SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
เรือง ระบบย่อยอาหาร
   ่
      ของมนุษย์
             จัดทำาโดย
1.น.ส.กนกลดา แก้วตีนแท่น เลขที่ 6
ชั้น ม.4/2
2.น.ส.สุพัตรา สุโคตร    เลขที่ 16 ชั้น
ม.4/2
3.น.ส.อัมรา   เลพล    เลขที่ 26 ชั้น
ม.4/2
4.น.ส.สุนิสา นานนท์   เลขที่ 36 ชั้น
ประเภทของการย่อยอาหาร
• การย่อยอาหารมี 2 วิธี คือ
    1. การย่อยเชิงกล(Mechanical digestion) คือ
 อาหารทีถูกฟันบดเคี้ยวทำาให้มีขนาดเล็กลง
         ่
 แต่ยังไม่สามารถแปรสภาพอาหารที่มี
 โมเลกุล ใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลง


     2. การย่อยทางเคมี(Chemical digestion) คือ
 อาหารเหล่านี้จะถูกย่อยให้เป็นโมเลกุลให้
 เล็กลงไปอีกโดยเอนไซม์ในนำ้าลาย จะมีนำ้า
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย
             อาหาร
• ปาก เป็น อวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร
 ภายในประกอบด้วย
    - ฟัน ทำาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้
 ละเอียด
 - ลิ้น ทำาหน้าทีส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และ
                 ่
 คลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ง่ายต่อการบด
 เคี้ยวของฟัน
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย
               อาหาร
• หลอดอาหาร ทำาหน้าที่หดตัว บีบอาหารลง
 สู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมี
 ผนังที่ยืดและหดตัวได้บริเวณคอหอย
  มีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหาร
 ส่วนบนของหลอดลม            มีแผ่นกระดูกอ่อน
 ปิดกั้นกันอาหารเข้าไปในหลอดลม ขณะ
 กลืนอาหารเรียกว่า“ฝาปิดกล่องเสียง”
 (epiglotottis) เพดานอ่อนจะถูกดันยกไปปิด
 ช่องหายใจ อากาศผ่านช่องนี้ไม่ได้ อาหาร
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย
               อาหาร
• ลำาไส้เล็ก มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำาไส้เล็กมีนำ้า
  ย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท
  ถ้านำ้าย่อยในลำาไส้เล็กไม่พอ จะมีนำ้าย่อย
  จากตับและ ตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะ
  สร้างนำ้าดีสำาหรับย่อยไขมันให้        มี
  ขนาดเล็ก ที่ลำาไส้เล็กจะเป็นการย่อยครั้ง
  สุดท้ายจนอาหาร           มีขนาดเล็กที่สุด
  สามารถซึมผ่านผนังลำาไส้กล้ามเนื้อหูรูด
นำ้าย่อยในลำาไส้เล็ก
• นำ้าย่อยโปรตีน ได้แก่ เอนไซม์ทริปซิน
 (trypsin) ไคโมทริปซิน(chymotrypsin) คาร์
 บอกซิเพปทิเดส(carboxypeptidase) ผนังด้าน
 ในของเซลล์ยังเป็นคลื่นและมีส่วนยื่นออก
 มาเป็นปุ่มเล็กๆ จำานวนมากมายเรียกว่า
 วิลลัส (Villus) วิลลัสช่วยเพิ่มพื้นทีผิวในการ
                                      ่
 ดูดซึมให้มากขึ้น ผิวด้านนอกของเซลล์ยัง
 ยื่นออกไป            เรียกว่าไมโคลวิลไล
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย
               อาหาร
• ลำาไส้ใหญ่ ในลำาไส้ใหญ่จะไม่มการย่อย
                               ี
 อาหาร เมื่อลำาไส้ใหญ่รับ กากอาหารมา
 จากลำาไส้เล็ก แล้วผนังของลำาไส้ใหญ่จะดูด
 นำ้าและ      แร่ธาตุจากกากอาหารเข้าสู่
 กระแสเลือด กากอาหารที่หมักในลำาไส้ใหญ่
 จะทำาให้เกิดก๊าซขึ้น กากอาหารค้างอยู่ใน
 ลำาไส้ใหญ่นานเกินไป ทำาให้เกิด อาการที่
 เรียกว่า ท้องผูก ซึ่งมีหลายประการ เช่น
 ลักษณะของอาหารที่รับประทาน เป็นอาหาร
 พวกเนื้อสัตว์และขาดการออกกำาลังกาย
ภาพของระบบอวัยวะย่อยอาหาร
            • กระเพาะอาหาร
              (Stomach)
            • ลำาไส้เล็ก
              (SmallIntestine)
            • ลำาไส้ใหญ่
              (LargeIntestine
            • ซีกัม (Cecum)
            • โคลอน (Colon)
            • เร็กตัม (Rectum)
อวัยวะที่ชวยในการย่อย
          ่

 1. ตับ เป็นอวัยวะซึ่งมี
   ต่อมที่ใหญ่ที่สุดของ
   ร่างกายอยู่ช่องท้องใต้
   กระบังลม ทำาหน้าที่
   สร้างนำ้าดี แล้วนำาไป
   เก็บสะสมไว้ในถุงนำ้าดี

 2. ตับอ่อน ซึ่งเป็นอวัยวะ
   ที่ช่วยในการย่อย
แบบทดสอบ
แบบทดสอบ เรื่อง
ระบบย่อยอาหารของมนุษย์



                  กลับหน้าแรก

More Related Content

Viewers also liked

ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
พัน พัน
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
พัน พัน
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 

Viewers also liked (10)

ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
Slideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทยSlideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทย
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 

1158642882 %c3%d0%ba%ba%c2%e8%cd%c2%cd%d2%cb%d2%c3%a2%cd%a7%c1%b9%d8%c9%c2%ec2

  • 1. เรือง ระบบย่อยอาหาร ่ ของมนุษย์ จัดทำาโดย 1.น.ส.กนกลดา แก้วตีนแท่น เลขที่ 6 ชั้น ม.4/2 2.น.ส.สุพัตรา สุโคตร เลขที่ 16 ชั้น ม.4/2 3.น.ส.อัมรา เลพล เลขที่ 26 ชั้น ม.4/2 4.น.ส.สุนิสา นานนท์ เลขที่ 36 ชั้น
  • 2. ประเภทของการย่อยอาหาร • การย่อยอาหารมี 2 วิธี คือ 1. การย่อยเชิงกล(Mechanical digestion) คือ อาหารทีถูกฟันบดเคี้ยวทำาให้มีขนาดเล็กลง ่ แต่ยังไม่สามารถแปรสภาพอาหารที่มี โมเลกุล ใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลง 2. การย่อยทางเคมี(Chemical digestion) คือ อาหารเหล่านี้จะถูกย่อยให้เป็นโมเลกุลให้ เล็กลงไปอีกโดยเอนไซม์ในนำ้าลาย จะมีนำ้า
  • 3. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย อาหาร • ปาก เป็น อวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วย - ฟัน ทำาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ ละเอียด - ลิ้น ทำาหน้าทีส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และ ่ คลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ง่ายต่อการบด เคี้ยวของฟัน
  • 4. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย อาหาร • หลอดอาหาร ทำาหน้าที่หดตัว บีบอาหารลง สู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมี ผนังที่ยืดและหดตัวได้บริเวณคอหอย มีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหาร ส่วนบนของหลอดลม มีแผ่นกระดูกอ่อน ปิดกั้นกันอาหารเข้าไปในหลอดลม ขณะ กลืนอาหารเรียกว่า“ฝาปิดกล่องเสียง” (epiglotottis) เพดานอ่อนจะถูกดันยกไปปิด ช่องหายใจ อากาศผ่านช่องนี้ไม่ได้ อาหาร
  • 5. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย อาหาร • ลำาไส้เล็ก มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำาไส้เล็กมีนำ้า ย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ถ้านำ้าย่อยในลำาไส้เล็กไม่พอ จะมีนำ้าย่อย จากตับและ ตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะ สร้างนำ้าดีสำาหรับย่อยไขมันให้ มี ขนาดเล็ก ที่ลำาไส้เล็กจะเป็นการย่อยครั้ง สุดท้ายจนอาหาร มีขนาดเล็กที่สุด สามารถซึมผ่านผนังลำาไส้กล้ามเนื้อหูรูด
  • 6. นำ้าย่อยในลำาไส้เล็ก • นำ้าย่อยโปรตีน ได้แก่ เอนไซม์ทริปซิน (trypsin) ไคโมทริปซิน(chymotrypsin) คาร์ บอกซิเพปทิเดส(carboxypeptidase) ผนังด้าน ในของเซลล์ยังเป็นคลื่นและมีส่วนยื่นออก มาเป็นปุ่มเล็กๆ จำานวนมากมายเรียกว่า วิลลัส (Villus) วิลลัสช่วยเพิ่มพื้นทีผิวในการ ่ ดูดซึมให้มากขึ้น ผิวด้านนอกของเซลล์ยัง ยื่นออกไป เรียกว่าไมโคลวิลไล
  • 7. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย อาหาร • ลำาไส้ใหญ่ ในลำาไส้ใหญ่จะไม่มการย่อย ี อาหาร เมื่อลำาไส้ใหญ่รับ กากอาหารมา จากลำาไส้เล็ก แล้วผนังของลำาไส้ใหญ่จะดูด นำ้าและ แร่ธาตุจากกากอาหารเข้าสู่ กระแสเลือด กากอาหารที่หมักในลำาไส้ใหญ่ จะทำาให้เกิดก๊าซขึ้น กากอาหารค้างอยู่ใน ลำาไส้ใหญ่นานเกินไป ทำาให้เกิด อาการที่ เรียกว่า ท้องผูก ซึ่งมีหลายประการ เช่น ลักษณะของอาหารที่รับประทาน เป็นอาหาร พวกเนื้อสัตว์และขาดการออกกำาลังกาย
  • 8. ภาพของระบบอวัยวะย่อยอาหาร • กระเพาะอาหาร (Stomach) • ลำาไส้เล็ก (SmallIntestine) • ลำาไส้ใหญ่ (LargeIntestine • ซีกัม (Cecum) • โคลอน (Colon) • เร็กตัม (Rectum)
  • 9. อวัยวะที่ชวยในการย่อย ่ 1. ตับ เป็นอวัยวะซึ่งมี ต่อมที่ใหญ่ที่สุดของ ร่างกายอยู่ช่องท้องใต้ กระบังลม ทำาหน้าที่ สร้างนำ้าดี แล้วนำาไป เก็บสะสมไว้ในถุงนำ้าดี 2. ตับอ่อน ซึ่งเป็นอวัยวะ ที่ช่วยในการย่อย