SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย
( )
นางสาวฐิตินันท์ วรรณา ม.6/7
รูปร่างเครือข่าย
• เครือข่ายทางกายภาพซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
• 1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (point-to-point)
เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง
เครื่องโดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการ สื่อสารช่องทางเดียวเป็นการจอง
สายในการ ส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับ
อุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ การ เชื่อมต่อลักษณะนี้เป็นการเชื่อมต่อที่ทําให้ สิ้นเปลือง
ช่องทางการสื่อสาร
รูปร่างเครือข่าย
• 2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(multipoint)
เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพ มากขึ้นโดยการ
เชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับ
เครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น โดยมีจุดเชื่อมแยกออกมา
จากสายหลักดังต่อไปนี้
 Bus Topology
เป็นเน็ตเวิร์คที่ง่ายที่สุด และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ด้วยการใช้สายเคเบิ้ลเป็นสายหลัก
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องโดยมีเน็ตเวิร์คการ์ดเป็น ตัวเชื่อมระหว่าง
สายเคเบิ้ลกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะถูกส่งออกไปตามสาย ไปยัง
คอมพิวเตอร์ ทุกๆเครื่อง ไม่สนใจว่าเครื่องไหนคือผู้รับ คอมพิวเตอร์ทุก
เครื่องจะตรวจสอบเอง ว่าข้อมูลที่ ส่งออกมานั้นเป็นของเครื่องตนเอง
หรือไม่
รูปร่างเครือข่าย
• ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบ Bus Topology
1. ประหยัดสะดวก ง่ายต่อการนําอุปกรณ์เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย
2. ใช้สายเคเบิ้ลน้อยกว้าการต่อแบบ Star
3. เป็นโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อนและติดตั้งง่าย
• ข้อจํากัดของการเอมต่อแบบ Bus Topology
1.ระบบเครือข่ายทั้งหมดจะไม่สามารถใช้การได้ ถ้าสายหลักชํารุด
2.จําเป็นต้องมี Terminator ที่ปลายทั้งทั้ง 2 ข้างเป็นหลักเพื่อป้องกันสัญญาณสะท้อนกลับ
3.ค้นหาจุดที่เกิดปัญหาได้ยาก ถ้าระบบเครือข่ายทั้งหมดไม่สามารถใช้การได้
4.จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์มีผลกับประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์ค
5.มีการชนของข้อมูลที่ส่งออกไปมากจนเกิดปัญหา
รูปร่างเครือข่าย
• Ring Topology
• เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในลักษณะของรูปวงแหวนโดยใช้สายเคเบิ้ล
การต่อลักษณะนี้จะไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสุดท้าย การส่งข้อมูลจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์
ทุกเครื่องเป็นรูปวงแหวนในทิศทางเดียวกัน เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งต้องการส่ง
ข้อมูล มันจะทําการใส่ข้อมูลตําแหน่งของเครื่องที่มันต้องการจะส่งไปให้คอมพิวเตอร์
ทุกเครื่องจะนําสัญญาณมาเช็คว่าเป็นของตนเองหรือเปล่า ถ้าไม่ใช่ก็จะส่งไปให้เครื่อง
ต่อไป สัญญาณจะวิ่งไปจนกระทั่งเจอคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น และรับข้อมูลนําไปใช้
เนื่องจากสัญญาณจะวิ่งไปเรื่อยๆ เป็นวงกลมจึงไม่ต้องการอุปกรณ์ปิดหัวท้าย มักจะ
ใช้กับเน็ตเวิร์คที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ไม่ไกลกันมาก
รูปร่างเครือข่าย
Star-Topology
• เป็นลักษณะการเชื่อมต่อโดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าสู่อุปกรณ์
ส่วนกลางที่ เรียกว่า ฮับ (HUB) ข้อมูลหรือสัญญาณจะเดินทางจากเครื่องส่ง
ไปสู่ผู้รับโดยผ่านฮับ
 ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบ Star-Topology
1.ง่ายต่อการต่อการต่ออุปกรณ์และการเดินสาย
2.สามารถแบเพิ่มเติมอุปกรณ์หรือต่ออุปกรณ์ออกได้ง่ายและไม่รบกวนสายอื่น
3.ง่ายต่อการตรวจสอบจุดที่เกิดปัญหาและแยกอุปกรณ์บางส่วนออกจากระบบ
รูปร่างเครือข่าย
 ข้อจํากัดของการเชื่อมต่อแบบ Star-Topology
1. เปลื้องสายเคเบิ้ลมากกว่าแบบ Bus
2.ถ้า Hub หรือ Switch ที่เชื่อมต่ออยู่ตรงกลางมีปัญหา ระบบเครือข่าย
ทั้งหมดจะมีปัญหาไปด้วย
3.ค่าใช้จ่ายสูงกว่าการต่อแบบ Bus เนื่องจากต้องมี Hub หรือ Switch
รูปร่างเครือข่าย
• ประสิทธิภาพของเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้
1. จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเครือข่าย
2.สื่อนําข้อมูล
3.เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
รูปร่างเครือข่าย
ผู้จัดทา โดย
นางสาวฐิตินันท์ วรรณา ม.6/7
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มวันอังคาร1-2

More Related Content

Viewers also liked

Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...
Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...
Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...Suraj Partaap Singh
 
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...Suraj Partaap Singh
 
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...Suraj Partaap Singh
 
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation Course | KnowledgeHut.com
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation  Course | KnowledgeHut.comProject Management Professional(PMP) Exam Preparation  Course | KnowledgeHut.com
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation Course | KnowledgeHut.comKnowledgeHut_Global
 
Delhi Metro Train Blue Line Media - Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...
Delhi Metro Train Blue Line Media -  Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...Delhi Metro Train Blue Line Media -  Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...
Delhi Metro Train Blue Line Media - Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...Suraj Partaap Singh
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)aun-twn
 

Viewers also liked (6)

Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...
Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...
Aligarh Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Advert...
 
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...
Etawah Outdoor Advertising Advertisement Branding Outdoor Advertising Adverti...
 
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...
Indra Gandhi Delhi Airport Outdoor Advertising Advertisement Branding - Shrii...
 
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation Course | KnowledgeHut.com
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation  Course | KnowledgeHut.comProject Management Professional(PMP) Exam Preparation  Course | KnowledgeHut.com
Project Management Professional(PMP) Exam Preparation Course | KnowledgeHut.com
 
Delhi Metro Train Blue Line Media - Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...
Delhi Metro Train Blue Line Media -  Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...Delhi Metro Train Blue Line Media -  Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...
Delhi Metro Train Blue Line Media - Shrii Ganness Advt Outdoor Advertising A...
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
 

More from aun-twn

อ ปกรณ เคร_อข_าย
อ ปกรณ เคร_อข_ายอ ปกรณ เคร_อข_าย
อ ปกรณ เคร_อข_ายaun-twn
 
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นหน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นaun-twn
 
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายหน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายaun-twn
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายaun-twn
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายaun-twn
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)aun-twn
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)aun-twn
 
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นหน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นaun-twn
 

More from aun-twn (8)

อ ปกรณ เคร_อข_าย
อ ปกรณ เคร_อข_ายอ ปกรณ เคร_อข_าย
อ ปกรณ เคร_อข_าย
 
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นหน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายหน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
หน่วยที่ 5 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
 
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)หน่วยที่ 3  รูปร่างเครือข่าย (topology)
หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย (topology)
 
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นหน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 6 คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

หน วยท _ 3 ร_ปร_างเคร_อข_าย (topology) new

  • 1. หน่วยที่ 3 รูปร่างเครือข่าย ( ) นางสาวฐิตินันท์ วรรณา ม.6/7
  • 2. รูปร่างเครือข่าย • เครือข่ายทางกายภาพซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท • 1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (point-to-point) เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง เครื่องโดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการ สื่อสารช่องทางเดียวเป็นการจอง สายในการ ส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับ อุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ การ เชื่อมต่อลักษณะนี้เป็นการเชื่อมต่อที่ทําให้ สิ้นเปลือง ช่องทางการสื่อสาร
  • 3. รูปร่างเครือข่าย • 2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(multipoint) เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพ มากขึ้นโดยการ เชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับ เครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น โดยมีจุดเชื่อมแยกออกมา จากสายหลักดังต่อไปนี้
  • 4.  Bus Topology เป็นเน็ตเวิร์คที่ง่ายที่สุด และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ด้วยการใช้สายเคเบิ้ลเป็นสายหลัก เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องโดยมีเน็ตเวิร์คการ์ดเป็น ตัวเชื่อมระหว่าง สายเคเบิ้ลกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะถูกส่งออกไปตามสาย ไปยัง คอมพิวเตอร์ ทุกๆเครื่อง ไม่สนใจว่าเครื่องไหนคือผู้รับ คอมพิวเตอร์ทุก เครื่องจะตรวจสอบเอง ว่าข้อมูลที่ ส่งออกมานั้นเป็นของเครื่องตนเอง หรือไม่ รูปร่างเครือข่าย
  • 5. • ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบ Bus Topology 1. ประหยัดสะดวก ง่ายต่อการนําอุปกรณ์เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย 2. ใช้สายเคเบิ้ลน้อยกว้าการต่อแบบ Star 3. เป็นโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อนและติดตั้งง่าย • ข้อจํากัดของการเอมต่อแบบ Bus Topology 1.ระบบเครือข่ายทั้งหมดจะไม่สามารถใช้การได้ ถ้าสายหลักชํารุด 2.จําเป็นต้องมี Terminator ที่ปลายทั้งทั้ง 2 ข้างเป็นหลักเพื่อป้องกันสัญญาณสะท้อนกลับ 3.ค้นหาจุดที่เกิดปัญหาได้ยาก ถ้าระบบเครือข่ายทั้งหมดไม่สามารถใช้การได้ 4.จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์มีผลกับประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์ค 5.มีการชนของข้อมูลที่ส่งออกไปมากจนเกิดปัญหา รูปร่างเครือข่าย
  • 6. • Ring Topology • เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในลักษณะของรูปวงแหวนโดยใช้สายเคเบิ้ล การต่อลักษณะนี้จะไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสุดท้าย การส่งข้อมูลจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องเป็นรูปวงแหวนในทิศทางเดียวกัน เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งต้องการส่ง ข้อมูล มันจะทําการใส่ข้อมูลตําแหน่งของเครื่องที่มันต้องการจะส่งไปให้คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะนําสัญญาณมาเช็คว่าเป็นของตนเองหรือเปล่า ถ้าไม่ใช่ก็จะส่งไปให้เครื่อง ต่อไป สัญญาณจะวิ่งไปจนกระทั่งเจอคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น และรับข้อมูลนําไปใช้ เนื่องจากสัญญาณจะวิ่งไปเรื่อยๆ เป็นวงกลมจึงไม่ต้องการอุปกรณ์ปิดหัวท้าย มักจะ ใช้กับเน็ตเวิร์คที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ไม่ไกลกันมาก รูปร่างเครือข่าย
  • 7. Star-Topology • เป็นลักษณะการเชื่อมต่อโดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าสู่อุปกรณ์ ส่วนกลางที่ เรียกว่า ฮับ (HUB) ข้อมูลหรือสัญญาณจะเดินทางจากเครื่องส่ง ไปสู่ผู้รับโดยผ่านฮับ  ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบ Star-Topology 1.ง่ายต่อการต่อการต่ออุปกรณ์และการเดินสาย 2.สามารถแบเพิ่มเติมอุปกรณ์หรือต่ออุปกรณ์ออกได้ง่ายและไม่รบกวนสายอื่น 3.ง่ายต่อการตรวจสอบจุดที่เกิดปัญหาและแยกอุปกรณ์บางส่วนออกจากระบบ รูปร่างเครือข่าย
  • 8.  ข้อจํากัดของการเชื่อมต่อแบบ Star-Topology 1. เปลื้องสายเคเบิ้ลมากกว่าแบบ Bus 2.ถ้า Hub หรือ Switch ที่เชื่อมต่ออยู่ตรงกลางมีปัญหา ระบบเครือข่าย ทั้งหมดจะมีปัญหาไปด้วย 3.ค่าใช้จ่ายสูงกว่าการต่อแบบ Bus เนื่องจากต้องมี Hub หรือ Switch รูปร่างเครือข่าย
  • 10. ผู้จัดทา โดย นางสาวฐิตินันท์ วรรณา ม.6/7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มวันอังคาร1-2