SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและ พรบ.คอมพิวเตอร์
 คุณธรรมจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทาสาเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอานาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
 10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ
การทางานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทาให้สังคมอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทาให้
สังคมอินเทอร์เน็ตน่าใช้และเป็นประโยชน์กิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติจะต้องหลีกเลี่ยงในการส่งกระจายข่าวลือไปเป็นจานวน
มาบนเครือข่ายการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบลูกโซ่ เป็นต้น ดังนั้นนักเรียนควรปฏิบัติตามกฎกติกา มารยาท หรือจรรยาบรรณ
ของการรวบรวมเว็บไซด์ต่างๆ เอาไว้เราเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการแล้วเข้าใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่อไปนี้คือ
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์(Chat )
· การใช้กระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
· การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์(Chat)
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการโต้ตอบแบบออนไลน์หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าChat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทอีก
อย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทสาคัญดังนี้
· ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วยหรือมีเรื่องสาคัญที่จะติดต่อด้วย
 · ควรใช้วาจาสุภาพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน
· ก่อนเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการเรียก เพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไป
ปรากฎบนจอภาพ ของฝ่ายที่ถูกเรียกซึ่งจะทาให้สร้างปัญหาในการทางานได้
·การใช้บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ดให้ผู้ใช้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือข้อมูลข่าวสารถึงกัน ดังนั้น
ในการใช้ บริการควรเคารพกฎ กติกา มารยาทดังนี้
· ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังการระเมิดหรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
· ไม่ควรนาข้อความที่ผู้อื่นเขียน ไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง
· ไม่ควรใช้ข้อความขบขัน คาเฉพาะ คากากวม และคาหยาบคายในการเขียนข่าว
· ในการเขียนคาถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องเขียนให้ตรงกับกลุ่มและเมื่อจะตอบต้องตอบให้ตรงประเด็น
 จริยธรรมในการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
1. ไม่โฆษณาหรือเสนอขายสินค้า
2. รู้ตัวว่ากาลังกล่าวอะไร
3. ถ้าไม่เห็นด้วยกับหลักพื้นฐานของรายชื่อกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิก ก็ควรออกจากกลุ่มไม่ควรโต้แย้ง
4. คิดก่อนเขียน
5. อย่าใช้อารมณ์
6. พยายามอ่านคาถามที่ถามบรอย (FAQ) ก่อนเสมอ
7. ไม่ส่งข่าวสารที่กล่าวร้าย หลอกลวง หยาบคาย ข่มขู่
8. ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมล์ขยะ
9. ถ้าสงสัยไม่ทาดีกว่า
 10. รู้ไว้ด้วยว่าสาหรับผู้เขียน คือ บันทึกฉันท์เพื่อน แต่สาหรับผู้รับ คือ ข้อความที่จารึกไว้บนศิลา
จารึก
11. ให้ความระมัดระวังกับคาเสียดสี และอารมณ์ขัน
12. อ่านข้อความในอีเมล์ให้ละเอียดก่อนส่ง ความประณีตและตัวสะกด การันต์ เป็นสิ่งที่ควรคานึงถึง
13. ดูรายชื่อผู้รับให้ดีว่า เขาคือคนที่เราตั้งใจจะส่งไปถึง
 พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการ
สมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น
ไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่าอุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม
การทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์
ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพ
ที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่าข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึง
แหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
 (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดย
ผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์
ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
 มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อ
ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
 หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มี
ไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านามาตรการดังกล่าว
ไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสอง
หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้
สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ
ผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคล
ทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๙ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถ
ทางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการ
รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
 มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่
มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี
 มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗
มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย
แก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่น
ตระหนกแก่ประชาชน
 (๓) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
เกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม(๑)(๒) (๓) หรือ (๔)
 มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความ
ควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๑๔
 มาตรา ๑๖ ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพ
นั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทา
ให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทาไม่มี
ความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ให้บิดา มารดา
คู่สมรส หรือ บุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย
 มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ
(๑) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ หรือ
(๒) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ
จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
 หมวด ๒
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ใน
การใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผู้กระทาความผิด
(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้มาเพื่อให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจง
เป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยู่ในรูปแบบที่สามารถเข้าใจได้
(๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือจากบุคคลอื่นที่
เกี่ยวข้อง
(๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุม
ของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
(๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่
(๕) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
 (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคล
ใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดหรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็นให้ด้วยก็ได้
(๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใดหรือสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับหรือให้
ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับดังกล่าว
(๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จาเป็นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิดและผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
 มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการตามคาร้องทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอัน
ควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทาหรือกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ต้องใช้อานาจลักษณะของการ
กระทาความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและผู้กระทาความผิดเท่าที่สามารถจะระบุได้ประกอบคาร้องด้วยในการ
พิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็วเมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตแล้วก่อนดาเนินการตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนา
บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องใช้อานาจตามมาตรา ๑๘(๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็น
หลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรือ
ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
 (๘) ส่งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่
เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า
มีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นเกินความจาเป็น การยึดหรืออายัดตามมาตรา๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสาเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้เจ้าของ
หรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจาเป็นที่
ต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้ง
เดียวหรือหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจาเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงาน
เจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
 มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจ
กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจ
ยื่นคาร้อง พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ ในกรณีที่
ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่หลาย
นั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้บริการระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้
 มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยู่ด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่อาจยื่นคาร้องต่อศาล
ที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้ามจาหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ทาลายหรือแก้ไข
ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้หรือจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้มีไว้ในครอบครองหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดังกล่าวก็ได้ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์
ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสียหายถูกทาลาย ถูกแก้ไข
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้องหรือปฏิบัติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้หรือโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็น
ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้องกันหรือแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าวข้างต้นตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการที่ได้มา
ตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
หรือเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่
โดยมิชอบหรือเป็นการกระทาตามคาสั่งหรือที่ได้รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทาโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ
ผู้ใช้บริการที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และ
เปิดเผยข้อมูลนั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
 มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ ให้อ้างและ
รับฟังเป็นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบพยานได้ แต่ต้อง
เป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
 มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบ
คอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่
เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็นเพื่อให้สามารถระบุ
ตัวผู้ใช้บริการ นับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง ความในวรรค
หนึ่งจะใช้กับผู้ให้บริการประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผู้ให้บริการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
 มาตรา ๒๗ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของศาลหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของ
ศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็นรายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
 มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชานาญ
เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกาหนด
 มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้น
ผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรือรับคากล่าวโทษ และมีอานาจในการ
สืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ ควบคุม ค้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดี
ผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอานาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้นผู้ใหญ่ หรือพนักงาน
สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู้กากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และ
รัฐมนตรีมีอานาจ ร่วมกันกาหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดาเนินการตามวรรคสอง
 มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจาตัวของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
 หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็น
ส่วนสาคัญ ของการประกอบกิจการ และการดารงชีวิตของมนุษย์หากมีผู้กระทาด้วยประการใด ๆ ให้ระบบ
คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานตามคาสั่งที่กาหนดไว้หรือทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่กาหนดไว้หรือใช้
วิธีการใด ๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือทาลายข้อมูลของบุคคลอื่น ในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ หรือใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ หรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย
กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐรวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน
สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทาดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
 พรบ.คอมพิวเตอร์ฉบับชาวบ้าน
 ข้อมูลนี้….ได้รับจากการส่งต่ออีเมล์ เห็นว่าเป็นประโยชน์เลยเอามาลงให้ได้รับข้อมูลกันกับคนใช้งานอินเตอร์เน็ต เข้าใจง่ายได้
ใจความ
 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ กาลังจะมีการประกาศใช้ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 พวก
เราเลยต้องมารับรู้กันซะหน่อย ว่าทาอะไรผิดบ้างถึงจะถูกกฎหมายนี้ลงโทษเอาได้พวกเราจะได้ระวังตัวกัน ไม่เผลอไผลให้อารมณ์พาไปจน
ทาผิดเน้อะ!!!
จะถอดความโดยสรุปเลยก็แล้วกันนะ ว่าทาอะไรผิดแล้วจะโดนลงโทษบ้าง
 1. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป … เจอคุก 6 เดือน
2. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้าน แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ … เจอคุกไม่เกินปี
3. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา … เจอคุกไม่เกิน 2 ปี
4. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา … เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
5. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
6. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทางานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet หรือ message หรือ virus หรือ trojan หรือ worm หรือ (โอ๊ย
เยอะ) เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
 7. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทาตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้า ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทาให้
เขาเบื่อหน่ายราคาญ … เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
8. ถ้าเราทาผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น
9. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้ใครๆ ทาเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้… เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน
10. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอานาจรัฐก็โดน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
11. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ10. โดนเหมือนกัน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
12. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนนซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน …
เจอคุกไม่เกิน 3 ปี
13. เราทาผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ
14. ฝรั่งทาผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย ก็เรียกร้องเอาผิดได้เหมือนกัน (จริงดิ?)
 กฎหมายออกมาแล้ว ก็คงต้องระวังตัวกันให้มากขึ้นนะพวกเรา… จงถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท
 พรบ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ VS ชาว IT
 ——————————————————————————–
เมื่อได้อ่าน พรบ. ว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แล้ว เริ่มเครียดครับเนื่องจาก ผู้ให้บริการ Hosting และ Webprograming
ต้องยุ่งยากในการเขียนเก็บข้อมูลของผู้เข้ามาใช้งาน ว่าโดยเฉพาะการ เช็ค IP , วันเวลาที่เข้ามาใช้งาน และอีกหลาย ๆ อย่างซึ่งนอกจากเรื่องการ
พัฒนาโปรแกรมแล้ว ยังต้องมีการเก็บไฟล์ซึ่งทาให้ฐานข้อมูลโตขึ้นอีกด้วย ทั้งยังเว็บบอร์ด อันเป็นที่นิยมของเหล่านักโพส ทั้งหลาย ซึ่งวันนึง
วันนึง ไม่รู้มีใครมาโพส เป็นจานวนร้อย – พัน ต่อวัน คราวนี้เหล่าชาวเว็บมาสเตอร์ และผู้ดูแลโฮสติ้ง ต้องหนาว ๆ ร้อน ๆ ไปตาม ๆ กัน ต่อไป
ใครทาอาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ขาข้างนึงคงก้าวเข้าไปอยู่ในคุกล่ะนะครับ
 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ เอกสาร ผ่านการเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ การลงพระปรมาภิไธย
และการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๐ และจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐
 พระราชบัญญัตินี้ จะมีผลกระทบกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โดยทั่วไป เพราะหากท่านทาให้เกิดการกระทาความผิดทาง
คอมพิวเตอร์ (ไม่ว่าจะบังเอิญหรือตั้งใจ) ก็อาจจะมีผลกับท่าน และที่สาคัญ คือผู้ให้บริการ ซึ่งรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆที่เปิดบริการอินเทอร์เน็ต
ให้แก่ผู้อื่นหรือกลุ่มพนักงาน/นักศึกษาในองค์กร ท่านมีหน้าที่หลายอย่าง ในฐานะ “ผู้ให้บริการ”
 พระราชบัญญัตินี้ จะมีผลกระทบกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โดยทั่วไป เพราะหากท่านทาให้เกิดการกระทาความผิดทาง
คอมพิวเตอร์ (ไม่ว่าจะบังเอิญหรือตั้งใจ) ก็อาจจะมีผลกับท่าน และที่สาคัญ คือผู้ให้บริการ ซึ่งรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆที่เปิดบริการอินเทอร์เน็ต
ให้แก่ผู้อื่นหรือกลุ่มพนักงาน/นักศึกษาในองค์กร ท่านมีหน้าที่หลายอย่าง ในฐานะ “ผู้ให้บริการ”
 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
ในฐานะบุคคลธรรมดาท่านไม่ควรทาในสิ่งต่อไปนี้ เพราะอาจจะเป็นหนทางที่ทาให้ท่าน “กระทาความผิด” ตาม พรบ.นี้
 อย่าบอก password ของท่านแก่ผู้อื่น
 อย่าให้ผู้อื่นยืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเข้าเน็ต
อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือที่ทางานโดยไม่ใช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและการเข้ารหัสลับ
อย่าเข้าสู่ระบบด้วย user ID และ password ที่ไม่ใช่ของท่านเอง
อย่านา user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรือเผยแพร่
อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย
อย่า กด “remember me” หรือ “remember password” ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และอย่า log-in เพื่อทาธุรกรรมทางการเงินที่เครื่อง
สาธารณะ ถ้าท่านไม่ใช่เซียนทาง computer security
อย่าใช้WiFi (Wireless LAN) ที่เปิดให้ใช้ฟรี โดยปราศจากการเข้ารหัสลับข้อมูล
อย่าทาผิดตามมาตรา ๑๔ ถึง ๑๖ เสียเอง ไม่ว่าโดยบังเอิญ หรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
 ทาไมเราจึงควรปฏิบัติตามคาแนะนาข้างบนนี้? เชิญอ่านรายละเอียดเต็มๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไม่ควรทา เพื่อทราบเหตุผล และความผิดที่เกี่ยวข้อง
 ผู้ให้บริการ
ผู้ให้บริการ อาจจะเป็นท่าน หรือหน่วยงานของท่าน ผู้ให้บริการมีหน้าที่และสิ่งที่ต้องทามากกว่าบุคคลทั่วไป สิ่งที่ท่านต้องเข้าใจ คือ
 ผู้ให้บริการ นอกจากจะหมายถึง Internet Service Provider ทั่วไปแล้ว ยังหมายถึง ผู้ดูแลเว็บ และครอบคลุมถึงหน่วยงานที่มีการจัดบริการ
ออนไลน์ บริการใช้อินเทอร์เน็ตและเครือข่ายทั่วไปในหน่วยงานของตนเองอีกด้วย เจ้าของร้านอินเทอร์เน็ต เจ้าของเว็บไซต์ รวมทั้งเจ้าของเว็บบอร์ด ล้วนแล้วเข้า
ข่ายที่จะเป็นผู้ให้บริการทั้งสิ้น หากท่านเปิดบริการให้สาธารณชน เข้ามาใช้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต หรือสามารถแพร่ข้อความ ภาพ และเสียง ผ่านเว็บที่ท่านเป็น
เจ้าของ
 ผู้ให้บริการตามกฎหมายนี้ ต้องทาตามหน้าที่ของ ผู้ให้บริการ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติฯนี้ กล่าวคือ
“มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้
เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษ เฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้
ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการ และ
ต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง…
ผู้ให้บริการผู้ใดไม่ปฎิบัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท”
เพื่ออานวยความสะดวกในการทาหน้าที่ของผู้ให้บริการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะ
ออกประกาศ เรื่องหลักเกณฑ์การเก็บรักษา Traffic data ของผู้ให้บริการ เพื่อให้ผู้ให้บริการทุกแบบ สามารถทาหน้าที่
เก็บ logfileของข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ได้ตรงตามความจาเป็นขั้นต่าประกาศดังกล่าวนี้ ยังเป็นหนทางที่จะทาให้
เกิดธุรกิจบริการรับฝากข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ขึ้นได้เพราะจะมีผู้ให้บริการขนาดเล็กจานวนมาก ที่ไม่สามารถทาตาม
พรบ.นี้ได้ด้วยตนเอง
(อาจมีประกาศอื่นตามมาอีก)
 หลักในการเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับกฎหมายนี้
ในการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ให้น่าเชื่อถือ ขอให้ท่านยึดหลักการง่ายๆดังนี้
 ข้อมูลที่เก็บต้องมีรายการที่สามารถระบุว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ เป็นใคร เข้ามาทางเครือข่ายทางประตูใดมีหมายเลข
IP อะไร ใช้โปรแกรมประยุกต์อะไร ในห้วงเวลาใด
นาฬิกาของเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสาร ต้องมีการตั้งเวลาให้ตรงกับนาฬิกาอะตอมที่ใช้อ้างอิง เช่น ที่
NIST (สหรัฐอเมริกา) กรมอุทกศาสตร์ (กองทัพเรือ) สถาบันมาตรวิทยา (กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
หรือใช้เทียบเวลากับเครื่อง time server ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น เนคเทค (ntp://clock.nectec.or.th)
ซึ่งอุปกรณ์เครือข่ายทั่วไป รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์มาตรฐานทั่วไปสามารถตั้งเวลาให้ตรงกับเวลามาตรฐานโลกได้
ด้วยความแม่นยาในระดับ 1 มิลลิวินาทีหรือดีกว่านี้
ข้อมูลจราจร ต้องมีการจัดเก็บอย่างปลอดภัยไม่เสี่ยงต่อการถูกแก้ไข หรือสื่อข้อมูลเสื่อมคุณภาพ ในระยะเวลาไม่น้อย
กว่า 90 วัน

อ้างอิง
 http://iladapress.wordpress.com/2012/02/11/%E0%B8%84%E0
%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3
%E0%B8%A1-
%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8
%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%83%E0
%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83
%E0%B8%8A/
จัดทาโดย
นางสาว ภัทรวรินทร์ กัณฑษา เลขที่ 41
มัธยมศึกษาปีที่ 4/2

More Related Content

What's hot

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์bomch
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007Sugapor
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550Sitdhibong Laokok
 
พรบคอมพวเตอร์
พรบคอมพวเตอร์พรบคอมพวเตอร์
พรบคอมพวเตอร์peter dontoom
 
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)Jiraprapa Noinoo
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติsnoopymay
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2snoopymay
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1unpung
 

What's hot (17)

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ธนาวัตร
ธนาวัตรธนาวัตร
ธนาวัตร
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
 
พรบคอมพวเตอร์
พรบคอมพวเตอร์พรบคอมพวเตอร์
พรบคอมพวเตอร์
 
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2
 
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
 
Thailand's Computer Crime Act 2007
Thailand's Computer Crime Act 2007Thailand's Computer Crime Act 2007
Thailand's Computer Crime Act 2007
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
พ.ร.บ. คอมฯ
พ.ร.บ. คอมฯพ.ร.บ. คอมฯ
พ.ร.บ. คอมฯ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
 

Viewers also liked

พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์thitichok
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Cyber securitypeople
Cyber securitypeopleCyber securitypeople
Cyber securitypeoplentc thailand
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้าน
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้านพรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้าน
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้านRattanaporn Yaowarath
 
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ethical Issues in Health Information Privacy
Ethical Issues in Health Information PrivacyEthical Issues in Health Information Privacy
Ethical Issues in Health Information PrivacyNawanan Theera-Ampornpunt
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์jommjmm
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Cyber security
Cyber securityCyber security
Cyber securitySiblu28
 
Cyber security presentation
Cyber security presentationCyber security presentation
Cyber security presentationBijay Bhandari
 
Cybercrime.ppt
Cybercrime.pptCybercrime.ppt
Cybercrime.pptAeman Khan
 
Cyber crime and security ppt
Cyber crime and security pptCyber crime and security ppt
Cyber crime and security pptLipsita Behera
 

Viewers also liked (19)

พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Cyber securitypeople
Cyber securitypeopleCyber securitypeople
Cyber securitypeople
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้าน
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้านพรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้าน
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับชาวบ้าน
 
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)
Ramathibodi Security & Privacy Training for Health Personnel (April 17, 2015)
 
Ethical Issues in Health Information Privacy
Ethical Issues in Health Information PrivacyEthical Issues in Health Information Privacy
Ethical Issues in Health Information Privacy
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
Overview of Health IT (October 2, 2016)
Overview of Health IT (October 2, 2016)Overview of Health IT (October 2, 2016)
Overview of Health IT (October 2, 2016)
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)
Health IT & Smart Hospitals (October 19, 2016)
 
Hl7 Standards (November 6, 2016)
Hl7 Standards (November 6, 2016)Hl7 Standards (November 6, 2016)
Hl7 Standards (November 6, 2016)
 
ICT in Healthcare
ICT in HealthcareICT in Healthcare
ICT in Healthcare
 
Cyber security
Cyber securityCyber security
Cyber security
 
Cyber security presentation
Cyber security presentationCyber security presentation
Cyber security presentation
 
Cybercrime.ppt
Cybercrime.pptCybercrime.ppt
Cybercrime.ppt
 
Ppt on internet
Ppt on internetPpt on internet
Ppt on internet
 
Cyber crime and security ppt
Cyber crime and security pptCyber crime and security ppt
Cyber crime and security ppt
 

Similar to คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ

พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptx
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptxกฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptx
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptxssuserccd5c3
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์thitichok
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์thitichok
 
Natee613
Natee613Natee613
Natee613natee5
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และmildthebest
 
Natee613
Natee613Natee613
Natee613natee5
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 

Similar to คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ (20)

พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptx
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptxกฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptx
กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์.pptx
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Natee613
Natee613Natee613
Natee613
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
Natee613
Natee613Natee613
Natee613
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 

More from phataravarin89

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตphataravarin89
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์phataravarin89
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์phataravarin89
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์phataravarin89
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตphataravarin89
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์phataravarin89
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1phataravarin89
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1phataravarin89
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1phataravarin89
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1phataravarin89
 

More from phataravarin89 (11)

การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Phataravarin
PhataravarinPhataravarin
Phataravarin
 

คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ

  • 2.  คุณธรรมจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต กล่าวถึงบัญญัติสิบประการของการใช้คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ 1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่น 2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น 3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย 5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ 6. ไม่ใช้หรือทาสาเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์ 7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอานาจหน้าที่ 8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
  • 3.  10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ การทางานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทาให้สังคมอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์จะทาให้ สังคมอินเทอร์เน็ตน่าใช้และเป็นประโยชน์กิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติจะต้องหลีกเลี่ยงในการส่งกระจายข่าวลือไปเป็นจานวน มาบนเครือข่ายการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบลูกโซ่ เป็นต้น ดังนั้นนักเรียนควรปฏิบัติตามกฎกติกา มารยาท หรือจรรยาบรรณ ของการรวบรวมเว็บไซด์ต่างๆ เอาไว้เราเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการแล้วเข้าใช้อินเทอร์เน็ตในด้านต่อไปนี้คือ · การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์(Chat ) · การใช้กระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด · การใช้บริการพูดคุยกันแบบออนไลน์(Chat) บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการโต้ตอบแบบออนไลน์หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าChat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทอีก อย่างหนึ่งว่า Chat ดังนั้นในการสนทนาจะต้องมีมารยาทสาคัญดังนี้ · ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วยหรือมีเรื่องสาคัญที่จะติดต่อด้วย
  • 4.  · ควรใช้วาจาสุภาพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน · ก่อนเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการเรียก เพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไป ปรากฎบนจอภาพ ของฝ่ายที่ถูกเรียกซึ่งจะทาให้สร้างปัญหาในการทางานได้ ·การใช้บริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ด บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีบริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ดให้ผู้ใช้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือข้อมูลข่าวสารถึงกัน ดังนั้น ในการใช้ บริการควรเคารพกฎ กติกา มารยาทดังนี้ · ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังการระเมิดหรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น · ไม่ควรนาข้อความที่ผู้อื่นเขียน ไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง · ไม่ควรใช้ข้อความขบขัน คาเฉพาะ คากากวม และคาหยาบคายในการเขียนข่าว · ในการเขียนคาถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องเขียนให้ตรงกับกลุ่มและเมื่อจะตอบต้องตอบให้ตรงประเด็น
  • 5.  จริยธรรมในการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ไม่โฆษณาหรือเสนอขายสินค้า 2. รู้ตัวว่ากาลังกล่าวอะไร 3. ถ้าไม่เห็นด้วยกับหลักพื้นฐานของรายชื่อกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิก ก็ควรออกจากกลุ่มไม่ควรโต้แย้ง 4. คิดก่อนเขียน 5. อย่าใช้อารมณ์ 6. พยายามอ่านคาถามที่ถามบรอย (FAQ) ก่อนเสมอ 7. ไม่ส่งข่าวสารที่กล่าวร้าย หลอกลวง หยาบคาย ข่มขู่ 8. ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมล์ขยะ 9. ถ้าสงสัยไม่ทาดีกว่า
  • 6.  10. รู้ไว้ด้วยว่าสาหรับผู้เขียน คือ บันทึกฉันท์เพื่อน แต่สาหรับผู้รับ คือ ข้อความที่จารึกไว้บนศิลา จารึก 11. ให้ความระมัดระวังกับคาเสียดสี และอารมณ์ขัน 12. อ่านข้อความในอีเมล์ให้ละเอียดก่อนส่ง ความประณีตและตัวสะกด การันต์ เป็นสิ่งที่ควรคานึงถึง 13. ดูรายชื่อผู้รับให้ดีว่า เขาคือคนที่เราตั้งใจจะส่งไปถึง
  • 7.  พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการ สมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”  มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป  มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่าอุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม การทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพ ที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่าข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึง แหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
  • 8.  (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดย ผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี”หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้  มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
  • 9.  หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มี ไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านามาตรการดังกล่าว ไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสอง หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้ สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ ผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคล ทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๙ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 10.  มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถ ทางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการ รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท  มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่ มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี  มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้อื่นหรือประชาชน (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่น ตระหนกแก่ประชาชน
  • 11.  (๓) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด เกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม(๑)(๒) (๓) หรือ (๔)  มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความ ควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๑๔  มาตรา ๑๖ ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพ นั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทา ให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทาไม่มี ความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย  มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ (๑) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ หรือ (๒) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
  • 12.  หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทา ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ใน การใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผู้กระทาความผิด (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้มาเพื่อให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจง เป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยู่ในรูปแบบที่สามารถเข้าใจได้ (๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือจากบุคคลอื่นที่ เกี่ยวข้อง (๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุม ของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ (๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทา ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่ (๕) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
  • 13.  (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคล ใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดหรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็นให้ด้วยก็ได้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใดหรือสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับหรือให้ ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับดังกล่าว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จาเป็นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิดและผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้  มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการตามคาร้องทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอัน ควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทาหรือกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ต้องใช้อานาจลักษณะของการ กระทาความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและผู้กระทาความผิดเท่าที่สามารถจะระบุได้ประกอบคาร้องด้วยในการ พิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็วเมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตแล้วก่อนดาเนินการตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนา บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องใช้อานาจตามมาตรา ๑๘(๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็น หลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
  • 14.  (๘) ส่งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่ เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า มีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ นั้นเกินความจาเป็น การยึดหรืออายัดตามมาตรา๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสาเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้เจ้าของ หรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจาเป็นที่ ต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้ง เดียวหรือหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจาเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงาน เจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง  มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจ กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจ ยื่นคาร้อง พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ ในกรณีที่ ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่หลาย นั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้บริการระงับการทาให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้
  • 15.  มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยู่ด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่อาจยื่นคาร้องต่อศาล ที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้ามจาหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ทาลายหรือแก้ไข ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้หรือจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้มีไว้ในครอบครองหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดังกล่าวก็ได้ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสียหายถูกทาลาย ถูกแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้องหรือปฏิบัติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้หรือโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็น ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้องกันหรือแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าวข้างต้นตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา  มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการที่ได้มา ตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชน์ในการดาเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่ โดยมิชอบหรือเป็นการกระทาตามคาสั่งหรือที่ได้รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทาโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ ผู้ใช้บริการที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ  มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และ เปิดเผยข้อมูลนั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 16.  มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ ให้อ้างและ รับฟังเป็นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบพยานได้ แต่ต้อง เป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น  มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่ เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็นเพื่อให้สามารถระบุ ตัวผู้ใช้บริการ นับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง ความในวรรค หนึ่งจะใช้กับผู้ให้บริการประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผู้ให้บริการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท  มาตรา ๒๗ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของศาลหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของ ศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็นรายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
  • 17.  มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชานาญ เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกาหนด  มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้น ผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรือรับคากล่าวโทษ และมีอานาจในการ สืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ ควบคุม ค้น การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดี ผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอานาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้นผู้ใหญ่ หรือพนักงาน สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวน ผู้รับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู้กากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และ รัฐมนตรีมีอานาจ ร่วมกันกาหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดาเนินการตามวรรคสอง  มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจาตัวของ พนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • 18.  ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี  หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็น ส่วนสาคัญ ของการประกอบกิจการ และการดารงชีวิตของมนุษย์หากมีผู้กระทาด้วยประการใด ๆ ให้ระบบ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานตามคาสั่งที่กาหนดไว้หรือทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่กาหนดไว้หรือใช้ วิธีการใด ๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือทาลายข้อมูลของบุคคลอื่น ในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ หรือใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ หรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐรวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทาดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
  • 19.  พรบ.คอมพิวเตอร์ฉบับชาวบ้าน  ข้อมูลนี้….ได้รับจากการส่งต่ออีเมล์ เห็นว่าเป็นประโยชน์เลยเอามาลงให้ได้รับข้อมูลกันกับคนใช้งานอินเตอร์เน็ต เข้าใจง่ายได้ ใจความ  พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ กาลังจะมีการประกาศใช้ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 พวก เราเลยต้องมารับรู้กันซะหน่อย ว่าทาอะไรผิดบ้างถึงจะถูกกฎหมายนี้ลงโทษเอาได้พวกเราจะได้ระวังตัวกัน ไม่เผลอไผลให้อารมณ์พาไปจน ทาผิดเน้อะ!!! จะถอดความโดยสรุปเลยก็แล้วกันนะ ว่าทาอะไรผิดแล้วจะโดนลงโทษบ้าง  1. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป … เจอคุก 6 เดือน 2. แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้าน แล้วเที่ยวไปโพนทะนาให้คนอื่นรู้ … เจอคุกไม่เกินปี 3. ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดี ๆ แล้วแอบไปล้วงของเขา … เจอคุกไม่เกิน 2 ปี 4. เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตั๊วส่วนตัว แล้วเราทะลึ่งไปดักจับข้อมูลของเขา … เจอคุกไม่เกิน 3 ปี 5. ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขาดี ๆ เราดันมือบอนไปโมมันซะงั้น … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 6. ระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้านทางานอยู่ดี ๆ เราดันยิง packet หรือ message หรือ virus หรือ trojan หรือ worm หรือ (โอ๊ย เยอะ) เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเดี้ยง … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี
  • 20.  7. เขาไม่ได้อยากได้ข้อมูลหรืออีเมลล์จากเราเล้ย เราก็ทาตัวเป็นอีแอบเซ้าซี้ส่งให้เขาซ้า ๆ อยู่นั่นแหล่ะ จนทาให้ เขาเบื่อหน่ายราคาญ … เจอปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท 8. ถ้าเราทาผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โตในระดับรากหญ้า งานนี้มีซวยแน่ เจอคุกสิบปีขึ้น 9. ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้ใครๆ ทาเรื่องแย่ ๆ ในข้อข้างบน ๆ ได้… เจอคุกไม่เกินปีนึงเหมือนกัน 10. โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอานาจรัฐก็โดน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 11. ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ10. โดนเหมือนกัน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 12. ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนนซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน … เจอคุกไม่เกิน 3 ปี 13. เราทาผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก แต่ถ้าเราเป็นคนไทย หึ ๆ อย่าคิดว่ารอด โดนแหง ๆ 14. ฝรั่งทาผิดกับเรา แล้วมันอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย ก็เรียกร้องเอาผิดได้เหมือนกัน (จริงดิ?)  กฎหมายออกมาแล้ว ก็คงต้องระวังตัวกันให้มากขึ้นนะพวกเรา… จงถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท
  • 21.  พรบ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ VS ชาว IT  ——————————————————————————– เมื่อได้อ่าน พรบ. ว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แล้ว เริ่มเครียดครับเนื่องจาก ผู้ให้บริการ Hosting และ Webprograming ต้องยุ่งยากในการเขียนเก็บข้อมูลของผู้เข้ามาใช้งาน ว่าโดยเฉพาะการ เช็ค IP , วันเวลาที่เข้ามาใช้งาน และอีกหลาย ๆ อย่างซึ่งนอกจากเรื่องการ พัฒนาโปรแกรมแล้ว ยังต้องมีการเก็บไฟล์ซึ่งทาให้ฐานข้อมูลโตขึ้นอีกด้วย ทั้งยังเว็บบอร์ด อันเป็นที่นิยมของเหล่านักโพส ทั้งหลาย ซึ่งวันนึง วันนึง ไม่รู้มีใครมาโพส เป็นจานวนร้อย – พัน ต่อวัน คราวนี้เหล่าชาวเว็บมาสเตอร์ และผู้ดูแลโฮสติ้ง ต้องหนาว ๆ ร้อน ๆ ไปตาม ๆ กัน ต่อไป ใครทาอาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ขาข้างนึงคงก้าวเข้าไปอยู่ในคุกล่ะนะครับ  พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ เอกสาร ผ่านการเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ การลงพระปรมาภิไธย และการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๐ และจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๐  พระราชบัญญัตินี้ จะมีผลกระทบกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โดยทั่วไป เพราะหากท่านทาให้เกิดการกระทาความผิดทาง คอมพิวเตอร์ (ไม่ว่าจะบังเอิญหรือตั้งใจ) ก็อาจจะมีผลกับท่าน และที่สาคัญ คือผู้ให้บริการ ซึ่งรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆที่เปิดบริการอินเทอร์เน็ต ให้แก่ผู้อื่นหรือกลุ่มพนักงาน/นักศึกษาในองค์กร ท่านมีหน้าที่หลายอย่าง ในฐานะ “ผู้ให้บริการ”  พระราชบัญญัตินี้ จะมีผลกระทบกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โดยทั่วไป เพราะหากท่านทาให้เกิดการกระทาความผิดทาง คอมพิวเตอร์ (ไม่ว่าจะบังเอิญหรือตั้งใจ) ก็อาจจะมีผลกับท่าน และที่สาคัญ คือผู้ให้บริการ ซึ่งรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆที่เปิดบริการอินเทอร์เน็ต ให้แก่ผู้อื่นหรือกลุ่มพนักงาน/นักศึกษาในองค์กร ท่านมีหน้าที่หลายอย่าง ในฐานะ “ผู้ให้บริการ”
  • 22.  ผู้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ในฐานะบุคคลธรรมดาท่านไม่ควรทาในสิ่งต่อไปนี้ เพราะอาจจะเป็นหนทางที่ทาให้ท่าน “กระทาความผิด” ตาม พรบ.นี้  อย่าบอก password ของท่านแก่ผู้อื่น  อย่าให้ผู้อื่นยืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเข้าเน็ต อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือที่ทางานโดยไม่ใช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและการเข้ารหัสลับ อย่าเข้าสู่ระบบด้วย user ID และ password ที่ไม่ใช่ของท่านเอง อย่านา user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรือเผยแพร่ อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย อย่า กด “remember me” หรือ “remember password” ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และอย่า log-in เพื่อทาธุรกรรมทางการเงินที่เครื่อง สาธารณะ ถ้าท่านไม่ใช่เซียนทาง computer security อย่าใช้WiFi (Wireless LAN) ที่เปิดให้ใช้ฟรี โดยปราศจากการเข้ารหัสลับข้อมูล อย่าทาผิดตามมาตรา ๑๔ ถึง ๑๖ เสียเอง ไม่ว่าโดยบังเอิญ หรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์  ทาไมเราจึงควรปฏิบัติตามคาแนะนาข้างบนนี้? เชิญอ่านรายละเอียดเต็มๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไม่ควรทา เพื่อทราบเหตุผล และความผิดที่เกี่ยวข้อง  ผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการ อาจจะเป็นท่าน หรือหน่วยงานของท่าน ผู้ให้บริการมีหน้าที่และสิ่งที่ต้องทามากกว่าบุคคลทั่วไป สิ่งที่ท่านต้องเข้าใจ คือ  ผู้ให้บริการ นอกจากจะหมายถึง Internet Service Provider ทั่วไปแล้ว ยังหมายถึง ผู้ดูแลเว็บ และครอบคลุมถึงหน่วยงานที่มีการจัดบริการ ออนไลน์ บริการใช้อินเทอร์เน็ตและเครือข่ายทั่วไปในหน่วยงานของตนเองอีกด้วย เจ้าของร้านอินเทอร์เน็ต เจ้าของเว็บไซต์ รวมทั้งเจ้าของเว็บบอร์ด ล้วนแล้วเข้า ข่ายที่จะเป็นผู้ให้บริการทั้งสิ้น หากท่านเปิดบริการให้สาธารณชน เข้ามาใช้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต หรือสามารถแพร่ข้อความ ภาพ และเสียง ผ่านเว็บที่ท่านเป็น เจ้าของ
  • 23.  ผู้ให้บริการตามกฎหมายนี้ ต้องทาตามหน้าที่ของ ผู้ให้บริการ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติฯนี้ กล่าวคือ “มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษ เฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการ และ ต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง… ผู้ให้บริการผู้ใดไม่ปฎิบัติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท” เพื่ออานวยความสะดวกในการทาหน้าที่ของผู้ให้บริการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะ ออกประกาศ เรื่องหลักเกณฑ์การเก็บรักษา Traffic data ของผู้ให้บริการ เพื่อให้ผู้ให้บริการทุกแบบ สามารถทาหน้าที่ เก็บ logfileของข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ได้ตรงตามความจาเป็นขั้นต่าประกาศดังกล่าวนี้ ยังเป็นหนทางที่จะทาให้ เกิดธุรกิจบริการรับฝากข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ขึ้นได้เพราะจะมีผู้ให้บริการขนาดเล็กจานวนมาก ที่ไม่สามารถทาตาม พรบ.นี้ได้ด้วยตนเอง (อาจมีประกาศอื่นตามมาอีก)
  • 24.  หลักในการเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับกฎหมายนี้ ในการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ให้น่าเชื่อถือ ขอให้ท่านยึดหลักการง่ายๆดังนี้  ข้อมูลที่เก็บต้องมีรายการที่สามารถระบุว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ เป็นใคร เข้ามาทางเครือข่ายทางประตูใดมีหมายเลข IP อะไร ใช้โปรแกรมประยุกต์อะไร ในห้วงเวลาใด นาฬิกาของเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสาร ต้องมีการตั้งเวลาให้ตรงกับนาฬิกาอะตอมที่ใช้อ้างอิง เช่น ที่ NIST (สหรัฐอเมริกา) กรมอุทกศาสตร์ (กองทัพเรือ) สถาบันมาตรวิทยา (กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) หรือใช้เทียบเวลากับเครื่อง time server ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น เนคเทค (ntp://clock.nectec.or.th) ซึ่งอุปกรณ์เครือข่ายทั่วไป รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์มาตรฐานทั่วไปสามารถตั้งเวลาให้ตรงกับเวลามาตรฐานโลกได้ ด้วยความแม่นยาในระดับ 1 มิลลิวินาทีหรือดีกว่านี้ ข้อมูลจราจร ต้องมีการจัดเก็บอย่างปลอดภัยไม่เสี่ยงต่อการถูกแก้ไข หรือสื่อข้อมูลเสื่อมคุณภาพ ในระยะเวลาไม่น้อย กว่า 90 วัน 
  • 26. จัดทาโดย นางสาว ภัทรวรินทร์ กัณฑษา เลขที่ 41 มัธยมศึกษาปีที่ 4/2