SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
“มหัศจรรย์ของน้ำต่อชีวิต”
คู่มือชีวิต ตอน ๓๑ โดย นพพร เทพสิทธำ
เนชั่นสุดสัปดำห์ ฉบับที่ ๑๑๔๔ วันที่ ๒ พฤษภำคม ๒๕๕๗
(ปรับปรุงแก้ไข วันที่ ๑๕ เมษำยน ๒๕๕๘)
ธรรมชาติ ได้กาหนดให้น้าเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญของชีวิต ที่ใดมีน้า ที่นั้นย่อมมี
ชีวิต น้ำเป็นแหล่งกำเนิดชีวิต เป็นสิ่งหล่อเลี้ยงชีวิต เป็นปัจจัยพื้นฐำนของกำรดำรงชีวิต
แหล่งอำรยธรรมต่ำงๆของโลกล้วนตั้งอยู่ใกล้แหล่งน้ำทั้งสิ้น วัฎจักรของน้า ทำให้เกิดไอน้ำ
ก้อนเมฆ ฝน น้ำค้ำง หิมะ ลูกเห็บ ซึ่งมีผลต่อภูมิอำกำศ และ ทำให้เกิด ถ้ำ หินงอกหินย้อย ลำ
ธำร คลอง แม่น้ำ บึง ทะเลสำบ ซึ่งมีผลต่อภูมิประเทศ
น้า มีบทบาทสาคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง ทั้งภายในประเทศ
ระหว่างประเทศ และ ของโลก ทั้งในด้ำนกำรเกษตร อุตสำหกรรม พลังงำน กำรคมนำคม
กำรค้ำ กำรท่องเที่ยว ศำสนำ วัฒนธรรม
มนุษย์ใช้น้ำชำระควำมสกปรกของร่ำงกำย ของใช้ สถำนที่, ใช้ในกำรประกอบอำหำร,
และ ใช้บริโภค
น้า ปกคลุมร้อยละ ๗๐ ของพื้นผิวโลก ในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยน้าร้อยละ
๗๐ เช่นกัน โดยทั่วไปคนอำจขำดน้ำได้ ๓ – ๕ วัน หำกเกินกว่ำนี้อำจเสียชีวิตได้ ปริมำณน้ำที่
ร่ำงกำยต้องกำร คือ วันละไม่ต่ำกว่ำ ๘ แก้ว (แก้วละ ๒๔๐ ซีซี) น้ำเป็นตัวกลำงในกระบวนกำร
เผำผลำญสำรอำหำรสร้ำงพลังงำนให้แก่เซลล์ในร่ำงกำย, เซลล์จะไม่สำมำรถทำงำนได้ ถ้ำไม่มี
น้ำ, น้ำช่วยลำเลียงสำรอำหำรและของเสีย, ช่วยรักษำระดับควำมเป็นกรดด่ำงของเลือดและ
ของเหลวในร่ำงกำย, ช่วยรักษำอุณหภูมิของร่ำงกำยให้คงที่ ช่วยระบำยควำมร้อนในรูปของ
เหงื่อ, ช่วยสร้ำงควำมชุ่มชื้น ส่งผลให้เกิดควำมยืดหยุ่นกับเซลล์ในร่ำงกำย ฯลฯ
น้า มีคุณค่า และ มีความจาเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิต ทั้งร่างกายและจิตใจ
คงไม่มีใครปฏิเสธ ความสาคัญของน้าต่อชีวิตตน
แต่จะมีสักกี่คน ที่ รู้จักและเข้าใจ น้า อย่างแท้จริง
ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้เราได้เห็นสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนเกี่ยวกับน้า น้า
สามารถซึมซับธรรมชาติรอบตัวและจิตใจคน แสดงออกมาในรูปของผลึกน้าที่
แตกต่างกัน
ดร.มาซารุ อิโมโตะ (Dr.Masaru Emoto) ประธานมูลนิธิอิโมโตะเพื่อสันติภาพ
ได้รับแรงบันดาลใจจากการค้นพบความมหัศจรรย์ของน้า ต้องการสร้างสันติสุขให้กับ
โลก โดยใช้น้าเป็นสื่อ
ดร.มำซำรุ ได้เปิดเผยผลงำนวิจัย ที่เขำใช้เวลำนำนกว่ำสิบปีเก็บตัวอย่ำงน้ำกว่ำหมื่น
ตัวอย่ำง พบว่ำ ผลึกของน้าที่แข็งตัว ณ อุณหภูมิหนึ่ง เมื่อส่องและถ่ายรูปด้วยกล้องที่มี
กาลังขยายสูง จะเห็นรูปลักษณะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อม เสียงดนตรี คาพูด
และ ความรู้สึกนึกคิดของคน
น้ำจำกสถำนที่ธรรมชำติ ผ่ำนเสียงสวดมนต์ คำพูดสุภำพ ควำมรู้สึกดีๆ จะมีผลึกที่
สวยงำม กว่ำน้ำจำกบริเวณโรงงำนอุตสำหกรรม ผ่ำนเสียงเพลงหนักๆ
น้ำที่มีกำรปนเปื้อนสำรเคมีหรือสิ่งสกปรก หรือ จำกบริเวณที่มลภำวะเป็นพิษ จะมีผลึก
ที่น่ำกลัว หรือไม่เป็นผลึกเลย
ดร.มาซารุเชื่อว่า “น้ำสำมำรถใช้เป็นสื่อในกำรถ่ำยทอด ควำมรู้สึกและควำม
ปรำรถนำดี จำกคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งหรือหลำยๆคนได้, เมื่อคำพูดที่ดีกับคำพูด
หยำบคำย มีผลต่อผลึกน้ำ ก็ย่อมมีผลต่อน้ำในร่ำงกำย และ สุดท้ำยก็จะส่งผลต่อ
สุขภำพของเรำและผู้อื่น”
การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ช่วยยืนยันรับรองภูมิปัญญาของคนโบราณ
บรรพบุรุษของเรา ใช้น้าเป็นสื่อถ่ายทอดความรู้สึกจากใจ ความตั้งใจ และ
กาลังใจ มานานนับพันปีแล้ว เหมือนกันทุกชำติ แต่อำจต่ำงกันที่ควำมเชื่อและรูปแบบพิธี
กำร ทั้งที่ใช้ในทำงศำสนำ เช่น น้ำพระพุทธมนต์ น้ำศักดิ์สิทธิ์ จนถึงขนบธรรมเนียมประเพณี
เช่น กำรหลั่งน้ำทักษิโณทก, กรวดน้ำอุทิศบุญ, สรงน้ำพระ, รดน้ำสังข์, รดน้ำศพ, รดน้ำดำหัว,
เล่นน้ำสงกรำนต์ เป็นต้น
น้ำ และ ใจ จึงมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงแนบแน่น เกิดเป็นคำว่ำ น้าใจ
ความรู้สึกที่ออกจากใจ แฝงอยู่ในสายตา น้าเสียง คาพูด การสัมผัส ท่าที และ
การกระทา, รับรู้ได้ด้วยใจ, เชื่อมโยงระหว่างใจสู่ใจ, เมื่อไหลออกจากใจ ก็เป็นดั่ง
กระแสน้า อ่อนนุ่ม ทรงพลัง แทรกซึมไปได้ทั่วทุกแห่ง, ปราชญ์ จึงเรียกว่า น้าใจ
น้าใจ ทำให้เกิด ควำมรู้สึกที่ดีต่อกัน ควำมห่วงใย ควำมไว้ใจ ควำมอบอุ่นใจ ฯลฯ เป็น
บ่อเกิดของ ควำมรัก ควำมผูกพัน ควำมสำมัคคี, ร้อยรัดจิตวิญญำณของครอบครัว ชุมชน
ประเทศ และ มนุษยชำติ ไว้ด้วยกัน, ทำให้มนุษย์ไปมำหำสู่กัน เยี่ยมเยียนกัน แบ่งปันกัน
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
มนุษย์ ให้ น้าใจ ต่อกัน, เป็นทั้งผู้ให้ และ ผู้รับ, ให้และรับ น้าใจ ได้อย่ำงไม่มีสิ้นสุด
คนทุกคนมี น้าใจ เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต แต่อำจต้องกำรมำกน้อยแตกต่ำงกันไป
ผู้ใดขำด น้าใจ ก็เสมือนขำดควำมเป็นมนุษย์ มีจิตวิญญำณที่บกพร่องไม่สมบูรณ์
น้า และ น้าใจ จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ เฉกเช่นกัน
คุณค่าของน้า นอกจำกมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีพของทุกชีวิต และ เป็นสื่อของใจ
แล้ว ปรำชญ์ทุกยุคทุกสมัย ยังกล่ำวถึง น้า ในเชิงปรัชญำและกำรพัฒนำจิตวิญญำณ อีก
มำกมำยหลำกหลำยมุมมอง
ในภาพยนตร์เรื่อง “ขงจื้อ” เมื่อขงจื้อพบเหลาจื้อ ตอนหนึ่งเหลาจื้อกล่าวว่า
“ไร้ประโยชน์ก็อำจกลำยเป็นประโยชน์ยิ่งได้ อ่อนแอจึงรอด อ่อนโยน ดำรงอยู่
ไม่มีอะไรอ่อนกว่ำน้ำ แต่ไม่มีควำมเข้มแข็งใด ทำลำยน้ำได้ จงเป็นอย่ำงน้ำเถิด”
ขงจื้อตอบว่ำ
“คำพูดท่ำนลึกซึ้งนัก แต่ข้ำต้องยึดแนวทำงแห่งตน เส้นทำงแห่งท่ำนยิ่งใหญ่ไร้
ขอบเขต อยู่เหนือสถำนที่และเวลำ พ้นจำกเรื่องทำงโลก แต่เส้นทำงของข้ำ คือทำง
โลก”
ในคัมภีร์เต้าเต๋อจิง บทที่ ๘ เหลาจื้อกล่าวไว้ว่า
“คุณสมบัติที่ประเสริฐสุดของน้ำคือ อุทิศคุณประโยชน์แก่สรรพสิ่งโดยไม่แข่งขัน
แก่งแย่ง พร้อมที่จะไปอยู่ในฐำนะที่ต่ำซึ่งไม่เป็นที่ต้องกำรของคนทั่วไป จึงอยู่ใกล้กับ
เต๋ำ และด้วยกำรที่ไม่ต้องกำรไปแข่งขันแก่งแย่งกับผู้ใด จึงไม่ต้องพบกับควำม
ผิดพลำดหรือหำยนะแต่ประกำรใด” (จำกคำแปลของอำจำรย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ)
เหลาจื้อ ใช้ธรรมชาติของน้า อธิบายถึง คุณธรรมที่อริยชนหรือสุดยอดผู้นา พึง
มี เฉกเช่นเดียวกับ น้า ได้แก่ ความอ่อนโยนนิ่มนวล แต่ไม่ท้อถอยไม่ยอมแพ้ รับได้ทุก
รูปแบบ เข้ำได้กับทุกคน, ความเสียสละ อุทิศตนเพื่อส่วนรวม ไม่แข่งขันไม่แก่งแย่งกับใคร,
และ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ถือศักดิ์ศรี ไม่ห่วงหน้ำตำ ไม่ยึดติดกับยศตำแหน่ง
หนึ่งในคุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของอริยชนหรือสุดยอดผู้นา ก็คือ มีจิตใจที่
ยิ่งใหญ่ สำมำรถรองรับนำนำปัญหำและควำมทุกข์ยำกของปวงชนได้ ดุจดั่ง มหำสมุทรที่กว้ำง
ไพศำลและลึกล้ำไม่มีประมำณ รองรับน้ำได้ทุกสำยไม่ว่ำจะไหลมำจำกทำงใด
มหาสมุทร เกิดจาก น้าที่ไหลลงต่าเสมอ ฉันใด อริยชนหรือสุดยอดผู้นา ย่อม
เกิดจาก จิตใจ ที่มุ่งความเรียบง่าย ความเป็นปกติธรรมดา ความไม่ยึดถือตัวตน เสมอ
ฉันนั้น
ในตาราพิชัยสงครามของซุนวู ซุนวูได้กล่าวไว้ว่า
“ชัยชนะจักตัดสินกันที่ยุทธวิธีพลิกแพลง ซึ่งผู้เจนจบสำมำรถใช้ได้อย่ำงไม่รู้อับ
จน ดั่งฟ้ำดินอันไม่รู้จักสิ้นสูญ ไม่รู้หมดสิ้น ดุจแม่น้ำไหลรินไม่ขำดสำย พอจบแล้วเริ่ม
ใหม่ เช่นเดือนตะวันที่ตกแล้วขึ้นอีก ตำยแล้วก็ผุดเกิด” และ “จงวำงกลยุทธ์ให้
เหมือน ธรรมชำติของน้ำ หลีกเลี่ยงที่สูงไหลลงต่ำ หลีกเลี่ยงแข็งเข้ำตีอ่อน ไหลบ่ำไป
ตำมภูมิประเทศ เอำชนะกันตำมสภำวะของข้ำศึก ไม่มีหลักตำยตัว เฉกเช่นน้ำหำมี
รูปลักษณ์อันแน่นอนไม่”
ซุนวู สอนให้บ่มเพาะปัญญาเชิงกลยุทธ์ จากการเรียนรู้ธรรมชาติของน้า จน
เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ การวางแผนกลยุทธ์วิถีธรรมชาติ ที่หล่อหลอมปัญญำเชิงกลยุทธ์เป็น
หนึ่งเดียวกับปรัชญำชีวิต ไม่ว่ำทำสงครำม ปกครองประเทศ บริหำรธุรกิจ จัดกำรงำน ดูแล
ครอบครัว ก็สำมำรถวำงแผนและดำเนินกำรได้อย่ำงต่อเนื่อง ไม่ขำดสำย ไม่อับจน ไร้
ขอบเขต, ปรับเข้ำกับสถำนกำรณ์อย่ำงรวดเร็ว ทันเวลำ ไม่ตำยตัว ไร้กระบวนท่า, สอดคล้อง
กลมกลืน เหมำะกับสภำพแวดล้อม ไร้ร่องรอย, เมื่อชนะแล้ว สำเร็จแล้ว ก็ไม่หยิ่งผยอง
ลำพองใจ ไร้ตัวตน
ในมุมมองด้านธรรมะ หรือ การพัฒนาจิตวิญญาณ มองว่า ธรรมชาติของน้า
และใจ มีความคล้ายกัน
การเรียนรู้เรื่อง น้า ที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม จะช่วยให้เข้าใจ เรื่อง ใจ ที่มี
ลักษณะเป็นนามธรรม ได้ง่ายขึ้น
น้า และ ใจ ต่างมี ความใสสะอาดบริสุทธิ์โดยธรรมชาติ มีความเป็นกลาง ไม่มี
สิ่งใดมาทาให้ น้าและใจเปลี่ยนไปได้ น้าและใจ อาจเปลี่ยนสภาพได้ หรือ ถูกเจือปน
ด้วยสิ่งต่างๆ แล้วก็เรียกชื่อใหม่ แต่น้าก็ยังคงเป็นน้า ใจก็ยังคงเป็นใจ ที่ดารงอยู่ตาม
ธรรมชาติของมัน อย่างไม่เปลี่ยนแปลงเสมอ เพียงแต่เราอาจมองไม่เห็น เพราะ ถูก
สิ่งอื่นปิดบังไว้
ตัวอย่ำงเช่น กำแฟ เหล้ำ ปัสสำวะ ก็คือ น้ำ ที่เจือด้วย ผงกำแฟ แอลกอฮอล์ ของเสียที่
ร่ำงกำยขับออก เรำมองไม่เห็น น้ำที่แท้จริง เพรำะถูกสิ่งที่เจือปนบดบังไว้ จิตใจของมนุษย์ก็
เช่นเดียวกัน เมื่อใจถูกครอบงาด้วยอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดปรุงแต่ง เพราะความ
ไม่รู้ ความอยากความไม่อยาก ความยึดมั่น ก็เลยหลงผิด เห็นว่า จิต คือ ใจ คิดไปว่า
นั่นคือตัวตนของเรา มองไม่เห็นใจที่แท้จริง
ตราบเมื่อมี สติ สมาธิ ปัญญา สามารถแยกจิตกับใจออกจากกัน ก็จะพบ ใจ
เมื่อนั้นก็จะมีแต่ความสะอาด สงบ สว่าง พบความสุขที่แท้จริง ไม่ทุกข์อีกต่อไป
ดั่งธรรมโอวาทของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ที่กล่าวว่า
“ผู้ใดทำใจให้ถึงควำมเป็นกลำงได้ ผู้นั้นจะพ้นจำกทุกข์ทั้งปวง”
การทาใจให้ถึงความเป็นกลาง ก็คือ การเดินตามทางสายกลาง หรือ
มัชฌิมาปฏิปทา หรือ อริยมรรค ๘ ซึ่งเป็นทางแห่งการดับทุกข์ ในอริยสัจ ๔ ตามคา
สอนของพระพุทธเจ้า
ใจที่เป็นกลาง ก็คือ สภาพเดิมแท้อันเป็นธรรมชาติของใจ, เมื่อเข้าใจและเข้าถึง
ธรรมชาติที่แท้ของใจ ก็คือ บรรลุธรรม, อวิชชา (ความไม่รู้) ตัณหา (ความอยากและ
ไม่อยากทั้งปวง), และ อุปาทาน (ความยึดมั่นถือมั่น) ไม่สามารถทาให้ใจเปลี่ยนแปลง
ได้อีกต่อไป, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
น้าที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ เป็นกลางตามธรรมชาติ คือ รากฐานของร่างกาย และ
ชีวิต ฉันใด
ใจที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ เป็นกลางตามธรรมชาติ ก็คือ รากฐานของจิตวิญญาณ
และ ชีวิต ฉันนั้น
น้า ให้คุณค่าอย่างอเนกอนันต์ ทั้ง คุณค่าที่จับต้องได้ และ คุณค่าที่จับต้องไม่ได้
เรารู้จักคุณค่าของน้าอย่างแท้จริงเพียงใด ? ใช้น้าอย่างมีคุณค่าเต็มที่หรือยัง ?
องค์กรสหประชาชาติ กาหนดให้ ทุกวันที่ ๒๒ มีนาคมของทุกปี เป็น วันน้าโลก
เพื่อเตือนให้ทุกคน ระลึกถึง น้า ที่ดูธรรมดาๆ แต่เต็มไปด้วยความมหัศจรรย์
ทุกคน ควรใช้น้า ด้วยความเคารพ คือ มีสติ และ รู้ คุณ-ค่า ของน้า
เมื่อเราใช้น้า และ ปฏิบัติต่อน้า ด้วย ใจเคารพ อยู่เป็นนิตย์
น้า ก็จะเป็นสื่อนา ให้เราได้พบความมหัศจรรย์ของใจและชีวิต
คือ บรมสุขที่เรียบง่าย เต็มไปด้วยคุณค่าอย่างเต็มที่ต่อตนเองและโลก

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

Study Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
Study Of Human Physiology Dr Shriniwas KashalikarStudy Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
Study Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
 
Memo global security
Memo global securityMemo global security
Memo global security
 
Diaposi fina infor
Diaposi fina inforDiaposi fina infor
Diaposi fina infor
 
Set oneself up for achievement
Set oneself up for achievementSet oneself up for achievement
Set oneself up for achievement
 
Stripovi učenika
Stripovi učenikaStripovi učenika
Stripovi učenika
 
Aura
AuraAura
Aura
 
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
 
Vladimir Nazor, Hrvatski jezik
Vladimir Nazor, Hrvatski jezikVladimir Nazor, Hrvatski jezik
Vladimir Nazor, Hrvatski jezik
 

More from Taweedham Dhamtawee

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5Taweedham Dhamtawee
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญาTaweedham Dhamtawee
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2Taweedham Dhamtawee
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 

More from Taweedham Dhamtawee (8)

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
 
Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 

2014-05-02 คู่มือชีวิต ตอน 31 มหัศจรรย์ของน้ำต่อชีวิต

  • 1. “มหัศจรรย์ของน้ำต่อชีวิต” คู่มือชีวิต ตอน ๓๑ โดย นพพร เทพสิทธำ เนชั่นสุดสัปดำห์ ฉบับที่ ๑๑๔๔ วันที่ ๒ พฤษภำคม ๒๕๕๗ (ปรับปรุงแก้ไข วันที่ ๑๕ เมษำยน ๒๕๕๘) ธรรมชาติ ได้กาหนดให้น้าเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญของชีวิต ที่ใดมีน้า ที่นั้นย่อมมี ชีวิต น้ำเป็นแหล่งกำเนิดชีวิต เป็นสิ่งหล่อเลี้ยงชีวิต เป็นปัจจัยพื้นฐำนของกำรดำรงชีวิต แหล่งอำรยธรรมต่ำงๆของโลกล้วนตั้งอยู่ใกล้แหล่งน้ำทั้งสิ้น วัฎจักรของน้า ทำให้เกิดไอน้ำ ก้อนเมฆ ฝน น้ำค้ำง หิมะ ลูกเห็บ ซึ่งมีผลต่อภูมิอำกำศ และ ทำให้เกิด ถ้ำ หินงอกหินย้อย ลำ ธำร คลอง แม่น้ำ บึง ทะเลสำบ ซึ่งมีผลต่อภูมิประเทศ น้า มีบทบาทสาคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง ทั้งภายในประเทศ ระหว่างประเทศ และ ของโลก ทั้งในด้ำนกำรเกษตร อุตสำหกรรม พลังงำน กำรคมนำคม กำรค้ำ กำรท่องเที่ยว ศำสนำ วัฒนธรรม มนุษย์ใช้น้ำชำระควำมสกปรกของร่ำงกำย ของใช้ สถำนที่, ใช้ในกำรประกอบอำหำร, และ ใช้บริโภค น้า ปกคลุมร้อยละ ๗๐ ของพื้นผิวโลก ในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยน้าร้อยละ ๗๐ เช่นกัน โดยทั่วไปคนอำจขำดน้ำได้ ๓ – ๕ วัน หำกเกินกว่ำนี้อำจเสียชีวิตได้ ปริมำณน้ำที่ ร่ำงกำยต้องกำร คือ วันละไม่ต่ำกว่ำ ๘ แก้ว (แก้วละ ๒๔๐ ซีซี) น้ำเป็นตัวกลำงในกระบวนกำร เผำผลำญสำรอำหำรสร้ำงพลังงำนให้แก่เซลล์ในร่ำงกำย, เซลล์จะไม่สำมำรถทำงำนได้ ถ้ำไม่มี น้ำ, น้ำช่วยลำเลียงสำรอำหำรและของเสีย, ช่วยรักษำระดับควำมเป็นกรดด่ำงของเลือดและ
  • 2. ของเหลวในร่ำงกำย, ช่วยรักษำอุณหภูมิของร่ำงกำยให้คงที่ ช่วยระบำยควำมร้อนในรูปของ เหงื่อ, ช่วยสร้ำงควำมชุ่มชื้น ส่งผลให้เกิดควำมยืดหยุ่นกับเซลล์ในร่ำงกำย ฯลฯ น้า มีคุณค่า และ มีความจาเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิต ทั้งร่างกายและจิตใจ คงไม่มีใครปฏิเสธ ความสาคัญของน้าต่อชีวิตตน แต่จะมีสักกี่คน ที่ รู้จักและเข้าใจ น้า อย่างแท้จริง ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้เราได้เห็นสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนเกี่ยวกับน้า น้า สามารถซึมซับธรรมชาติรอบตัวและจิตใจคน แสดงออกมาในรูปของผลึกน้าที่ แตกต่างกัน ดร.มาซารุ อิโมโตะ (Dr.Masaru Emoto) ประธานมูลนิธิอิโมโตะเพื่อสันติภาพ ได้รับแรงบันดาลใจจากการค้นพบความมหัศจรรย์ของน้า ต้องการสร้างสันติสุขให้กับ โลก โดยใช้น้าเป็นสื่อ ดร.มำซำรุ ได้เปิดเผยผลงำนวิจัย ที่เขำใช้เวลำนำนกว่ำสิบปีเก็บตัวอย่ำงน้ำกว่ำหมื่น ตัวอย่ำง พบว่ำ ผลึกของน้าที่แข็งตัว ณ อุณหภูมิหนึ่ง เมื่อส่องและถ่ายรูปด้วยกล้องที่มี กาลังขยายสูง จะเห็นรูปลักษณะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อม เสียงดนตรี คาพูด และ ความรู้สึกนึกคิดของคน น้ำจำกสถำนที่ธรรมชำติ ผ่ำนเสียงสวดมนต์ คำพูดสุภำพ ควำมรู้สึกดีๆ จะมีผลึกที่ สวยงำม กว่ำน้ำจำกบริเวณโรงงำนอุตสำหกรรม ผ่ำนเสียงเพลงหนักๆ น้ำที่มีกำรปนเปื้อนสำรเคมีหรือสิ่งสกปรก หรือ จำกบริเวณที่มลภำวะเป็นพิษ จะมีผลึก ที่น่ำกลัว หรือไม่เป็นผลึกเลย ดร.มาซารุเชื่อว่า “น้ำสำมำรถใช้เป็นสื่อในกำรถ่ำยทอด ควำมรู้สึกและควำม ปรำรถนำดี จำกคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งหรือหลำยๆคนได้, เมื่อคำพูดที่ดีกับคำพูด
  • 3. หยำบคำย มีผลต่อผลึกน้ำ ก็ย่อมมีผลต่อน้ำในร่ำงกำย และ สุดท้ำยก็จะส่งผลต่อ สุขภำพของเรำและผู้อื่น” การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ช่วยยืนยันรับรองภูมิปัญญาของคนโบราณ บรรพบุรุษของเรา ใช้น้าเป็นสื่อถ่ายทอดความรู้สึกจากใจ ความตั้งใจ และ กาลังใจ มานานนับพันปีแล้ว เหมือนกันทุกชำติ แต่อำจต่ำงกันที่ควำมเชื่อและรูปแบบพิธี กำร ทั้งที่ใช้ในทำงศำสนำ เช่น น้ำพระพุทธมนต์ น้ำศักดิ์สิทธิ์ จนถึงขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น กำรหลั่งน้ำทักษิโณทก, กรวดน้ำอุทิศบุญ, สรงน้ำพระ, รดน้ำสังข์, รดน้ำศพ, รดน้ำดำหัว, เล่นน้ำสงกรำนต์ เป็นต้น น้ำ และ ใจ จึงมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงแนบแน่น เกิดเป็นคำว่ำ น้าใจ ความรู้สึกที่ออกจากใจ แฝงอยู่ในสายตา น้าเสียง คาพูด การสัมผัส ท่าที และ การกระทา, รับรู้ได้ด้วยใจ, เชื่อมโยงระหว่างใจสู่ใจ, เมื่อไหลออกจากใจ ก็เป็นดั่ง กระแสน้า อ่อนนุ่ม ทรงพลัง แทรกซึมไปได้ทั่วทุกแห่ง, ปราชญ์ จึงเรียกว่า น้าใจ น้าใจ ทำให้เกิด ควำมรู้สึกที่ดีต่อกัน ควำมห่วงใย ควำมไว้ใจ ควำมอบอุ่นใจ ฯลฯ เป็น บ่อเกิดของ ควำมรัก ควำมผูกพัน ควำมสำมัคคี, ร้อยรัดจิตวิญญำณของครอบครัว ชุมชน ประเทศ และ มนุษยชำติ ไว้ด้วยกัน, ทำให้มนุษย์ไปมำหำสู่กัน เยี่ยมเยียนกัน แบ่งปันกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มนุษย์ ให้ น้าใจ ต่อกัน, เป็นทั้งผู้ให้ และ ผู้รับ, ให้และรับ น้าใจ ได้อย่ำงไม่มีสิ้นสุด คนทุกคนมี น้าใจ เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต แต่อำจต้องกำรมำกน้อยแตกต่ำงกันไป ผู้ใดขำด น้าใจ ก็เสมือนขำดควำมเป็นมนุษย์ มีจิตวิญญำณที่บกพร่องไม่สมบูรณ์ น้า และ น้าใจ จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ เฉกเช่นกัน
  • 4. คุณค่าของน้า นอกจำกมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีพของทุกชีวิต และ เป็นสื่อของใจ แล้ว ปรำชญ์ทุกยุคทุกสมัย ยังกล่ำวถึง น้า ในเชิงปรัชญำและกำรพัฒนำจิตวิญญำณ อีก มำกมำยหลำกหลำยมุมมอง ในภาพยนตร์เรื่อง “ขงจื้อ” เมื่อขงจื้อพบเหลาจื้อ ตอนหนึ่งเหลาจื้อกล่าวว่า “ไร้ประโยชน์ก็อำจกลำยเป็นประโยชน์ยิ่งได้ อ่อนแอจึงรอด อ่อนโยน ดำรงอยู่ ไม่มีอะไรอ่อนกว่ำน้ำ แต่ไม่มีควำมเข้มแข็งใด ทำลำยน้ำได้ จงเป็นอย่ำงน้ำเถิด” ขงจื้อตอบว่ำ “คำพูดท่ำนลึกซึ้งนัก แต่ข้ำต้องยึดแนวทำงแห่งตน เส้นทำงแห่งท่ำนยิ่งใหญ่ไร้ ขอบเขต อยู่เหนือสถำนที่และเวลำ พ้นจำกเรื่องทำงโลก แต่เส้นทำงของข้ำ คือทำง โลก” ในคัมภีร์เต้าเต๋อจิง บทที่ ๘ เหลาจื้อกล่าวไว้ว่า “คุณสมบัติที่ประเสริฐสุดของน้ำคือ อุทิศคุณประโยชน์แก่สรรพสิ่งโดยไม่แข่งขัน แก่งแย่ง พร้อมที่จะไปอยู่ในฐำนะที่ต่ำซึ่งไม่เป็นที่ต้องกำรของคนทั่วไป จึงอยู่ใกล้กับ เต๋ำ และด้วยกำรที่ไม่ต้องกำรไปแข่งขันแก่งแย่งกับผู้ใด จึงไม่ต้องพบกับควำม ผิดพลำดหรือหำยนะแต่ประกำรใด” (จำกคำแปลของอำจำรย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ) เหลาจื้อ ใช้ธรรมชาติของน้า อธิบายถึง คุณธรรมที่อริยชนหรือสุดยอดผู้นา พึง มี เฉกเช่นเดียวกับ น้า ได้แก่ ความอ่อนโยนนิ่มนวล แต่ไม่ท้อถอยไม่ยอมแพ้ รับได้ทุก รูปแบบ เข้ำได้กับทุกคน, ความเสียสละ อุทิศตนเพื่อส่วนรวม ไม่แข่งขันไม่แก่งแย่งกับใคร, และ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ถือศักดิ์ศรี ไม่ห่วงหน้ำตำ ไม่ยึดติดกับยศตำแหน่ง
  • 5. หนึ่งในคุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของอริยชนหรือสุดยอดผู้นา ก็คือ มีจิตใจที่ ยิ่งใหญ่ สำมำรถรองรับนำนำปัญหำและควำมทุกข์ยำกของปวงชนได้ ดุจดั่ง มหำสมุทรที่กว้ำง ไพศำลและลึกล้ำไม่มีประมำณ รองรับน้ำได้ทุกสำยไม่ว่ำจะไหลมำจำกทำงใด มหาสมุทร เกิดจาก น้าที่ไหลลงต่าเสมอ ฉันใด อริยชนหรือสุดยอดผู้นา ย่อม เกิดจาก จิตใจ ที่มุ่งความเรียบง่าย ความเป็นปกติธรรมดา ความไม่ยึดถือตัวตน เสมอ ฉันนั้น ในตาราพิชัยสงครามของซุนวู ซุนวูได้กล่าวไว้ว่า “ชัยชนะจักตัดสินกันที่ยุทธวิธีพลิกแพลง ซึ่งผู้เจนจบสำมำรถใช้ได้อย่ำงไม่รู้อับ จน ดั่งฟ้ำดินอันไม่รู้จักสิ้นสูญ ไม่รู้หมดสิ้น ดุจแม่น้ำไหลรินไม่ขำดสำย พอจบแล้วเริ่ม ใหม่ เช่นเดือนตะวันที่ตกแล้วขึ้นอีก ตำยแล้วก็ผุดเกิด” และ “จงวำงกลยุทธ์ให้ เหมือน ธรรมชำติของน้ำ หลีกเลี่ยงที่สูงไหลลงต่ำ หลีกเลี่ยงแข็งเข้ำตีอ่อน ไหลบ่ำไป ตำมภูมิประเทศ เอำชนะกันตำมสภำวะของข้ำศึก ไม่มีหลักตำยตัว เฉกเช่นน้ำหำมี รูปลักษณ์อันแน่นอนไม่” ซุนวู สอนให้บ่มเพาะปัญญาเชิงกลยุทธ์ จากการเรียนรู้ธรรมชาติของน้า จน เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ การวางแผนกลยุทธ์วิถีธรรมชาติ ที่หล่อหลอมปัญญำเชิงกลยุทธ์เป็น หนึ่งเดียวกับปรัชญำชีวิต ไม่ว่ำทำสงครำม ปกครองประเทศ บริหำรธุรกิจ จัดกำรงำน ดูแล ครอบครัว ก็สำมำรถวำงแผนและดำเนินกำรได้อย่ำงต่อเนื่อง ไม่ขำดสำย ไม่อับจน ไร้ ขอบเขต, ปรับเข้ำกับสถำนกำรณ์อย่ำงรวดเร็ว ทันเวลำ ไม่ตำยตัว ไร้กระบวนท่า, สอดคล้อง กลมกลืน เหมำะกับสภำพแวดล้อม ไร้ร่องรอย, เมื่อชนะแล้ว สำเร็จแล้ว ก็ไม่หยิ่งผยอง ลำพองใจ ไร้ตัวตน ในมุมมองด้านธรรมะ หรือ การพัฒนาจิตวิญญาณ มองว่า ธรรมชาติของน้า และใจ มีความคล้ายกัน
  • 6. การเรียนรู้เรื่อง น้า ที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม จะช่วยให้เข้าใจ เรื่อง ใจ ที่มี ลักษณะเป็นนามธรรม ได้ง่ายขึ้น น้า และ ใจ ต่างมี ความใสสะอาดบริสุทธิ์โดยธรรมชาติ มีความเป็นกลาง ไม่มี สิ่งใดมาทาให้ น้าและใจเปลี่ยนไปได้ น้าและใจ อาจเปลี่ยนสภาพได้ หรือ ถูกเจือปน ด้วยสิ่งต่างๆ แล้วก็เรียกชื่อใหม่ แต่น้าก็ยังคงเป็นน้า ใจก็ยังคงเป็นใจ ที่ดารงอยู่ตาม ธรรมชาติของมัน อย่างไม่เปลี่ยนแปลงเสมอ เพียงแต่เราอาจมองไม่เห็น เพราะ ถูก สิ่งอื่นปิดบังไว้ ตัวอย่ำงเช่น กำแฟ เหล้ำ ปัสสำวะ ก็คือ น้ำ ที่เจือด้วย ผงกำแฟ แอลกอฮอล์ ของเสียที่ ร่ำงกำยขับออก เรำมองไม่เห็น น้ำที่แท้จริง เพรำะถูกสิ่งที่เจือปนบดบังไว้ จิตใจของมนุษย์ก็ เช่นเดียวกัน เมื่อใจถูกครอบงาด้วยอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดปรุงแต่ง เพราะความ ไม่รู้ ความอยากความไม่อยาก ความยึดมั่น ก็เลยหลงผิด เห็นว่า จิต คือ ใจ คิดไปว่า นั่นคือตัวตนของเรา มองไม่เห็นใจที่แท้จริง ตราบเมื่อมี สติ สมาธิ ปัญญา สามารถแยกจิตกับใจออกจากกัน ก็จะพบ ใจ เมื่อนั้นก็จะมีแต่ความสะอาด สงบ สว่าง พบความสุขที่แท้จริง ไม่ทุกข์อีกต่อไป ดั่งธรรมโอวาทของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ที่กล่าวว่า “ผู้ใดทำใจให้ถึงควำมเป็นกลำงได้ ผู้นั้นจะพ้นจำกทุกข์ทั้งปวง” การทาใจให้ถึงความเป็นกลาง ก็คือ การเดินตามทางสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา หรือ อริยมรรค ๘ ซึ่งเป็นทางแห่งการดับทุกข์ ในอริยสัจ ๔ ตามคา สอนของพระพุทธเจ้า ใจที่เป็นกลาง ก็คือ สภาพเดิมแท้อันเป็นธรรมชาติของใจ, เมื่อเข้าใจและเข้าถึง ธรรมชาติที่แท้ของใจ ก็คือ บรรลุธรรม, อวิชชา (ความไม่รู้) ตัณหา (ความอยากและ ไม่อยากทั้งปวง), และ อุปาทาน (ความยึดมั่นถือมั่น) ไม่สามารถทาให้ใจเปลี่ยนแปลง ได้อีกต่อไป, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม
  • 7. น้าที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ เป็นกลางตามธรรมชาติ คือ รากฐานของร่างกาย และ ชีวิต ฉันใด ใจที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ เป็นกลางตามธรรมชาติ ก็คือ รากฐานของจิตวิญญาณ และ ชีวิต ฉันนั้น น้า ให้คุณค่าอย่างอเนกอนันต์ ทั้ง คุณค่าที่จับต้องได้ และ คุณค่าที่จับต้องไม่ได้ เรารู้จักคุณค่าของน้าอย่างแท้จริงเพียงใด ? ใช้น้าอย่างมีคุณค่าเต็มที่หรือยัง ? องค์กรสหประชาชาติ กาหนดให้ ทุกวันที่ ๒๒ มีนาคมของทุกปี เป็น วันน้าโลก เพื่อเตือนให้ทุกคน ระลึกถึง น้า ที่ดูธรรมดาๆ แต่เต็มไปด้วยความมหัศจรรย์ ทุกคน ควรใช้น้า ด้วยความเคารพ คือ มีสติ และ รู้ คุณ-ค่า ของน้า เมื่อเราใช้น้า และ ปฏิบัติต่อน้า ด้วย ใจเคารพ อยู่เป็นนิตย์ น้า ก็จะเป็นสื่อนา ให้เราได้พบความมหัศจรรย์ของใจและชีวิต คือ บรมสุขที่เรียบง่าย เต็มไปด้วยคุณค่าอย่างเต็มที่ต่อตนเองและโลก