
กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความว่า การเตรียมการ
และการดำาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำาสั่งทางปกครองหรือ
กฎ และรวมถึงการดำาเนินการใดๆ ในทางปกครองตามพระราช
บัญญัตินี้
“การพิจารณาทางปกครอง” หมายความว่า การเตรียมการและ
การดำาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำาสั่งทางปกครอง
“คำาสั่งทางปกครอง” หมายความว่า
(๑) การใช้อำานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการ
สร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน
สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของ
บุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การ
อนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจด
ทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ
(๒) การอื่นที่กำาหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ
กระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มี
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
23
ผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือ
บุคคลใดเป็นการเฉพาะ
“คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” หมายความว่า คณะ
กรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณา
สำาหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล
ซึ่งใช้อำานาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำานาจทางปกครองของรัฐในการ
ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้น
ในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม
“คู่กรณี” หมายความว่า ผู้ยื่นคำาขอหรือผู้คัดค้านคำาขอ ผู้อยู่ใน
บังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคำาสั่งทางปกครอง และผู้ซึ่งได้เข้ามาใน
กระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผู้นั้นจะถูก
กระทบกระเทือนจากผลของคำาสั่งทางปกครอง
มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรกษาการตามพระราชบัญญัตนี้
ั
ิ
และให้มอำานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระ
ี
ราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แล้ว ให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
คณะกรรมการวิธ ีป ฏิบ ต ิร าชการทางปกครอง
ั
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะ
กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบด้วยประธาน
กรรมการคนหนึ่ง ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่าห้า
คนแต่ไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ
ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตังประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรง
้
คุณวุฒิ โดยแต่งตังจากผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์
้
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหารราชการ
แผ่นดิน แต่ผู้นั้นต้องไม่เป็นผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมือง
ให้เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้งข้าราชการของ
สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
24
มาตรา ๘ ให้กรรมการซึงคณะรัฐมนตรีแต่งตังมีวาระดำารง
่
้
ตำาแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำาแหน่งอาจได้รับแต่งตัง
้
อีกได้
ในกรณีทกรรมการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระ แต่ยงมิได้แต่งตัง
ี่
ั
้
กรรมการใหม่ ให้กรรมการนันปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้
้
แต่งตังกรรมการใหม่
้
มาตรา ๙ นอกจากการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระตามมาตรา
๘ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตังพ้นจากตำาแหน่งเมื่อคณะรัฐมนตรี
้
มีมติให้ออกหรือเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดตามมาตรา ๗๖
มาตรา ๑๐ ให้สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทำาหน้าที่เป็น
สำานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาข้อมูลและกิจการต่างๆ
ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมี
อำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) สอดส่องดูแลและให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการดำาเนินงานของ
เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ให้คำาปรึกษาแก่เจ้าหน้าทีเกียวกับการปฏิบตตามพระราช
่ ่
ั ิ
บัญญัตนี้ ตามทีบคคลดังกล่าว ร้องขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะ
ิ
่ ุ
กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำาหนด
(๓) มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือ
แสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้
(๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎ
กระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้
(๕) จัดทำารายงานเกียวกับการปฏิบตตามพระราชบัญญัตนเสนอ
่
ั ิ
ิ ี้
คณะรัฐมนตรีเป็นครังคราว ตามความเหมาะสมแต่อย่างน้อยปีละหนึ่ง
้
ครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครอง ให้เป็นไป
โดยมีความเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(๖) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
หมวด ๒
คำา สั่ง ทางปกครอง
ส่ว นที่ ๑
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
25
เจ้า หน้า ที่
มาตรา ๑๒ คำาสั่งทางปกครองจะต้องกระทำาโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมี
อำานาจหน้าที่ในเรื่องนั้น
มาตรา ๑๓ เจ้าหน้าที่ดังต่อไปนี้จะทำาการพิจารณาทางปกครอง
ไม่ได้
(๑) เป็นคู่กรณีเอง
(๒) เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
(๓) เป็นญาติของคู่กรณี คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่า
ชันใดๆ หรือเป็นพี่น้องหรือลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภายในสามชั้น
้
หรือเป็นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น
(๔) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้
แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี
(๕) เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี
(๖) กรณีอื่นตามที่กำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๔ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้านว่าเจ้า
หน้าที่ผู้ใดเป็นบุคคลตามมาตรา ๑๓ ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นหยุดการ
พิจารณาเรื่องไว้ก่อน และแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้น
หนึงทราบ เพื่อที่ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวจะได้มีคำาสั่งต่อไป
่
การยื่ นคำาคัดค้ าน การพิจารณาคำาคัดค้าน และการสั่ งให้เจ้ า
หน้าที่ อื่ นเข้าปฏิบัติหน้าที่ แทนผู้ที่ถูกคัดค้านให้เป็นไปตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๕ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้านว่า
กรรมการในคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมี
ลักษณะดังกล่าว ให้ประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อ
พิจารณาเหตุคัดค้านนั้น ในการประชุมดังกล่าวกรรมการผู้ถูกคัดค้าน
เมื่อได้ชแจงข้อเท็จจริงและตอบข้อซักถามแล้วต้องออกจากที่ประชุม
ี้
ถ้าคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผู้
ถูกคัดค้านในระหว่างที่กรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม
ให้ถือว่าคณะกรรมการคณะนั้นประกอบด้วยกรรมการทุกคนที่ไม่ถูก
คัดค้าน
ถ้าที่ประชุมมีมติให้กรรมการผู้ถูกคัดค้านปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการที่ไม่ถูกคัดค้าน
ก็ให้กรรมการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ มติดังกล่าวให้กระทำาโดยวิธี
ลงคะแนนลับและให้เป็นที่สุด
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
26
การยื่นคำาคัดค้านและการพิจารณาคำาคัดค้านให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๖ ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา
๑๓ เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำานาจ
พิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจทำาให้การพิจารณา
ทางปกครองไม่เป็นกลาง เจ้าหน้าที่หรือกรรมการผู้นั้นจะทำาการ
พิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ได้
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้ดำาเนินการดังนี้
(๑) ถ้าผู้นั้นเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้นั้นหยุดการ
พิจารณาเรื่องไว้ก่อนและแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่ง
หรือประธานกรรมการทราบ แล้วแต่กรณี
(๒) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านว่าผู้นั้นมีเหตุดังกล่าว หากผู้นั้นเห็นว่า
ตนไม่มีเหตุตามที่คัดค้านนั้น ผู้นั้น จะทำาการพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้
แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธาน
กรรมการทราบ แล้วแต่กรณี
(๓) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือคณะกรรมการที่มีอำานาจ
พิจารณาทางปกครอง ซึ่งผู้นั้นเป็นกรรมการอยู่มีคำาสั่งหรือมีมติโดยไม่
ชักช้า แล้วแต่กรณีว่าผู้นั้นมีอำานาจในการพิจารณาทางปกครองใน
เรื่องนันหรือไม่
้
ให้นำาบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรค
สอง วรรคสาม และวรรคสี่มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๑๗
การกระทำาใดๆ ของเจ้าหน้าที่หรือกรรมการ
ในคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองที่ได้กระทำาไปก่อน
หยุดการพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ย่อมไม่เสียไป เว้น
แต่เจ้าหน้าที่ผู้เข้าปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ถูกคัดค้านหรือคณะกรรมการที่มี
อำานาจพิจารณาทางปกครอง แล้วแต่กรณีจะเห็นสมควรดำาเนินการ
ส่วนหนึ่งส่วนใดเสียใหม่ก็ได้
มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไม่ให้นำามาใช้
บังคับกับกรณีที่มีความจำาเป็นเร่งด่วน หากปล่อยให้ล่าช้าไปจะเสีย
หายต่อประโยชน์สาธารณะหรือสิทธิของบุคคลจะเสียหายโดยไม่มี
ทางแก้ไขได้ หรือไม่มีเจ้าหน้าที่อื่นปฏิบัติหน้าที่แทนผู้นั้นได้
มาตรา ๑๙ถ้าปรากฏภายหลังว่าเจ้าหน้าที่หรือกรรมการใน
คณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือมี
ลักษณะต้องห้ามหรือการแต่งตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมาย อันเป็นเหตุให้ผู้
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
27
นันต้องพ้นจากตำาแหน่งการพ้นจากตำาแหน่งเช่นว่านี้ไม่กระทบ
้
กระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอำานาจหน้าที่
มาตรา ๒๐ ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา
๑๔ และมาตรา ๑๖ ให้หมายความรวมถึง ผู้ซึ่งกฎหมายกำาหนดให้มี
อำานาจกำากับหรือควบคุมดูแลสำาหรับกรณีของเจ้าหน้าที่ที่ไม่มีผู้บังคับ
บัญชาโดยตรง และนายกรัฐมนตรีสำาหรับกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นเป็น
รัฐมนตรี
ส่ว นที่ ๒
คูก รณี
่
มาตรา ๒๑ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเป็นคู่
กรณีในการพิจารณาทางปกครองได้ตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูก
กระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้
มาตรา ๒๒ผู้มีความสามารถกระทำาการในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครองได้จะต้องเป็น
(๑) ผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ
(๒) ผู้ซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำาหนดให้มีความสามารถกระทำา
การในเรื่องที่กำาหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความ
สามารถถูกจำากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผู้แทนหรือ
ตัวแทนแล้วแต่กรณี
(๔) ผู้ซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรี
มอบหมายในราชกิจจานุเบกษากำาหนดให้มีความสามารถกระทำาการ
ในเรื่องที่กำาหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความสามารถ
ถูกจำากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๒๓ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณีต้องมาปรากฏ
ตัวต่อหน้าเจ้าหน้าที่ คู่กรณีมีสิทธินำาทนายความหรือที่ปรึกษาของตน
เข้ามาในการพิจารณาทางปกครองได้
การใดที่ทนายความหรือที่ปรึกษาได้ทำาลงต่อหน้าคู่กรณีให้
ถือว่าเป็นการกระทำาของคู่กรณี เว้นแต่คู่กรณีจะได้คัดค้านเสียแต่ใน
ขณะนัน
้
มาตรา ๒๔คู่กรณีอาจมีหนังสือแต่งตังให้บุคคลหนึ่งบุคคลใด
้
ซึ่งบรรลุนิติภาวะกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กำาหนดแทนตน
ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใดๆ ได้ ในการนี้เจ้าหน้าที่จะ
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
28
ดำำเนินกระบวนพิจำรณำทำงปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพำะเมื่อเป็น
เรื่องที่ผู้นั้นมีหน้ำที่โดยตรงที่จะต้องทำำกำรนั้นด้วยตนเองและต้องแจ้ง
ให้ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนทรำบด้วย
หำกปรำกฏว่ำผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนผู้ใดไม่
ทรำบข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอหรือมีเหตุไม่ควรไว้วำงใจใน
ควำมสำมำรถของบุคคลดังกล่ำวให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้คู่กรณีทรำบโดย
ไม่ชักช้ำ
กำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนไม่ถือว่ำสิ้นสุดลงเพรำะควำม
ตำยของคู่กรณีหรือกำรที่ควำมสำมำรถหรือควำมเป็นผู้แทนของคู่
กรณีเปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ผู้สืบสิทธิตำมกฎหมำยของคู่กรณีหรือคู่
กรณีจะถอนกำรแต่งตั้งดังกล่ำว
มำตรำ ๒๕ในกรณีที่มีกำรยื่นคำำขอโดยมีผู้ลงชื่อร่วมกันเกิน
ห้ำสิบคนหรือมีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำำขอที่มีข้อควำมอย่ำงเดียวกัน
หรือทำำนองเดียวกัน ถ้ำในคำำขอมีกำรระบุให้บุคคลใดเป็นตัวแทนของ
บุคคลดังกล่ำวหรือมีข้อควำมเป็นปริยำยให้เข้ำใจได้เช่นนั้น ให้ถือว่ำ
ผู้ที่ถูกระบุชื่อดังกล่ำวเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณีเหล่ำนั้น
ในกรณีที่มีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำำขอให้มีคำำสั่งทำงปกครอง
ในเรื่องเดียวกัน โดยไม่มีกำรกำำหนดให้บุคคลใดเป็นตัวแทนร่วมของ
ตนตำมวรรคหนึ่ง ให้เจ้ำหน้ำที่ในเรื่องนั้นแต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณีฝ่ำย
ข้ำงมำกเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่ำว ในกรณีนี้ให้นำำ
มำตรำ ๒๔ วรรคสอง และวรรคสำม มำใช้บังคับโดยอนุโลม
ตัวแทนร่วมตำมวรรคหนึ่งหรือวรรคสองต้องเป็นบุคคลธรรมดำ
คู่กรณีจะบอกเลิกกำรให้ตัวแทนร่วมดำำเนินกำรแทนตนเมื่อใด
ก็ได้แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ทรำบและดำำเนินกำรใดๆ ใน
กระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองต่อไปด้วยตนเอง
ตัวแทนร่วมจะบอกเลิกกำรเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องมี
หนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ทรำบกับต้องแจ้งให้คู่กรณีทุกรำยทรำบด้วย
ส่ว นที่ ๓
กำรพิจ ำรณำ
มำตรำ ๒๖ เอกสำรที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ให้จัดทำำเป็นภำษำไทย
ถ้ำเป็นเอกสำรที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำำคำำแปล
เป็นภำษำไทยที่มีกำรรับรองควำมถูกต้องมำให้ภำยในระยะเวลำที่เจ้ำ
หน้ำที่กำำหนด ในกรณีนี้ให้ถือว่ำเอกสำรดังกล่ำวได้ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
29
ในวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับคำำแปลนั้น เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่จะยอมรับเอกสำร
ที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ และในกรณีนี้ให้ถือว่ำวันที่ได้ยื่น
เอกสำรฉบับที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศเป็นวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับ
เอกสำรดังกล่ำว
กำรรับรองควำมถูกต้องของคำำแปลเป็นภำษำไทยหรือกำร
ยอมรับเอกสำรที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้เป็นไปตำมหลัก
เกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดในกฎกระทรวง
มำตรำ ๒๗
ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งสิทธิและหน้ำที่ใน
กระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองให้คู่กรณีทรำบตำมควำมจำำเป็นแก่
กรณี
ถ้ำคำำขอหรือคำำแถลงมีข้อบกพร่องหรือมีข้อควำมที่อ่ำนไม่
เข้ำใจหรือผิดหลงอันเห็นได้ชัดว่ำเกิดจำกควำมไม่รู้หรือควำมเลินเล่อ
ของคู่กรณี ให้เจ้ำหน้ำที่แนะนำำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
มำตรำ ๒๘ในกำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่อำจตรวจ
สอบข้อเท็จจริงได้ตำมควำมเหมำะสมในเรื่องนั้นๆ โดยไม่ต้องผูกพัน
อยู่กับคำำขอหรือพยำนหลักฐำนของคู่กรณี
มำตรำ ๒๙
เจ้ำหน้ำทีตองพิจำรณำพยำนหลักฐำนทีตนเห็น
่ ้
่
ว่ำจำำเป็นแก่กำรพิสจน์ขอเท็จจริง ในกำรนี้ให้รวมถึงกำรดำำเนินกำรดัง
ู
้
ต่อไปนี้
(๑) แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง
(๒) รับฟังพยำนหลักฐำน คำำชี้แจง หรือควำมเห็นของคู่กรณี
หรือของพยำนบุคคลหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่คู่กรณีกล่ำวอ้ำง เว้นแต่
เจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำเป็นกำรกล่ำวอ้ำงที่ไม่จำำเป็นฟุ่มเฟือยหรือเพื่อประวิง
เวลำ
(๓) ขอข้อเท็จจริงหรือควำมเห็นจำกคู่กรณี พยำนบุคคล หรือ
พยำนผู้เชี่ยวชำญ
(๔) ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
(๕) ออกไปตรวจสถำนที่
คูกรณีตองให้ควำมร่วมมือกับเจ้ำหน้ำทีในกำรพิสจน์ขอเท็จจริง
่
้
่
ู
้
และมีหน้ำทีแจ้งพยำนหลักฐำน ที่ตนทรำบแก่เจ้ำหน้ำที่
่
พยำนหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่เจ้ำหน้ำที่เรียกมำให้ถ้อยคำำหรือ
ทำำควำมเห็นมีสิทธิได้รับค่ำป่วยกำรตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่
กำำหนดในกฎกระทรวง
มำตรำ ๓๐ ในกรณีที่คำำสั่งทำงปกครองอำจกระทบถึงสิทธิของ
คู่กรณี เจ้ำหน้ำที่ต้องให้คกรณีมโอกำสทีจะได้ทรำบข้อเท็จจริงอย่ำง
ู่
ี
่
เพียงพอและมีโอกำสได้โต้แย้งและแสดงพยำนหลักฐำนของตน
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
30
ควำมในวรรคหนึ่งมิให้นำำมำใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ เว้น
แต่เจ้ำหน้ำที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเป็นอย่ำงอื่น
(๑) เมื่อมีควำมจำำเป็นรีบด่วนหำกปล่อยให้เนิ่นช้ำไปจะก่อให้
เกิดควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือจะกระทบต่อ
ประโยชน์สำธำรณะ
(๒) เมื่อจะมีผลทำำให้ระยะเวลำที่กฎหมำยหรือกฎกำำหนดไว้ใน
กำรทำำคำำสั่งทำงปกครองต้องล่ำช้ำออกไป
(๓) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคำำขอ คำำ
ให้กำรหรือคำำแถลง
(๔) เมื่อโดยสภำพเห็นได้ชัดในตัวว่ำกำรให้โอกำสดังกล่ำวไม่
อำจกระทำำได้
(๕) เมื่อเป็นมำตรกำรบังคับทำงปกครอง
(๖) กรณีอื่นตำมที่กำำหนดในกฎกระทรวง
ห้ำมมิให้เจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสตำมวรรคหนึ่ง ถ้ำจะก่อให้เกิดผล
เสียหำยอย่ำงร้ำยแรงต่อประโยชน์สำธำรณะ
มำตรำ ๓๑ คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำำเป็นต้องรู้เพื่อ
กำรโต้แย้งหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ แต่ถ้ำยังไม่ได้ทำำคำำ
สั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรอัน
เป็นต้นร่ำงคำำวินิจฉัย
กำรตรวจดูเอกสำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจดูเอกสำร หรือกำร
จัดทำำสำำเนำเอกสำรให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดใน
กฎกระทรวง
มำตรำ ๓๒เจ้ำหน้ำที่อำจไม่อนุญำตให้ตรวจดูเอกสำรหรือ
พยำนหลักฐำนได้ ถ้ำเป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับ
มำตรำ ๓๓เพื่อประโยชน์ในกำรอำำนวยควำมสะดวกแก่
ประชำชน ควำมประหยัดและควำมมีประสิทธิภำพในกำรดำำเนินงำน
ของรัฐ ให้คณะรัฐมนตรีวำงระเบียบกำำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรเพื่อ
ให้เจ้ำหน้ำที่กำำหนดเวลำสำำหรับกำรพิจำรณำทำงปกครองขึ้นไว้ตำม
ควำมเหมำะสมแก่กรณี ทั้งนี้ เท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมำยหรือกฎ
ในเรื่องนัน
้
ในกรณีที่กำรดำำเนินงำนในเรื่องใดจะต้องผ่ำนกำรพิจำรณำ
ของเจ้ำหน้ำที่มำกกว่ำหนึ่งรำย เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องมีหน้ำที่ต้อง
ประสำนงำนกันในกำรกำำหนดเวลำเพื่อกำรดำำเนินงำนในเรื่องนั้น
ส่ว นที่ ๔
รูป แบบและผลของคำำ สั่ง ทำงปกครอง

สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
31
มำตรำ ๓๔คำำสั่งทำงปกครองอำจทำำเป็นหนังสือหรือวำจำหรือ
โดยกำรสื่อควำมหมำยในรูปแบบอื่นก็ได้ แต่ต้องมีข้อควำมหรือควำม
หมำยที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้
มำตรำ ๓๕ในกรณีที่คำำสั่งทำงปกครองเป็นคำำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำ
ผู้รับคำำสั่งนั้นร้องขอและกำรร้องขอได้กระทำำโดยมีเหตุอันสมควร
ภำยในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำำสั่งดังกล่ำว เจ้ำหน้ำที่ผู้ออกคำำสั่งต้อง
ยืนยันคำำสั่งนั้นเป็นหนังสือ
มำตรำ ๓๖ คำำสั่งทำงปกครองที่ทำำเป็นหนังสืออย่ำงน้อยต้อง
ระบุ วัน เดือนและปีที่ทำำคำำสั่ง ชื่อและตำำแหน่งของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำ
สั่ง พร้อมทั้งมีลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำสั่งนั้น
มำตรำ ๓๗
คำำสั่งทำงปกครองที่ทำำเป็นหนังสือและกำร
ยืนยันคำำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย และ
เหตุผลนั้นอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำำคัญ
(๒) ข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
(๓) ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลพินิจ
นำยกรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำยอำจประกำศ
ในรำชกิจจำนุเบกษำกำำหนดให้คำำสังทำงปกครองกรณีหนึงกรณีใด
่
่
ต้องระบุเหตุผลไว้ในคำำสังนันเองหรือในเอกสำรแนบท้ำยคำำสังนันก็ได้
่ ้
่ ้
บทบัญญัติตำมวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้
(๑) เป็นกรณีที่มีผลตรงตำมคำำขอและไม่กระทบสิทธิและหน้ำที่
ของบุคคลอื่น
(๒) เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จำำต้องระบุอีก
(๓) เป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับตำมมำตรำ ๓๒
(๔) เป็นกำรออกคำำสั่งทำงปกครองด้วยวำจำหรือเป็นกรณีเร่ง
ด่วนแต่ต้องให้เหตุผลเป็นลำยลักษณ์อักษรในเวลำอันควรหำกผู้อยู่ใน
บังคับของคำำสั่งนั้นร้องขอ
มำตรำ ๓๘บทบัญญัติตำมมำตรำ ๓๖ และมำตรำ ๓๗ วรรค
หนึง มิให้ใช้บังคับกับคำำสั่งทำงปกครองทีกำำหนดในกฎกระทรวง ทังนี้
่
่
้
ตำมหลักเกณฑ์ วิธกำร และเงือนไขทีกำำหนดในกฎกระทรวง
ี
่
่
มำตรำ ๓๙
กำรออกคำำสั่งทำงปกครองเจ้ำหน้ำที่อำจ
กำำหนดเงื่อนไขใดๆ ได้เท่ำที่จำำเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
กฎหมำย เว้นแต่กฎหมำยจะกำำหนดข้อจำำกัดดุลพินิจเป็นอย่ำงอื่น
กำรกำำหนดเงื่อนไขตำมวรรคหนึ่ง ให้หมำยควำมรวมถึงกำร
กำำหนดเงื่อนไขในกรณีดังต่อไปนี้ ตำมควำมเหมำะสมแก่กรณีด้วย
(๑) กำรกำำหนดให้สิทธิหรือภำระหน้ำที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ
เวลำใดเวลำหนึ่ง
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
32
(๒) กำรกำำหนดให้กำรเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิหรือภำระ
หน้ำที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุกำรณ์ในอนำคตที่ไม่แน่นอน
(๓) ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำำสั่งทำงปกครอง
(๔) กำรกำำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทำำหรืองดเว้น
กระทำำหรือต้องมีภำระหน้ำที่หรือยอมรับภำระหน้ำที่หรือควำมรับผิด
ชอบบำงประกำร หรือกำรกำำหนดข้อควำมในกำรจัดให้มี เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มข้อกำำหนดดังกล่ำว
มำตรำ ๔๐ คำำสั่งทำงปกครองที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไป
ได้ให้ระบุกรณีที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง กำรยื่นคำำอุทธรณ์หรือคำำโต้
แย้ง และระยะเวลำสำำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำรโต้แย้งดังกล่ำวไว้ด้วย
ในกรณีที่มีกำรฝ่ำฝืนบทบัญญัติตำมวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลำ
สำำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำรโต้แย้ง เริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง
หลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง แต่ถ้ำไม่มีกำรแจ้งใหม่และระยะเวลำดัง
กล่ำวมีระยะเวลำสั้นกว่ำหนึ่งปี ให้ขยำยเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคำำ
สั่งทำงปกครอง
มำตรำ ๔๑ คำำสั่งทำงปกครองที่ออกโดยกำรฝ่ำฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำำสั่งทำงปกครองนั้น
ไม่สมบูรณ์
(๑) กำรออกคำำสั่งทำงปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำำขอในกรณีที่
เจ้ำหน้ำที่จะดำำเนินกำรเองไม่ได้นอกจำกจะมีผู้ยื่นคำำขอ ถ้ำต่อมำใน
ภำยหลังได้มีกำรยื่นคำำขอเช่นนั้นแล้ว
(๒) คำำสั่งทำงปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผลตำมมำตรำ ๓๗
วรรคหนึ่ง ถ้ำได้มีกำรจัดให้มีเหตุผลดังกล่ำวในภำยหลัง
(๓) กำรรับฟังคู่กรณีที่จำำเป็นต้องกระทำำได้ดำำเนินกำรมำโดย
ไม่สมบูรณ์ ถ้ำได้มีกำรรับฟังให้สมบูรณ์ในภำยหลัง
(๔) คำำสั่งทำงปกครองที่ต้องให้เจ้ำหน้ำที่อื่นให้ควำมเห็นชอบ
ก่อน ถ้ำเจ้ำหน้ำที่นั้นได้ให้ควำมเห็นชอบในภำยหลัง
เมื่อมีกำรดำำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้ว
และเจ้ำหน้ำที่ผู้มีคำำสั่งทำงปกครองประสงค์ให้ผลเป็นไปตำมคำำสั่งเดิม
ให้เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นบันทึกข้อเท็จจริงและควำมประสงค์ของตนไว้ใน
หรือแนบไว้กับคำำสั่งเดิมและต้องมีหนังสือแจ้งควำมประสงค์ของตนให้
คู่กรณีทรำบด้วย
กรณีตำม (๒) (๓) และ (๔) จะต้องกระทำำก่อนสิ้นสุด
กระบวนกำรพิจำรณำอุทธรณ์ตำมส่วนที่ ๕ ของหมวดนี้ หรือตำม
กฎหมำยเฉพำะว่ำด้วยกำรนั้น หรือถ้ำเป็นกรณีที่ไม่ต้องมีกำรอุทธรณ์
ดังกล่ำวก็ต้องก่อนมีกำรนำำคำำสั่งทำงปกครองไปสู่กำรพิจำรณำของผู้
มีอำำนำจพิจำรณำวินิจฉัยควำมถูกต้องของคำำสั่งทำงปกครองนั้น
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
33
มำตรำ ๔๒คำำสั่งทำงปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่
ขณะที่ผู้นั้นได้รับแจ้งเป็นต้นไป
คำำสั่งทำงปกครองย่อมมีผลตรำบเท่ำที่ยังไม่มีกำรเพิกถอนหรือ
สิ้นผลลงโดยเงื่อนเวลำหรือโดยเหตุอื่น
เมื่อคำำสั่งทำงปกครองสิ้นผลลง ให้เจ้ำหน้ำที่มีอำำนำจเรียกผู้ซึ่ง
ครอบครองเอกสำรหรือวัตถุอื่นใด ที่ได้จัดทำำขึ้นเนื่องในกำรมีคำำสั่ง
ทำงปกครองดังกล่ำว ซึ่งมีข้อควำมหรือเครื่องหมำยแสดงถึงกำรมีอยู่
ของคำำสั่งทำงปกครองนั้น ให้ส่งคืนสิ่งนั้นหรือให้นำำสิ่งของดังกล่ำว
อันเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้นั้นมำให้เจ้ำหน้ำที่จัดทำำเครื่องหมำยแสดงกำร
สิ้นผลของคำำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวได้
มำตรำ ๔๓คำำสั่งทำงปกครองที่มีข้อผิดพลำดเล็กน้อยหรือผิด
หลงเล็กน้อยนั้น เจ้ำหน้ำที่อำจแก้ไขเพิ่มเติมได้เสมอ
ในกำรแก้ไขเพิ่มเติมคำำสั่งทำงปกครองตำมวรรคหนึ่งให้แจ้ง
ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทรำบตำมควรแก่กรณี ในกำรนี้เจ้ำหน้ำที่อำจเรียกให้
ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดส่งคำำสั่งทำงปกครอง เอกสำรหรือวัตถุอื่นใดที่ได้จัด
ทำำขึ้นเนื่องในกำรมีคำำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวมำเพื่อกำรแก้ไขเพิ่ม
เติมได้
ส่ว นที่ ๕
กำรอุท ธรณ์ค ำำ สัง ทำงปกครอง
่
มำตรำ ๔๔ ภำยใต้บังคับมำตรำ ๔๘ ในกรณีที่คำำสั่งทำง
ปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมำยกำำหนดขั้นตอน
อุทธรณ์ภำยในฝ่ำยปกครองไว้เป็นกำรเฉพำะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำำสั่ง
ทำงปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำสั่งทำงปกครองภำยในสิบ
ห้ำวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำำสั่งดังกล่ำว
คำำอุทธรณ์ต้องทำำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริง
หรือข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิงประกอบด้วย
กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำำสั่งทำง
ปกครอง เว้นแต่จะมีกำรสั่งให้ทุเลำกำรบังคับตำมมำตรำ ๕๖ วรรค
หนึง
่
มำตรำ ๔๕ ให้เจ้ำหน้ำที่ตำมมำตรำ ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจำรณำคำำ
อุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์โดยไม่ชักช้ำ แต่ต้องไม่เกินสำมสิบวันนับ
แต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ ในกรณีที่เห็นด้วยกับคำำอุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมด
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
34
หรือบำงส่วนก็ให้ดำำเนินกำรเปลี่ยนแปลงคำำสั่งทำงปกครองตำมควำม
เห็นของตนภำยในกำำหนดเวลำดังกล่ำวด้วย
ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ตำมมำตรำ ๔๔ วรรคหนึ่ง ไม่เห็นด้วยกับคำำ
อุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนก็ให้เร่งรำยงำนควำมเห็นพร้อม
เหตุผลไปยังผูมอำำนำจพิจำรณำคำำอุทธรณ์ภำยในกำำหนดเวลำตำม
้ ี
วรรคหนึง ให้ผู้ มีอำำนำจพิจำรณำคำำอุทธรณ์พิ จำรณำให้แล้วเสร็ จ
่
ภำยในสำมสิบวันนับแต่วันที่ ตนได้รับรำยงำน ถ้ำมีเหตุจำำเป็นไม่อำจ
พิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในระยะเวลำดังกล่ำว ให้ผู้มีอำำนำจ
พิจำรณำอุทธรณ์มีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทรำบก่อนครบกำำหนด
เวลำดังกล่ำว ในกำรนี้ ให้ขยำยระยะเวลำพิจำรณำอุทธรณ์ออกไปได้
ไม่เกินสำมสิบวันนับแต่วันที่ครบกำำหนดเวลำดังกล่ำว
เจ้ำหน้ำที่ผู้ใดจะเป็นผู้มีอำำนำจพิจำรณำอุทธรณ์ตำมวรรคสอง
ให้เป็นไปตำมที่กำำหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติมำตรำนี้ไม่ใช้กับกรณีที่มีกฎหมำยเฉพำะกำำหนดไว้
เป็นอย่ำงอื่น
มำตรำ ๔๖ ในกำรพิจำรณำอุทธรณ์ ให้เจ้ำหน้ำที่พิจำรณำ
ทบทวนคำำสั่งทำงปกครองได้ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำข้อเท็จจริง ข้อ
กฎหมำย หรือควำมเหมำะสมของกำรทำำคำำสั่งทำงปกครอง และอำจมี
คำำสั่งเพิกถอนคำำสั่งทำงปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำำสั่งนั้นไปใน
ทำงใด ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรเพิ่มภำระหรือลดภำระหรือใช้ดุลพินิจ
แทนในเรื่องควำมเหมำะสมของกำรทำำคำำสั่งทำงปกครองหรือมีข้อ
กำำหนดเป็นเงื่อนไขอย่ำงไรก็ได้
มำตรำ ๔๗
กำรใดที่กฎหมำยกำำหนดให้อุทธรณ์ต่อเจ้ำ
หน้ำที่ซึ่งเป็นคณะกรรมกำร ขอบเขตกำรพิจำรณำอุทธรณ์ให้เป็นไป
ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรนั้น สำำหรับกระบวนกำรพิจำรณำให้ปฏิบัติ
ตำมบทบัญญัติ หมวด ๒ นี้ เท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมำยดังกล่ำว
มำตรำ ๔๘คำำสั่งทำงปกครองของบรรดำคณะกรรมกำรต่ำงๆ
ไม่ว่ำจะจัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำยหรือไม่ ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะ
กรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ได้ทั้งในปัญหำข้อเท็จจริงและข้อกฎหมำย ภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วัน
ที่ได้รับแจ้งคำำสั่งนั้น แต่ถ้ำคณะกรรมกำรดังกล่ำวเป็นคณะกรรมกำร
วินิจฉัยข้อพิพำท สิทธิกำรอุทธรณ์และกำำหนดเวลำอุทธรณ์ให้เป็นไป
ตำมที่บัญญัติในกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ส่ว นที่ ๖
สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
35
การเพิก ถอนคำา สั่ง ทางปกครอง
มาตรา ๔๙เจ้าหน้าที่หรือผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่อาจเพิก
ถอนคำาสั่งทางปกครองได้ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒
และมาตรา ๕๓ ไม่ว่าจะพ้นขั้นตอนการกำาหนดให้อุทธรณ์หรือให้โต้
แย้งตามกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นมาแล้วหรือไม่
การเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้
ประโยชน์ต้องกระทำาภายในเก้าสิบวันนับแต่ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิก
ถอนคำาสั่งทางปกครองนั้น เว้นแต่คำาสั่งทางปกครองจะได้ทำาขึ้นเพราะ
การแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้
แจ้งหรือการข่มขู่หรือการชักจูงใจโดยการให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์
อืนใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย
่
มาตรา ๕๐ คำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายอาจถูก
เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วน โดยจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลัง
หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ แต่ถ้าคำา
สั่งนั้นเป็นคำาสั่งซึ่งเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับ การเพิกถอนต้องเป็น
ไปตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒
มาตรา ๕๑ การเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วย
กฎหมายซึ่งเป็นการให้เงิน หรือให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ที่อาจ
แบ่งแยกได้ ให้คำานึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผู้รับประโยชน์ใน
ความคงอยู่ของคำาสั่งทางปกครองนั้นกับประโยชน์สาธารณะประกอบ
กัน
ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหนึ่งจะได้รับความคุ้มครองต่อ
เมื่อผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้ใช้ประโยชน์อันเกิดจากคำาสั่งทาง
ปกครองหรือได้ดำาเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินไปแล้วโดยไม่อาจแก้ไข
เปลี่ยนแปลงได้หรือการเปลี่ยนแปลงจะทำาให้ผู้นั้นต้องเสียหายเกิน
ควรแก่กรณี
ในกรณีดังต่อไปนี้ ผู้รับคำาสั่งทางปกครองจะอ้างความเชื่อโดย
สุจริตไม่ได้
(๑) ผู้นั้นได้แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง
ซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือข่มขู่ หรือชักจูงใจโดยการให้ทรัพย์สินหรือให้
ประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย
(๒) ผู้นั้นได้ให้ข้อความซึ่งไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสาระ
สำาคัญ
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
36
(๓) ผู้นั้นได้รู้ถึงความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคำาสั่งทาง
ปกครองในขณะได้รับคำาสั่งทางปกครองหรือการไม่รู้นั้นเป็นไปโดย
ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ในกรณีที่เพิกถอนโดยให้มีผลย้อนหลัง การคืนเงิน ทรัพย์สิน
หรือประโยชน์ที่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้ไป ให้นำาบทบัญญัติว่าด้วย
ลาภมิควรได้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับโดย
อนุโลม โดยถ้าเมื่อใดผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้รู้ถึงความไม่ชอบด้วย
กฎหมายของคำาสั่งทางปกครองหรือควรได้รู้เช่นนั้นหากผู้นั้นมิได้
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงให้ถือว่าผู้นั้นตกอยู่ในฐานะไม่สุจริต
ตังแต่เวลานั้นเป็นต้นไป และในกรณีตามวรรคสาม ผู้นั้นต้องรับผิดใน
้
การคืนเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่ได้รับไปเต็มจำานวน
มาตรา ๕๒คำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่อยู่
ในบังคับของมาตรา ๕๑ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนได้ แต่ผู้
ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองดังกล่าวมีสิทธิได้
รับค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคง
อยู่ของคำาสั่งทางปกครองได้ และให้นำาความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง
วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ต้องร้องขอค่า
ทดแทนภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการ
เพิกถอนนั้น
ค่าทดแทนความเสียหายตามมาตรานี้จะต้องไม่สูงกว่า
ประโยชน์ที่ผู้นั้นอาจได้รับหากคำาสั่งทางปกครองดังกล่าวไม่ถูกเพิก
ถอน
มาตรา ๕๓คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่
เป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอน
ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอนหรือมีผลใน
อนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่คง
ต้องทำาคำาสั่งทางปกครองที่มีเนื้อหาทำานองเดียวกันนั้นอีก หรือเป็น
กรณีที่การเพิกถอนไม่อาจกระทำาได้เพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ให้คำานึงถึง
ประโยชน์ของบุคคลภายนอกประกอบด้วย
คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้ประโยชน์
แก่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้
มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง
ตามที่กำาหนดได้เฉพาะเมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้
(๑) มีกฎหมายกำาหนดให้เพิกถอนได้หรือมีข้อสงวนสิทธิให้
เพิกถอนได้ในคำาสั่งทางปกครองนั้นเอง
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
37
(๒) คำาสั่งทางปกครองนั้นมีข้อกำาหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้อง
ปฏิบัติ แต่ไม่มีการปฏิบัติภายในเวลาที่กำาหนด
(๓) ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีข้อเท็จ
จริงและพฤติการณ์เช่นนี้ในขณะทำาคำาสั่งทางปกครองแล้วเจ้าหน้าที่
คงจะไม่ทำาคำาสั่งทางปกครองนั้น และหากไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะได้
(๔) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเช่นนี้ใน
ขณะทำาคำาสั่งทางปกครองแล้วเจ้าหน้าที่คงจะไม่ทำาคำาสั่งทางปกครอง
นัน แต่การเพิกถอนในกรณีนี้ให้กระทำาได้เท่าที่ผู้รับประโยชน์ยังไม่
้
ได้ใช้ประโยชน์ หรือยังไม่ได้รับประโยชน์ตามคำาสั่งทางปกครองดัง
กล่าว และหากไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์
สาธารณะได้
(๕) อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ
หรือต่อประชาชนอันจำาเป็นต้องป้องกันหรือขจัดเหตุดังกล่าว
ในกรณี ที่ มี การเพิ กถอนคำา สั่ งทางปกครองเพราะเหตุ ตาม
วรรคสอง (๓) (๔) และ (๕) ผู้ได้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับค่าทดแทน
ความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยู่ของคำาสั่ง
ทางปกครองได้ และให้นำามาตรา ๕๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้เงินหรือ
ให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ที่อาจแบ่งแยกได้ อาจถูกเพิกถอน
ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลย้อนหลังหรือไม่มีผลย้อนหลังหรือมี
ผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ในกรณีดังต่อไป
นี้
(๑) มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะดำาเนินการให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ของคำาสั่งทางปกครอง
(๒) ผู้ได้รับประโยชน์มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะ
ดำาเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขของคำาสั่งทางปกครอง
ทั้งนี้ ให้นำาความในมาตรา ๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ส่ว นที่ ๗
การขอให้พ ิจ ารณาใหม่
มาตรา ๕๔ เมื่อคู่กรณีมีคำาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไข
เพิ่มเติมคำาสั่งทางปกครองที่พ้นกำาหนดอุทธรณ์ตามส่วนที่ ๕ ได้ใน
กรณีดังต่อไปนี้
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
38
(๑) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทำาให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติ
แล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำาคัญ
(๒) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครองหรือได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัด
โอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครอง
(๓) เจ้าหน้าที่ไม่มีอำานาจที่จะทำาคำาสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น
(๔) ถ้าคำาสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อ
กฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไป
ในสาระสำาคัญในทางที่จะเป็นประโยชน์แก่คู่กรณี
การยื่นคำาขอตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) หรือ (๓) ให้กระทำาได้
เฉพาะเมื่อคู่กรณีไม่อาจทราบถึงเหตุนั้นในการพิจารณาครั้งที่แล้วมา
ก่อนโดยไม่ใช่ความผิดของผู้นั้น
การยื่นคำาขอให้พิจารณาใหม่ต้องกระทำาภายในเก้าสิบวันนับ
แต่ผู้นั้นได้รู้ถึงเหตุซึ่งอาจขอให้พิจารณาใหม่ได้
ส่ว นที่ ๘
การบัง คับ ทางปกครอง
มาตรา ๕๕ การบังคับทางปกครองไม่ใช้กับเจ้าหน้าที่ด้วยกัน
เว้นแต่จะมีกฎหมายกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
มาตรา ๕๖ เจ้าหน้าที่ผู้ทำาคำาสั่งทางปกครองมีอำานาจที่จะ
พิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให้เป็นไปตามคำาสั่งของ
ตนได้ตามบทบัญญัติในส่วนนี้ เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้
ก่อนโดยเจ้าหน้าที่ผู้ทำาคำาสั่งนั้นเอง ผู้มีอำานาจพิจารณาคำาอุทธรณ์
หรือผู้มีอำานาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกต้องของคำาสั่งทางปกครองดัง
กล่าว
เจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอำานาจให้เจ้าหน้าที่ซึ่งอยู่ใต้
บังคับบัญชาหรือเจ้าหน้าที่อื่นเป็นผู้ดำาเนินการก็ได้ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง
ให้เจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองเพียงเท่าที่จำาเป็นเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของคำาสั่ง
ทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผู้อยู่ในบังคับของคำาสั่งทาง
ปกครองน้อยที่สุด
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
39
มาตรา ๕๗
คำาสั่งทางปกครองที่กำาหนดให้ผู้ใดชำาระเงิน
ถ้าถึงกำาหนดแล้วไม่มีการชำาระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้าหน้าที่มี
หนังสือเตือนให้ผู้นั้นชำาระภายในระยะเวลาที่กำาหนดแต่ต้องไม่น้อย
กว่าเจ็ดวัน ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามคำาเตือน เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการ
บังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอด
ตลาดเพื่อชำาระเงินให้ครบถ้วน
วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สินให้ปฏิบัติ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม ส่วนผู้มี
อำานาจสั่งยึดหรืออายัดหรือขายทอดตลาดให้เป็นไปตามที่กำาหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา ๕๘คำาสั่งทางปกครองที่กำาหนดให้กระทำาหรือละเว้น
กระทำา ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำาสังทางปกครองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบตตาม
่
ั ิ
เจ้าหน้าทีอาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองอย่างหนึงอย่างใด ดังต่อ
่
่
ไปนี้
(๑) เจ้าหน้าทีเข้าดำาเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บคคล
่
ุ
อืนกระทำาการแทนโดยผูอยูในบังคับของคำาสั่งทางปกครองจะต้อง
่
้ ่
ชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มในอัตราร้อยละยี่สิบห้าต่อปีของค่าใช้จ่าย
ดังกล่าวแก่เจ้าหน้าที่
(๒) ให้มการชำาระค่าปรับทางปกครองตามจำานวนทีสมควรแก่
ี
่
เหตุแต่ตองไม่เกินสองหมืนบาทต่อวัน
้
่
เจ้าหน้าที่ระดับใดมีอำานาจกำาหนดค่าปรับทางปกครองจำานวน
เท่าใดสำาหรับในกรณีใด ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีความจำาเป็นที่จะต้องบังคับการโดยเร่งด่วนเพื่อ
ป้องกันมิให้มีการกระทำาที่ขัดต่อกฎหมายที่มีโทษทางอาญาหรือมิให้
เกิดความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการ
บังคับทางปกครองโดยไม่ต้องออกคำาสั่งทางปกครองให้กระทำาหรือ
ละเว้นกระทำาก่อนก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องกระทำาโดยสมควรแก่เหตุและ
ภายในขอบเขตอำานาจหน้าที่ของตน
มาตรา ๕๙ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา ๕๘
เจ้าหน้าที่จะต้องมีคำาเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทำาหรือละเว้น
กระทำาตามคำาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำาหนดตามสมควร
แก่กรณี คำาเตือนดังกล่าวจะกำาหนดไปพร้อมกับคำาสั่งทางปกครองก็ได้
คำาเตือนนั้นจะต้องระบุ
(๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะ
กำาหนดมากกว่าหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกันไม่ได้
สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
40
(๒) ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดำาเนินการด้วยตนเอง
หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทำาการแทน หรือจำานวนค่าปรับทาง
ปกครองแล้วแต่กรณี
การกำาหนดค่าใช้จ่ายในคำาเตือน ไม่เป็นการตัดสิทธิที่จะเรียก
ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หากจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจริงมากกว่าที่ได้กำาหนด
ไว้
มาตรา ๖๐ เจ้าหน้าที่จะต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามที่กำาหนดไว้ในคำาเตือนตามมาตรา ๕๙ การเปลี่ยนแปลงมาตรการ
จะกระทำาได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามาตรการที่กำาหนดไว้ไม่บรรลุตาม
วัตถุประสงค์
ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำาสั่งทางปกครองต่อสู้ขัดขวางการบังคับ
ทางปกครอง เจ้าหน้าที่อาจใช้กำาลังเข้าดำาเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม
มาตรการบังคับทางปกครองได้แต่ต้องกระทำาโดยสมควรแก่เหตุ ใน
กรณีจำาเป็นเจ้าหน้าที่อาจขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานตำารวจ
ได้
มาตรา ๖๑ ในกรณีไม่มีการชำาระค่าปรับทางปกครอง ให้เจ้า
หน้าที่ดำาเนินการต่อไปตามมาตรา ๕๗
มาตรา ๖๒ ผู้ถูกดำาเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครอง
อาจอุทธรณ์การบังคับทางปกครองนั้นได้
การอุทธรณ์การบังคับทางปกครองให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธี
การเดียวกันกับการอุทธรณ์คำาสั่งทางปกครอง
มาตรา ๖๓ ถ้าบทกฎหมายใดกำาหนดมาตรการบังคับทาง
ปกครองไว้โดยเฉพาะแล้ว แต่เจ้าหน้าที่เห็นว่ามาตรการบังคับนั้นมี
ลักษณะที่จะเกิดผลน้อยกว่ามาตรการบังคับตามหมวดนี้ เจ้าหน้าที่จะ
ใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามหมวดนี้แทนก็ได้
หมวด ๓
ระยะเวลาและอายุค วาม
มาตรา ๖๔ กำาหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีนั้น มิให้
นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย เว้นแต่จะได้เริ่มการในวันนั้น
หรือมีการกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่นโดยเจ้าหน้าที่

สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

More Related Content

Similar to 13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558Boonlert Aroonpiboon
 
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติมพรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติมJoli Joe
 
ล03 20-9999-update
ล03 20-9999-updateล03 20-9999-update
ล03 20-9999-updateMoo Moomoom
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓Satapon Yosakonkun
 

Similar to 13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ (6)

พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
 
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติมพรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
พรบ อบจ 2540 และแก้ไขเพิ่มเติม
 
ล03 20-9999-update
ล03 20-9999-updateล03 20-9999-update
ล03 20-9999-update
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
 
รวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุมรวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุม
 
Political Official Ethics
Political Official EthicsPolitical Official Ethics
Political Official Ethics
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า

More from ประพันธ์ เวารัมย์ แบ่งปันความรู้ส่ความก้าวหน้า (20)

แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการตรวจสอบภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุ 2535...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 254...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเต...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1) 2
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แก้ไขถึงฉบับที่ 10 ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารแนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
 

13 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

  • 1. 21 พระราชบัญ ญัต ิ วิธ ีป ฏิบ ัต ิร าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูม ิพ ลอดุล ยเดช ป.ร. ให้ไ ว้ ณ วัน ที่ ๒๗ กัน ยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็น ปีท ี่ ๕๑ ในรัช กาลปัจ จุบ ัน พระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหาภู มิ พลอดุ ลยเดช มี พระบรม ราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำาแนะนำาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙” มาตรา ๒* พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนดหนึ่ง ร้อยแปดสิบวันนับแต่วนถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ั เป็นต้นไป * รก.๒๕๓๙/๖๐ก/๑/๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีที่ กฎหมายใดกำาหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว้โดย เฉพาะและมีหลักเกณฑ์ ที่ประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานใน การปฏิบัติราชการไม่ตำ่ากว่าหลักเกณฑ์ที่กำาหนดในพระราชบัญญัตินี้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับขั้นตอนและระยะเวลา อุทธรณ์หรือโต้แย้งที่กำาหนดในกฎหมาย มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (๒) องค์กรที่ใช้อำานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 2. 22 (๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทาง นโยบายโดยตรง (๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำาเนินงานของ เจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวาง ทรัพย์ (๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตาม กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) การดำาเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ (๗) การดำาเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจ้าหน้าที่ซึ่ง ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้องกันและรักษาความ มันคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทังภายนอกและภายในประเทศ ่ ้ (๘) การดำาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (๙) การดำาเนินกิจการขององค์การทางศาสนา การยกเว้นไม่ให้นำาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้ บังคับแก่การดำาเนินกิจการใดหรือกับหน่วยงานใดนอกจากที่กำาหนด ไว้ในวรรคหนึ่ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาตามข้อเสนอของคณะ กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้ “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความว่า การเตรียมการ และการดำาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำาสั่งทางปกครองหรือ กฎ และรวมถึงการดำาเนินการใดๆ ในทางปกครองตามพระราช บัญญัตินี้ “การพิจารณาทางปกครอง” หมายความว่า การเตรียมการและ การดำาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำาสั่งทางปกครอง “คำาสั่งทางปกครอง” หมายความว่า (๑) การใช้อำานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการ สร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของ บุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การ อนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจด ทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ (๒) การอื่นที่กำาหนดในกฎกระทรวง “กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ กระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มี สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 3. 23 ผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือ บุคคลใดเป็นการเฉพาะ “คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” หมายความว่า คณะ กรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณา สำาหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำานาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำานาจทางปกครองของรัฐในการ ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้น ในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม “คู่กรณี” หมายความว่า ผู้ยื่นคำาขอหรือผู้คัดค้านคำาขอ ผู้อยู่ใน บังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคำาสั่งทางปกครอง และผู้ซึ่งได้เข้ามาใน กระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผู้นั้นจะถูก กระทบกระเทือนจากผลของคำาสั่งทางปกครอง มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรกษาการตามพระราชบัญญัตนี้ ั ิ และให้มอำานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระ ี ราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา แล้ว ให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ คณะกรรมการวิธ ีป ฏิบ ต ิร าชการทางปกครอง ั มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะ กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบด้วยประธาน กรรมการคนหนึ่ง ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่าห้า คนแต่ไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตังประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรง ้ คุณวุฒิ โดยแต่งตังจากผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์ ้ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหารราชการ แผ่นดิน แต่ผู้นั้นต้องไม่เป็นผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมือง ให้เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้งข้าราชการของ สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 4. 24 มาตรา ๘ ให้กรรมการซึงคณะรัฐมนตรีแต่งตังมีวาระดำารง ่ ้ ตำาแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำาแหน่งอาจได้รับแต่งตัง ้ อีกได้ ในกรณีทกรรมการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระ แต่ยงมิได้แต่งตัง ี่ ั ้ กรรมการใหม่ ให้กรรมการนันปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้ ้ แต่งตังกรรมการใหม่ ้ มาตรา ๙ นอกจากการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตังพ้นจากตำาแหน่งเมื่อคณะรัฐมนตรี ้ มีมติให้ออกหรือเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดตามมาตรา ๗๖ มาตรา ๑๐ ให้สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทำาหน้าที่เป็น สำานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาข้อมูลและกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมี อำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) สอดส่องดูแลและให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการดำาเนินงานของ เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ให้คำาปรึกษาแก่เจ้าหน้าทีเกียวกับการปฏิบตตามพระราช ่ ่ ั ิ บัญญัตนี้ ตามทีบคคลดังกล่าว ร้องขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะ ิ ่ ุ กรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำาหนด (๓) มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือ แสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้ (๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎ กระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) จัดทำารายงานเกียวกับการปฏิบตตามพระราชบัญญัตนเสนอ ่ ั ิ ิ ี้ คณะรัฐมนตรีเป็นครังคราว ตามความเหมาะสมแต่อย่างน้อยปีละหนึ่ง ้ ครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครอง ให้เป็นไป โดยมีความเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (๖) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย หมวด ๒ คำา สั่ง ทางปกครอง ส่ว นที่ ๑ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 5. 25 เจ้า หน้า ที่ มาตรา ๑๒ คำาสั่งทางปกครองจะต้องกระทำาโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมี อำานาจหน้าที่ในเรื่องนั้น มาตรา ๑๓ เจ้าหน้าที่ดังต่อไปนี้จะทำาการพิจารณาทางปกครอง ไม่ได้ (๑) เป็นคู่กรณีเอง (๒) เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี (๓) เป็นญาติของคู่กรณี คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่า ชันใดๆ หรือเป็นพี่น้องหรือลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภายในสามชั้น ้ หรือเป็นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น (๔) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้ แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี (๕) เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี (๖) กรณีอื่นตามที่กำาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๔ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้านว่าเจ้า หน้าที่ผู้ใดเป็นบุคคลตามมาตรา ๑๓ ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นหยุดการ พิจารณาเรื่องไว้ก่อน และแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้น หนึงทราบ เพื่อที่ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวจะได้มีคำาสั่งต่อไป ่ การยื่ นคำาคัดค้ าน การพิจารณาคำาคัดค้าน และการสั่ งให้เจ้ า หน้าที่ อื่ นเข้าปฏิบัติหน้าที่ แทนผู้ที่ถูกคัดค้านให้เป็นไปตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๕ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้านว่า กรรมการในคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมี ลักษณะดังกล่าว ให้ประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อ พิจารณาเหตุคัดค้านนั้น ในการประชุมดังกล่าวกรรมการผู้ถูกคัดค้าน เมื่อได้ชแจงข้อเท็จจริงและตอบข้อซักถามแล้วต้องออกจากที่ประชุม ี้ ถ้าคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผู้ ถูกคัดค้านในระหว่างที่กรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม ให้ถือว่าคณะกรรมการคณะนั้นประกอบด้วยกรรมการทุกคนที่ไม่ถูก คัดค้าน ถ้าที่ประชุมมีมติให้กรรมการผู้ถูกคัดค้านปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการที่ไม่ถูกคัดค้าน ก็ให้กรรมการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ มติดังกล่าวให้กระทำาโดยวิธี ลงคะแนนลับและให้เป็นที่สุด สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 6. 26 การยื่นคำาคัดค้านและการพิจารณาคำาคัดค้านให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๖ ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓ เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำานาจ พิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจทำาให้การพิจารณา ทางปกครองไม่เป็นกลาง เจ้าหน้าที่หรือกรรมการผู้นั้นจะทำาการ พิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ได้ ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้ดำาเนินการดังนี้ (๑) ถ้าผู้นั้นเห็นเองว่าตนมีกรณีดังกล่าว ให้ผู้นั้นหยุดการ พิจารณาเรื่องไว้ก่อนและแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่ง หรือประธานกรรมการทราบ แล้วแต่กรณี (๒) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านว่าผู้นั้นมีเหตุดังกล่าว หากผู้นั้นเห็นว่า ตนไม่มีเหตุตามที่คัดค้านนั้น ผู้นั้น จะทำาการพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธาน กรรมการทราบ แล้วแต่กรณี (๓) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือคณะกรรมการที่มีอำานาจ พิจารณาทางปกครอง ซึ่งผู้นั้นเป็นกรรมการอยู่มีคำาสั่งหรือมีมติโดยไม่ ชักช้า แล้วแต่กรณีว่าผู้นั้นมีอำานาจในการพิจารณาทางปกครองใน เรื่องนันหรือไม่ ้ ให้นำาบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรค สอง วรรคสาม และวรรคสี่มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๗ การกระทำาใดๆ ของเจ้าหน้าที่หรือกรรมการ ในคณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองที่ได้กระทำาไปก่อน หยุดการพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ย่อมไม่เสียไป เว้น แต่เจ้าหน้าที่ผู้เข้าปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ถูกคัดค้านหรือคณะกรรมการที่มี อำานาจพิจารณาทางปกครอง แล้วแต่กรณีจะเห็นสมควรดำาเนินการ ส่วนหนึ่งส่วนใดเสียใหม่ก็ได้ มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไม่ให้นำามาใช้ บังคับกับกรณีที่มีความจำาเป็นเร่งด่วน หากปล่อยให้ล่าช้าไปจะเสีย หายต่อประโยชน์สาธารณะหรือสิทธิของบุคคลจะเสียหายโดยไม่มี ทางแก้ไขได้ หรือไม่มีเจ้าหน้าที่อื่นปฏิบัติหน้าที่แทนผู้นั้นได้ มาตรา ๑๙ถ้าปรากฏภายหลังว่าเจ้าหน้าที่หรือกรรมการใน คณะกรรมการที่มีอำานาจพิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือมี ลักษณะต้องห้ามหรือการแต่งตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมาย อันเป็นเหตุให้ผู้ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 7. 27 นันต้องพ้นจากตำาแหน่งการพ้นจากตำาแหน่งเช่นว่านี้ไม่กระทบ ้ กระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอำานาจหน้าที่ มาตรา ๒๐ ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ให้หมายความรวมถึง ผู้ซึ่งกฎหมายกำาหนดให้มี อำานาจกำากับหรือควบคุมดูแลสำาหรับกรณีของเจ้าหน้าที่ที่ไม่มีผู้บังคับ บัญชาโดยตรง และนายกรัฐมนตรีสำาหรับกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นเป็น รัฐมนตรี ส่ว นที่ ๒ คูก รณี ่ มาตรา ๒๑ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเป็นคู่ กรณีในการพิจารณาทางปกครองได้ตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูก กระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ มาตรา ๒๒ผู้มีความสามารถกระทำาการในกระบวนการ พิจารณาทางปกครองได้จะต้องเป็น (๑) ผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ (๒) ผู้ซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำาหนดให้มีความสามารถกระทำา การในเรื่องที่กำาหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความ สามารถถูกจำากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผู้แทนหรือ ตัวแทนแล้วแต่กรณี (๔) ผู้ซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรี มอบหมายในราชกิจจานุเบกษากำาหนดให้มีความสามารถกระทำาการ ในเรื่องที่กำาหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความสามารถ ถูกจำากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๒๓ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณีต้องมาปรากฏ ตัวต่อหน้าเจ้าหน้าที่ คู่กรณีมีสิทธินำาทนายความหรือที่ปรึกษาของตน เข้ามาในการพิจารณาทางปกครองได้ การใดที่ทนายความหรือที่ปรึกษาได้ทำาลงต่อหน้าคู่กรณีให้ ถือว่าเป็นการกระทำาของคู่กรณี เว้นแต่คู่กรณีจะได้คัดค้านเสียแต่ใน ขณะนัน ้ มาตรา ๒๔คู่กรณีอาจมีหนังสือแต่งตังให้บุคคลหนึ่งบุคคลใด ้ ซึ่งบรรลุนิติภาวะกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กำาหนดแทนตน ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใดๆ ได้ ในการนี้เจ้าหน้าที่จะ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 8. 28 ดำำเนินกระบวนพิจำรณำทำงปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพำะเมื่อเป็น เรื่องที่ผู้นั้นมีหน้ำที่โดยตรงที่จะต้องทำำกำรนั้นด้วยตนเองและต้องแจ้ง ให้ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนทรำบด้วย หำกปรำกฏว่ำผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนผู้ใดไม่ ทรำบข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอหรือมีเหตุไม่ควรไว้วำงใจใน ควำมสำมำรถของบุคคลดังกล่ำวให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้คู่กรณีทรำบโดย ไม่ชักช้ำ กำรแต่งตั้งให้กระทำำกำรแทนไม่ถือว่ำสิ้นสุดลงเพรำะควำม ตำยของคู่กรณีหรือกำรที่ควำมสำมำรถหรือควำมเป็นผู้แทนของคู่ กรณีเปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ผู้สืบสิทธิตำมกฎหมำยของคู่กรณีหรือคู่ กรณีจะถอนกำรแต่งตั้งดังกล่ำว มำตรำ ๒๕ในกรณีที่มีกำรยื่นคำำขอโดยมีผู้ลงชื่อร่วมกันเกิน ห้ำสิบคนหรือมีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำำขอที่มีข้อควำมอย่ำงเดียวกัน หรือทำำนองเดียวกัน ถ้ำในคำำขอมีกำรระบุให้บุคคลใดเป็นตัวแทนของ บุคคลดังกล่ำวหรือมีข้อควำมเป็นปริยำยให้เข้ำใจได้เช่นนั้น ให้ถือว่ำ ผู้ที่ถูกระบุชื่อดังกล่ำวเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณีเหล่ำนั้น ในกรณีที่มีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำำขอให้มีคำำสั่งทำงปกครอง ในเรื่องเดียวกัน โดยไม่มีกำรกำำหนดให้บุคคลใดเป็นตัวแทนร่วมของ ตนตำมวรรคหนึ่ง ให้เจ้ำหน้ำที่ในเรื่องนั้นแต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณีฝ่ำย ข้ำงมำกเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่ำว ในกรณีนี้ให้นำำ มำตรำ ๒๔ วรรคสอง และวรรคสำม มำใช้บังคับโดยอนุโลม ตัวแทนร่วมตำมวรรคหนึ่งหรือวรรคสองต้องเป็นบุคคลธรรมดำ คู่กรณีจะบอกเลิกกำรให้ตัวแทนร่วมดำำเนินกำรแทนตนเมื่อใด ก็ได้แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ทรำบและดำำเนินกำรใดๆ ใน กระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองต่อไปด้วยตนเอง ตัวแทนร่วมจะบอกเลิกกำรเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องมี หนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ทรำบกับต้องแจ้งให้คู่กรณีทุกรำยทรำบด้วย ส่ว นที่ ๓ กำรพิจ ำรณำ มำตรำ ๒๖ เอกสำรที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ให้จัดทำำเป็นภำษำไทย ถ้ำเป็นเอกสำรที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำำคำำแปล เป็นภำษำไทยที่มีกำรรับรองควำมถูกต้องมำให้ภำยในระยะเวลำที่เจ้ำ หน้ำที่กำำหนด ในกรณีนี้ให้ถือว่ำเอกสำรดังกล่ำวได้ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 9. 29 ในวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับคำำแปลนั้น เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่จะยอมรับเอกสำร ที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ และในกรณีนี้ให้ถือว่ำวันที่ได้ยื่น เอกสำรฉบับที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศเป็นวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับ เอกสำรดังกล่ำว กำรรับรองควำมถูกต้องของคำำแปลเป็นภำษำไทยหรือกำร ยอมรับเอกสำรที่ทำำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้เป็นไปตำมหลัก เกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดในกฎกระทรวง มำตรำ ๒๗ ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งสิทธิและหน้ำที่ใน กระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองให้คู่กรณีทรำบตำมควำมจำำเป็นแก่ กรณี ถ้ำคำำขอหรือคำำแถลงมีข้อบกพร่องหรือมีข้อควำมที่อ่ำนไม่ เข้ำใจหรือผิดหลงอันเห็นได้ชัดว่ำเกิดจำกควำมไม่รู้หรือควำมเลินเล่อ ของคู่กรณี ให้เจ้ำหน้ำที่แนะนำำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง มำตรำ ๒๘ในกำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่อำจตรวจ สอบข้อเท็จจริงได้ตำมควำมเหมำะสมในเรื่องนั้นๆ โดยไม่ต้องผูกพัน อยู่กับคำำขอหรือพยำนหลักฐำนของคู่กรณี มำตรำ ๒๙ เจ้ำหน้ำทีตองพิจำรณำพยำนหลักฐำนทีตนเห็น ่ ้ ่ ว่ำจำำเป็นแก่กำรพิสจน์ขอเท็จจริง ในกำรนี้ให้รวมถึงกำรดำำเนินกำรดัง ู ้ ต่อไปนี้ (๑) แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง (๒) รับฟังพยำนหลักฐำน คำำชี้แจง หรือควำมเห็นของคู่กรณี หรือของพยำนบุคคลหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่คู่กรณีกล่ำวอ้ำง เว้นแต่ เจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำเป็นกำรกล่ำวอ้ำงที่ไม่จำำเป็นฟุ่มเฟือยหรือเพื่อประวิง เวลำ (๓) ขอข้อเท็จจริงหรือควำมเห็นจำกคู่กรณี พยำนบุคคล หรือ พยำนผู้เชี่ยวชำญ (๔) ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง (๕) ออกไปตรวจสถำนที่ คูกรณีตองให้ควำมร่วมมือกับเจ้ำหน้ำทีในกำรพิสจน์ขอเท็จจริง ่ ้ ่ ู ้ และมีหน้ำทีแจ้งพยำนหลักฐำน ที่ตนทรำบแก่เจ้ำหน้ำที่ ่ พยำนหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่เจ้ำหน้ำที่เรียกมำให้ถ้อยคำำหรือ ทำำควำมเห็นมีสิทธิได้รับค่ำป่วยกำรตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ กำำหนดในกฎกระทรวง มำตรำ ๓๐ ในกรณีที่คำำสั่งทำงปกครองอำจกระทบถึงสิทธิของ คู่กรณี เจ้ำหน้ำที่ต้องให้คกรณีมโอกำสทีจะได้ทรำบข้อเท็จจริงอย่ำง ู่ ี ่ เพียงพอและมีโอกำสได้โต้แย้งและแสดงพยำนหลักฐำนของตน สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 10. 30 ควำมในวรรคหนึ่งมิให้นำำมำใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ เว้น แต่เจ้ำหน้ำที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเป็นอย่ำงอื่น (๑) เมื่อมีควำมจำำเป็นรีบด่วนหำกปล่อยให้เนิ่นช้ำไปจะก่อให้ เกิดควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือจะกระทบต่อ ประโยชน์สำธำรณะ (๒) เมื่อจะมีผลทำำให้ระยะเวลำที่กฎหมำยหรือกฎกำำหนดไว้ใน กำรทำำคำำสั่งทำงปกครองต้องล่ำช้ำออกไป (๓) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคำำขอ คำำ ให้กำรหรือคำำแถลง (๔) เมื่อโดยสภำพเห็นได้ชัดในตัวว่ำกำรให้โอกำสดังกล่ำวไม่ อำจกระทำำได้ (๕) เมื่อเป็นมำตรกำรบังคับทำงปกครอง (๖) กรณีอื่นตำมที่กำำหนดในกฎกระทรวง ห้ำมมิให้เจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสตำมวรรคหนึ่ง ถ้ำจะก่อให้เกิดผล เสียหำยอย่ำงร้ำยแรงต่อประโยชน์สำธำรณะ มำตรำ ๓๑ คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำำเป็นต้องรู้เพื่อ กำรโต้แย้งหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ แต่ถ้ำยังไม่ได้ทำำคำำ สั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรอัน เป็นต้นร่ำงคำำวินิจฉัย กำรตรวจดูเอกสำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจดูเอกสำร หรือกำร จัดทำำสำำเนำเอกสำรให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดใน กฎกระทรวง มำตรำ ๓๒เจ้ำหน้ำที่อำจไม่อนุญำตให้ตรวจดูเอกสำรหรือ พยำนหลักฐำนได้ ถ้ำเป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับ มำตรำ ๓๓เพื่อประโยชน์ในกำรอำำนวยควำมสะดวกแก่ ประชำชน ควำมประหยัดและควำมมีประสิทธิภำพในกำรดำำเนินงำน ของรัฐ ให้คณะรัฐมนตรีวำงระเบียบกำำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรเพื่อ ให้เจ้ำหน้ำที่กำำหนดเวลำสำำหรับกำรพิจำรณำทำงปกครองขึ้นไว้ตำม ควำมเหมำะสมแก่กรณี ทั้งนี้ เท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมำยหรือกฎ ในเรื่องนัน ้ ในกรณีที่กำรดำำเนินงำนในเรื่องใดจะต้องผ่ำนกำรพิจำรณำ ของเจ้ำหน้ำที่มำกกว่ำหนึ่งรำย เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องมีหน้ำที่ต้อง ประสำนงำนกันในกำรกำำหนดเวลำเพื่อกำรดำำเนินงำนในเรื่องนั้น ส่ว นที่ ๔ รูป แบบและผลของคำำ สั่ง ทำงปกครอง สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 11. 31 มำตรำ ๓๔คำำสั่งทำงปกครองอำจทำำเป็นหนังสือหรือวำจำหรือ โดยกำรสื่อควำมหมำยในรูปแบบอื่นก็ได้ แต่ต้องมีข้อควำมหรือควำม หมำยที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้ มำตรำ ๓๕ในกรณีที่คำำสั่งทำงปกครองเป็นคำำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำ ผู้รับคำำสั่งนั้นร้องขอและกำรร้องขอได้กระทำำโดยมีเหตุอันสมควร ภำยในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำำสั่งดังกล่ำว เจ้ำหน้ำที่ผู้ออกคำำสั่งต้อง ยืนยันคำำสั่งนั้นเป็นหนังสือ มำตรำ ๓๖ คำำสั่งทำงปกครองที่ทำำเป็นหนังสืออย่ำงน้อยต้อง ระบุ วัน เดือนและปีที่ทำำคำำสั่ง ชื่อและตำำแหน่งของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำ สั่ง พร้อมทั้งมีลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำสั่งนั้น มำตรำ ๓๗ คำำสั่งทำงปกครองที่ทำำเป็นหนังสือและกำร ยืนยันคำำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย และ เหตุผลนั้นอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วย (๑) ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำำคัญ (๒) ข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง (๓) ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลพินิจ นำยกรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำยอำจประกำศ ในรำชกิจจำนุเบกษำกำำหนดให้คำำสังทำงปกครองกรณีหนึงกรณีใด ่ ่ ต้องระบุเหตุผลไว้ในคำำสังนันเองหรือในเอกสำรแนบท้ำยคำำสังนันก็ได้ ่ ้ ่ ้ บทบัญญัติตำมวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้ (๑) เป็นกรณีที่มีผลตรงตำมคำำขอและไม่กระทบสิทธิและหน้ำที่ ของบุคคลอื่น (๒) เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จำำต้องระบุอีก (๓) เป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับตำมมำตรำ ๓๒ (๔) เป็นกำรออกคำำสั่งทำงปกครองด้วยวำจำหรือเป็นกรณีเร่ง ด่วนแต่ต้องให้เหตุผลเป็นลำยลักษณ์อักษรในเวลำอันควรหำกผู้อยู่ใน บังคับของคำำสั่งนั้นร้องขอ มำตรำ ๓๘บทบัญญัติตำมมำตรำ ๓๖ และมำตรำ ๓๗ วรรค หนึง มิให้ใช้บังคับกับคำำสั่งทำงปกครองทีกำำหนดในกฎกระทรวง ทังนี้ ่ ่ ้ ตำมหลักเกณฑ์ วิธกำร และเงือนไขทีกำำหนดในกฎกระทรวง ี ่ ่ มำตรำ ๓๙ กำรออกคำำสั่งทำงปกครองเจ้ำหน้ำที่อำจ กำำหนดเงื่อนไขใดๆ ได้เท่ำที่จำำเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ กฎหมำย เว้นแต่กฎหมำยจะกำำหนดข้อจำำกัดดุลพินิจเป็นอย่ำงอื่น กำรกำำหนดเงื่อนไขตำมวรรคหนึ่ง ให้หมำยควำมรวมถึงกำร กำำหนดเงื่อนไขในกรณีดังต่อไปนี้ ตำมควำมเหมำะสมแก่กรณีด้วย (๑) กำรกำำหนดให้สิทธิหรือภำระหน้ำที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลำใดเวลำหนึ่ง สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 12. 32 (๒) กำรกำำหนดให้กำรเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิหรือภำระ หน้ำที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุกำรณ์ในอนำคตที่ไม่แน่นอน (๓) ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำำสั่งทำงปกครอง (๔) กำรกำำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทำำหรืองดเว้น กระทำำหรือต้องมีภำระหน้ำที่หรือยอมรับภำระหน้ำที่หรือควำมรับผิด ชอบบำงประกำร หรือกำรกำำหนดข้อควำมในกำรจัดให้มี เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มข้อกำำหนดดังกล่ำว มำตรำ ๔๐ คำำสั่งทำงปกครองที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไป ได้ให้ระบุกรณีที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง กำรยื่นคำำอุทธรณ์หรือคำำโต้ แย้ง และระยะเวลำสำำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำรโต้แย้งดังกล่ำวไว้ด้วย ในกรณีที่มีกำรฝ่ำฝืนบทบัญญัติตำมวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลำ สำำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำรโต้แย้ง เริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง หลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง แต่ถ้ำไม่มีกำรแจ้งใหม่และระยะเวลำดัง กล่ำวมีระยะเวลำสั้นกว่ำหนึ่งปี ให้ขยำยเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคำำ สั่งทำงปกครอง มำตรำ ๔๑ คำำสั่งทำงปกครองที่ออกโดยกำรฝ่ำฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำำสั่งทำงปกครองนั้น ไม่สมบูรณ์ (๑) กำรออกคำำสั่งทำงปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำำขอในกรณีที่ เจ้ำหน้ำที่จะดำำเนินกำรเองไม่ได้นอกจำกจะมีผู้ยื่นคำำขอ ถ้ำต่อมำใน ภำยหลังได้มีกำรยื่นคำำขอเช่นนั้นแล้ว (๒) คำำสั่งทำงปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผลตำมมำตรำ ๓๗ วรรคหนึ่ง ถ้ำได้มีกำรจัดให้มีเหตุผลดังกล่ำวในภำยหลัง (๓) กำรรับฟังคู่กรณีที่จำำเป็นต้องกระทำำได้ดำำเนินกำรมำโดย ไม่สมบูรณ์ ถ้ำได้มีกำรรับฟังให้สมบูรณ์ในภำยหลัง (๔) คำำสั่งทำงปกครองที่ต้องให้เจ้ำหน้ำที่อื่นให้ควำมเห็นชอบ ก่อน ถ้ำเจ้ำหน้ำที่นั้นได้ให้ควำมเห็นชอบในภำยหลัง เมื่อมีกำรดำำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้ว และเจ้ำหน้ำที่ผู้มีคำำสั่งทำงปกครองประสงค์ให้ผลเป็นไปตำมคำำสั่งเดิม ให้เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นบันทึกข้อเท็จจริงและควำมประสงค์ของตนไว้ใน หรือแนบไว้กับคำำสั่งเดิมและต้องมีหนังสือแจ้งควำมประสงค์ของตนให้ คู่กรณีทรำบด้วย กรณีตำม (๒) (๓) และ (๔) จะต้องกระทำำก่อนสิ้นสุด กระบวนกำรพิจำรณำอุทธรณ์ตำมส่วนที่ ๕ ของหมวดนี้ หรือตำม กฎหมำยเฉพำะว่ำด้วยกำรนั้น หรือถ้ำเป็นกรณีที่ไม่ต้องมีกำรอุทธรณ์ ดังกล่ำวก็ต้องก่อนมีกำรนำำคำำสั่งทำงปกครองไปสู่กำรพิจำรณำของผู้ มีอำำนำจพิจำรณำวินิจฉัยควำมถูกต้องของคำำสั่งทำงปกครองนั้น สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 13. 33 มำตรำ ๔๒คำำสั่งทำงปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ ขณะที่ผู้นั้นได้รับแจ้งเป็นต้นไป คำำสั่งทำงปกครองย่อมมีผลตรำบเท่ำที่ยังไม่มีกำรเพิกถอนหรือ สิ้นผลลงโดยเงื่อนเวลำหรือโดยเหตุอื่น เมื่อคำำสั่งทำงปกครองสิ้นผลลง ให้เจ้ำหน้ำที่มีอำำนำจเรียกผู้ซึ่ง ครอบครองเอกสำรหรือวัตถุอื่นใด ที่ได้จัดทำำขึ้นเนื่องในกำรมีคำำสั่ง ทำงปกครองดังกล่ำว ซึ่งมีข้อควำมหรือเครื่องหมำยแสดงถึงกำรมีอยู่ ของคำำสั่งทำงปกครองนั้น ให้ส่งคืนสิ่งนั้นหรือให้นำำสิ่งของดังกล่ำว อันเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้นั้นมำให้เจ้ำหน้ำที่จัดทำำเครื่องหมำยแสดงกำร สิ้นผลของคำำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวได้ มำตรำ ๔๓คำำสั่งทำงปกครองที่มีข้อผิดพลำดเล็กน้อยหรือผิด หลงเล็กน้อยนั้น เจ้ำหน้ำที่อำจแก้ไขเพิ่มเติมได้เสมอ ในกำรแก้ไขเพิ่มเติมคำำสั่งทำงปกครองตำมวรรคหนึ่งให้แจ้ง ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทรำบตำมควรแก่กรณี ในกำรนี้เจ้ำหน้ำที่อำจเรียกให้ ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดส่งคำำสั่งทำงปกครอง เอกสำรหรือวัตถุอื่นใดที่ได้จัด ทำำขึ้นเนื่องในกำรมีคำำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวมำเพื่อกำรแก้ไขเพิ่ม เติมได้ ส่ว นที่ ๕ กำรอุท ธรณ์ค ำำ สัง ทำงปกครอง ่ มำตรำ ๔๔ ภำยใต้บังคับมำตรำ ๔๘ ในกรณีที่คำำสั่งทำง ปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมำยกำำหนดขั้นตอน อุทธรณ์ภำยในฝ่ำยปกครองไว้เป็นกำรเฉพำะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำำสั่ง ทำงปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำำคำำสั่งทำงปกครองภำยในสิบ ห้ำวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำำสั่งดังกล่ำว คำำอุทธรณ์ต้องทำำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริง หรือข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิงประกอบด้วย กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำำสั่งทำง ปกครอง เว้นแต่จะมีกำรสั่งให้ทุเลำกำรบังคับตำมมำตรำ ๕๖ วรรค หนึง ่ มำตรำ ๔๕ ให้เจ้ำหน้ำที่ตำมมำตรำ ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจำรณำคำำ อุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์โดยไม่ชักช้ำ แต่ต้องไม่เกินสำมสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ ในกรณีที่เห็นด้วยกับคำำอุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมด สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 14. 34 หรือบำงส่วนก็ให้ดำำเนินกำรเปลี่ยนแปลงคำำสั่งทำงปกครองตำมควำม เห็นของตนภำยในกำำหนดเวลำดังกล่ำวด้วย ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ตำมมำตรำ ๔๔ วรรคหนึ่ง ไม่เห็นด้วยกับคำำ อุทธรณ์ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนก็ให้เร่งรำยงำนควำมเห็นพร้อม เหตุผลไปยังผูมอำำนำจพิจำรณำคำำอุทธรณ์ภำยในกำำหนดเวลำตำม ้ ี วรรคหนึง ให้ผู้ มีอำำนำจพิจำรณำคำำอุทธรณ์พิ จำรณำให้แล้วเสร็ จ ่ ภำยในสำมสิบวันนับแต่วันที่ ตนได้รับรำยงำน ถ้ำมีเหตุจำำเป็นไม่อำจ พิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในระยะเวลำดังกล่ำว ให้ผู้มีอำำนำจ พิจำรณำอุทธรณ์มีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทรำบก่อนครบกำำหนด เวลำดังกล่ำว ในกำรนี้ ให้ขยำยระยะเวลำพิจำรณำอุทธรณ์ออกไปได้ ไม่เกินสำมสิบวันนับแต่วันที่ครบกำำหนดเวลำดังกล่ำว เจ้ำหน้ำที่ผู้ใดจะเป็นผู้มีอำำนำจพิจำรณำอุทธรณ์ตำมวรรคสอง ให้เป็นไปตำมที่กำำหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติมำตรำนี้ไม่ใช้กับกรณีที่มีกฎหมำยเฉพำะกำำหนดไว้ เป็นอย่ำงอื่น มำตรำ ๔๖ ในกำรพิจำรณำอุทธรณ์ ให้เจ้ำหน้ำที่พิจำรณำ ทบทวนคำำสั่งทำงปกครองได้ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำข้อเท็จจริง ข้อ กฎหมำย หรือควำมเหมำะสมของกำรทำำคำำสั่งทำงปกครอง และอำจมี คำำสั่งเพิกถอนคำำสั่งทำงปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำำสั่งนั้นไปใน ทำงใด ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรเพิ่มภำระหรือลดภำระหรือใช้ดุลพินิจ แทนในเรื่องควำมเหมำะสมของกำรทำำคำำสั่งทำงปกครองหรือมีข้อ กำำหนดเป็นเงื่อนไขอย่ำงไรก็ได้ มำตรำ ๔๗ กำรใดที่กฎหมำยกำำหนดให้อุทธรณ์ต่อเจ้ำ หน้ำที่ซึ่งเป็นคณะกรรมกำร ขอบเขตกำรพิจำรณำอุทธรณ์ให้เป็นไป ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรนั้น สำำหรับกระบวนกำรพิจำรณำให้ปฏิบัติ ตำมบทบัญญัติ หมวด ๒ นี้ เท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมำยดังกล่ำว มำตรำ ๔๘คำำสั่งทำงปกครองของบรรดำคณะกรรมกำรต่ำงๆ ไม่ว่ำจะจัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำยหรือไม่ ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะ กรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ได้ทั้งในปัญหำข้อเท็จจริงและข้อกฎหมำย ภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วัน ที่ได้รับแจ้งคำำสั่งนั้น แต่ถ้ำคณะกรรมกำรดังกล่ำวเป็นคณะกรรมกำร วินิจฉัยข้อพิพำท สิทธิกำรอุทธรณ์และกำำหนดเวลำอุทธรณ์ให้เป็นไป ตำมที่บัญญัติในกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ส่ว นที่ ๖ สำำนักพัฒนำระบบ รูปแบบและโครงสร้ำง (สพร.)
  • 15. 35 การเพิก ถอนคำา สั่ง ทางปกครอง มาตรา ๔๙เจ้าหน้าที่หรือผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่อาจเพิก ถอนคำาสั่งทางปกครองได้ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ไม่ว่าจะพ้นขั้นตอนการกำาหนดให้อุทธรณ์หรือให้โต้ แย้งตามกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นมาแล้วหรือไม่ การเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ ประโยชน์ต้องกระทำาภายในเก้าสิบวันนับแต่ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิก ถอนคำาสั่งทางปกครองนั้น เว้นแต่คำาสั่งทางปกครองจะได้ทำาขึ้นเพราะ การแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้ แจ้งหรือการข่มขู่หรือการชักจูงใจโดยการให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อืนใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย ่ มาตรา ๕๐ คำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วน โดยจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลัง หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ แต่ถ้าคำา สั่งนั้นเป็นคำาสั่งซึ่งเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับ การเพิกถอนต้องเป็น ไปตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๑ การเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วย กฎหมายซึ่งเป็นการให้เงิน หรือให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ที่อาจ แบ่งแยกได้ ให้คำานึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผู้รับประโยชน์ใน ความคงอยู่ของคำาสั่งทางปกครองนั้นกับประโยชน์สาธารณะประกอบ กัน ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหนึ่งจะได้รับความคุ้มครองต่อ เมื่อผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้ใช้ประโยชน์อันเกิดจากคำาสั่งทาง ปกครองหรือได้ดำาเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินไปแล้วโดยไม่อาจแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้หรือการเปลี่ยนแปลงจะทำาให้ผู้นั้นต้องเสียหายเกิน ควรแก่กรณี ในกรณีดังต่อไปนี้ ผู้รับคำาสั่งทางปกครองจะอ้างความเชื่อโดย สุจริตไม่ได้ (๑) ผู้นั้นได้แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง ซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือข่มขู่ หรือชักจูงใจโดยการให้ทรัพย์สินหรือให้ ประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย (๒) ผู้นั้นได้ให้ข้อความซึ่งไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสาระ สำาคัญ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 16. 36 (๓) ผู้นั้นได้รู้ถึงความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคำาสั่งทาง ปกครองในขณะได้รับคำาสั่งทางปกครองหรือการไม่รู้นั้นเป็นไปโดย ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ในกรณีที่เพิกถอนโดยให้มีผลย้อนหลัง การคืนเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ที่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้ไป ให้นำาบทบัญญัติว่าด้วย ลาภมิควรได้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับโดย อนุโลม โดยถ้าเมื่อใดผู้รับคำาสั่งทางปกครองได้รู้ถึงความไม่ชอบด้วย กฎหมายของคำาสั่งทางปกครองหรือควรได้รู้เช่นนั้นหากผู้นั้นมิได้ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงให้ถือว่าผู้นั้นตกอยู่ในฐานะไม่สุจริต ตังแต่เวลานั้นเป็นต้นไป และในกรณีตามวรรคสาม ผู้นั้นต้องรับผิดใน ้ การคืนเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่ได้รับไปเต็มจำานวน มาตรา ๕๒คำาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่อยู่ ในบังคับของมาตรา ๕๑ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนได้ แต่ผู้ ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคำาสั่งทางปกครองดังกล่าวมีสิทธิได้ รับค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคง อยู่ของคำาสั่งทางปกครองได้ และให้นำาความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ต้องร้องขอค่า ทดแทนภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการ เพิกถอนนั้น ค่าทดแทนความเสียหายตามมาตรานี้จะต้องไม่สูงกว่า ประโยชน์ที่ผู้นั้นอาจได้รับหากคำาสั่งทางปกครองดังกล่าวไม่ถูกเพิก ถอน มาตรา ๕๓คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่ เป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอน ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอนหรือมีผลใน อนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่คง ต้องทำาคำาสั่งทางปกครองที่มีเนื้อหาทำานองเดียวกันนั้นอีก หรือเป็น กรณีที่การเพิกถอนไม่อาจกระทำาได้เพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ให้คำานึงถึง ประโยชน์ของบุคคลภายนอกประกอบด้วย คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้ประโยชน์ แก่ผู้รับคำาสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้ มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง ตามที่กำาหนดได้เฉพาะเมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ (๑) มีกฎหมายกำาหนดให้เพิกถอนได้หรือมีข้อสงวนสิทธิให้ เพิกถอนได้ในคำาสั่งทางปกครองนั้นเอง สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 17. 37 (๒) คำาสั่งทางปกครองนั้นมีข้อกำาหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้อง ปฏิบัติ แต่ไม่มีการปฏิบัติภายในเวลาที่กำาหนด (๓) ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีข้อเท็จ จริงและพฤติการณ์เช่นนี้ในขณะทำาคำาสั่งทางปกครองแล้วเจ้าหน้าที่ คงจะไม่ทำาคำาสั่งทางปกครองนั้น และหากไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิด ความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะได้ (๔) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเช่นนี้ใน ขณะทำาคำาสั่งทางปกครองแล้วเจ้าหน้าที่คงจะไม่ทำาคำาสั่งทางปกครอง นัน แต่การเพิกถอนในกรณีนี้ให้กระทำาได้เท่าที่ผู้รับประโยชน์ยังไม่ ้ ได้ใช้ประโยชน์ หรือยังไม่ได้รับประโยชน์ตามคำาสั่งทางปกครองดัง กล่าว และหากไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ สาธารณะได้ (๕) อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ หรือต่อประชาชนอันจำาเป็นต้องป้องกันหรือขจัดเหตุดังกล่าว ในกรณี ที่ มี การเพิ กถอนคำา สั่ งทางปกครองเพราะเหตุ ตาม วรรคสอง (๓) (๔) และ (๕) ผู้ได้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยู่ของคำาสั่ง ทางปกครองได้ และให้นำามาตรา ๕๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม คำาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้เงินหรือ ให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ที่อาจแบ่งแยกได้ อาจถูกเพิกถอน ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลย้อนหลังหรือไม่มีผลย้อนหลังหรือมี ผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำาหนดได้ในกรณีดังต่อไป นี้ (๑) มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะดำาเนินการให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของคำาสั่งทางปกครอง (๒) ผู้ได้รับประโยชน์มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะ ดำาเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขของคำาสั่งทางปกครอง ทั้งนี้ ให้นำาความในมาตรา ๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ส่ว นที่ ๗ การขอให้พ ิจ ารณาใหม่ มาตรา ๕๔ เมื่อคู่กรณีมีคำาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไข เพิ่มเติมคำาสั่งทางปกครองที่พ้นกำาหนดอุทธรณ์ตามส่วนที่ ๕ ได้ใน กรณีดังต่อไปนี้ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 18. 38 (๑) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทำาให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติ แล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำาคัญ (๒) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทาง ปกครองหรือได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัด โอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาทาง ปกครอง (๓) เจ้าหน้าที่ไม่มีอำานาจที่จะทำาคำาสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น (๔) ถ้าคำาสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อ กฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไป ในสาระสำาคัญในทางที่จะเป็นประโยชน์แก่คู่กรณี การยื่นคำาขอตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) หรือ (๓) ให้กระทำาได้ เฉพาะเมื่อคู่กรณีไม่อาจทราบถึงเหตุนั้นในการพิจารณาครั้งที่แล้วมา ก่อนโดยไม่ใช่ความผิดของผู้นั้น การยื่นคำาขอให้พิจารณาใหม่ต้องกระทำาภายในเก้าสิบวันนับ แต่ผู้นั้นได้รู้ถึงเหตุซึ่งอาจขอให้พิจารณาใหม่ได้ ส่ว นที่ ๘ การบัง คับ ทางปกครอง มาตรา ๕๕ การบังคับทางปกครองไม่ใช้กับเจ้าหน้าที่ด้วยกัน เว้นแต่จะมีกฎหมายกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น มาตรา ๕๖ เจ้าหน้าที่ผู้ทำาคำาสั่งทางปกครองมีอำานาจที่จะ พิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให้เป็นไปตามคำาสั่งของ ตนได้ตามบทบัญญัติในส่วนนี้ เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้ ก่อนโดยเจ้าหน้าที่ผู้ทำาคำาสั่งนั้นเอง ผู้มีอำานาจพิจารณาคำาอุทธรณ์ หรือผู้มีอำานาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกต้องของคำาสั่งทางปกครองดัง กล่าว เจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอำานาจให้เจ้าหน้าที่ซึ่งอยู่ใต้ บังคับบัญชาหรือเจ้าหน้าที่อื่นเป็นผู้ดำาเนินการก็ได้ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำาหนดในกฎกระทรวง ให้เจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใช้มาตรการบังคับ ทางปกครองเพียงเท่าที่จำาเป็นเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของคำาสั่ง ทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผู้อยู่ในบังคับของคำาสั่งทาง ปกครองน้อยที่สุด สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 19. 39 มาตรา ๕๗ คำาสั่งทางปกครองที่กำาหนดให้ผู้ใดชำาระเงิน ถ้าถึงกำาหนดแล้วไม่มีการชำาระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้าหน้าที่มี หนังสือเตือนให้ผู้นั้นชำาระภายในระยะเวลาที่กำาหนดแต่ต้องไม่น้อย กว่าเจ็ดวัน ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามคำาเตือน เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการ บังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอด ตลาดเพื่อชำาระเงินให้ครบถ้วน วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สินให้ปฏิบัติ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม ส่วนผู้มี อำานาจสั่งยึดหรืออายัดหรือขายทอดตลาดให้เป็นไปตามที่กำาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา ๕๘คำาสั่งทางปกครองที่กำาหนดให้กระทำาหรือละเว้น กระทำา ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำาสังทางปกครองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบตตาม ่ ั ิ เจ้าหน้าทีอาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองอย่างหนึงอย่างใด ดังต่อ ่ ่ ไปนี้ (๑) เจ้าหน้าทีเข้าดำาเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บคคล ่ ุ อืนกระทำาการแทนโดยผูอยูในบังคับของคำาสั่งทางปกครองจะต้อง ่ ้ ่ ชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มในอัตราร้อยละยี่สิบห้าต่อปีของค่าใช้จ่าย ดังกล่าวแก่เจ้าหน้าที่ (๒) ให้มการชำาระค่าปรับทางปกครองตามจำานวนทีสมควรแก่ ี ่ เหตุแต่ตองไม่เกินสองหมืนบาทต่อวัน ้ ่ เจ้าหน้าที่ระดับใดมีอำานาจกำาหนดค่าปรับทางปกครองจำานวน เท่าใดสำาหรับในกรณีใด ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในกฎกระทรวง ในกรณีที่มีความจำาเป็นที่จะต้องบังคับการโดยเร่งด่วนเพื่อ ป้องกันมิให้มีการกระทำาที่ขัดต่อกฎหมายที่มีโทษทางอาญาหรือมิให้ เกิดความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการ บังคับทางปกครองโดยไม่ต้องออกคำาสั่งทางปกครองให้กระทำาหรือ ละเว้นกระทำาก่อนก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องกระทำาโดยสมควรแก่เหตุและ ภายในขอบเขตอำานาจหน้าที่ของตน มาตรา ๕๙ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา ๕๘ เจ้าหน้าที่จะต้องมีคำาเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทำาหรือละเว้น กระทำาตามคำาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำาหนดตามสมควร แก่กรณี คำาเตือนดังกล่าวจะกำาหนดไปพร้อมกับคำาสั่งทางปกครองก็ได้ คำาเตือนนั้นจะต้องระบุ (๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะ กำาหนดมากกว่าหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกันไม่ได้ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)
  • 20. 40 (๒) ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดำาเนินการด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทำาการแทน หรือจำานวนค่าปรับทาง ปกครองแล้วแต่กรณี การกำาหนดค่าใช้จ่ายในคำาเตือน ไม่เป็นการตัดสิทธิที่จะเรียก ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หากจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจริงมากกว่าที่ได้กำาหนด ไว้ มาตรา ๖๐ เจ้าหน้าที่จะต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตามที่กำาหนดไว้ในคำาเตือนตามมาตรา ๕๙ การเปลี่ยนแปลงมาตรการ จะกระทำาได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามาตรการที่กำาหนดไว้ไม่บรรลุตาม วัตถุประสงค์ ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำาสั่งทางปกครองต่อสู้ขัดขวางการบังคับ ทางปกครอง เจ้าหน้าที่อาจใช้กำาลังเข้าดำาเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม มาตรการบังคับทางปกครองได้แต่ต้องกระทำาโดยสมควรแก่เหตุ ใน กรณีจำาเป็นเจ้าหน้าที่อาจขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานตำารวจ ได้ มาตรา ๖๑ ในกรณีไม่มีการชำาระค่าปรับทางปกครอง ให้เจ้า หน้าที่ดำาเนินการต่อไปตามมาตรา ๕๗ มาตรา ๖๒ ผู้ถูกดำาเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครอง อาจอุทธรณ์การบังคับทางปกครองนั้นได้ การอุทธรณ์การบังคับทางปกครองให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธี การเดียวกันกับการอุทธรณ์คำาสั่งทางปกครอง มาตรา ๖๓ ถ้าบทกฎหมายใดกำาหนดมาตรการบังคับทาง ปกครองไว้โดยเฉพาะแล้ว แต่เจ้าหน้าที่เห็นว่ามาตรการบังคับนั้นมี ลักษณะที่จะเกิดผลน้อยกว่ามาตรการบังคับตามหมวดนี้ เจ้าหน้าที่จะ ใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามหมวดนี้แทนก็ได้ หมวด ๓ ระยะเวลาและอายุค วาม มาตรา ๖๔ กำาหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีนั้น มิให้ นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย เว้นแต่จะได้เริ่มการในวันนั้น หรือมีการกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่นโดยเจ้าหน้าที่ สำานักพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสร้าง (สพร.)