SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
นโยบายขององคกรดานการจัดการความรู
นโยบายดานการจัดการความรูของ สวทช. มีการมุงเนน การสั่งสม และบริหารจัดการความรูและ
ทรัพยสินทางปญญาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มีเปาหมายยื่นจดและไดรับสิทธิบัตรของนักวิจัยภายใน
องคกร และมีหนวยงานที่นําผลงานวิจัยของ สวทช. ไปใชประโยชน โดยการใชบริการขอมูลดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีจากระบบบริการความรูของ สวทช.
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรูใหเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ
มี
เปาหมายการพัฒนาดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดานโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ไดแก ดานเครือขาย
คอมพิวเตอร เครือขายไรสาย ระบบสํารอง/แผนฉุกเฉิน เครือขายเสมือน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
บริหาร ไดแก มีระบบวางแผนทรัพยากรองคกร ระบบบริหารบุคคล ระบบ Enterprise Content Management
และระบบฐานขอมูลและระบบจัดการความรู ที่เชื่อมโยงกัน
จากการวิเคราะห SWOT ในชวงระยะเวลาแรก พบวา แมจะมีผที่มีความรูความสามารถเปนจํานวนมาก
ู
แตก็กระจัดกระจายอยูในหลายหนวยงาน สงผลใหความรูกระจุกตัวอยูแตเฉพาะในหนวยงานของตัวเอง การ
บริหารจัดการงานวิจัยและพัฒนายังไมเปนระบบ รวมทั้งยังขาดการพัฒนาบุคลากรในหนวยงานอยางเปนระบบ
ดังนั้นในชวงแรกของการพัฒนาการจัดการความรูของ สวทช. จึงมีการสรางระบบฐานขอมูลและระบบ
จัดการความรู (Knowledge management) เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บ จัดการ และบริหารองคความรูภายใน
องคกร ใหบุคลากรของ สวทช. และในวงการวิจัย สามารถเขาถึงองคความรูและตอยอดองคความรู เพื่อพัฒนา
งานวิจัยหรือนําไปประยุกตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีการนําระบบงานทั้งหมดมาเชื่อมโยงและจัดทําแผนกล
ยุทธ แผนงานของ สวทช. และมีการติดตามและประเมินผลอยางสม่ําเสมอ

เปาหมายของการจัดการความรูของ สวทช. คืออะไร
การจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีเปาหมายอยู 5
ขอ คือ
1. การพัฒนาระบบลงทะเบียนองคความรูจากการปฏิบัติงาน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ประกอบดวย ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (BIOTEC) ศูนย
เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (NANOTEC) และศูนยบริหารจัดการ
เทคโนโลยี (TMC) โดยแตละหนวยงานจะมีนักวิจัย ปญหาคือ ความรูที่อยูกับนักวิจัยจะอยูแตในหนวยงานและ
หองปฏิบัติการของตัวเอง ดังนั้นจึงมีเปาหมายที่จะเก็บความรูจากการปฏิบัติงาน เปนความรูทางดานการวิจัย
นํามาเก็บรวบรวมในระบบฐานขอมูลศูนยกลาง ซึ่งจะทําใหสามารถคนหาขอมูลไดมากขึ้น และสะดวกรวดเร็ว
รวมทั้งสามารถหาขอมูลความถนัดในดานตางๆ ของบุคลากรในหนวยงาน เพื่อการพัฒนาการทํางานใหดียิ่งขึ้น ซึ่ง
หมายถึงการรวบรวมความรูออกมาเปนคลังเก็บผลงานวิจัย ผลงานวิชาการของ สวทช. นั่นเอง
2. สรางแนวปฏิบัติใหเปนตนแบบของนักวิจัยทั้งหมด สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.) ไมไดคาดหวังวานักวิจัยทั้งหมดตองเขาสูการจัดการความรู เพราะเปนเรื่องยาก จึงมีการสราง
กลุมตนแบบชุมชนนักปฏิบัติ หรือกลุมนํารองขึ้นมา 1 กลุม เพื่อเปนตนแบบในการจัดการความรูใหกับคนอื่นๆใน
หนวยงาน เชน นักวิจัยนําผลงานวิจัยมาใส เมื่อมีคนคนเจอ นักวิจัยคนอื่นก็จะรูสึกวาแลวผลงานตัวเองหายไป
ไหน และสุดทายก็จะนําเอางานวิจัยของตนเองไปใส เปนตน และในสวนนี้ก็จะเปนหลักฐานในการเลื่อนตําแหนง
ขึ้นเงินเดือน หรือเงินพิเศษ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีการขับเคลื่อนดวย
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบจะทําการวิเคราะหวานักวิจัยในแตป มีผลงานกี่เรื่องและสามารถนําขอมูลใน
สวนนี้มาใชในการขอเลื่อนตําแหนงได ซึ่งระบบนี้จะเรื่องวา Paperless promotion service หรือ การเลื่อน
ตําแหนงโดยไรกระดาษ ซึ่งขอดี คือ การปองกันการทําวิจัยซ้ําซอน ปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ผลงาน ตอยอด
ผลงานวิจัยและเปนตนแบบที่ดี
3. ใชในการเพิ่มผลิตภาพและความสามารถของบุคลากร การทําวิจัยของ สวทช. จะเปนการวิจัยใน
หลากหลายสาขา จึงมักจะมีการทําการวิจัยรวมกับหนวยงานตางๆ เชน หากมีคนตองการทํางานวิจัยเรื่องของ
การวิจัยดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตรแตมีความสามารถดานคอมพิวเตอร จึงจําเปนตองมีการหา
ผูเชี่ยวชาญทางดานการเกษตรเขามารวมทําการวิจัยดวย เปนตน การจัดการความรูดวยเทคโนโลยีสารสนเทศจะ
ทําใหทราบวาใครมีความสามารถและความถนัดทางดานใด ทําใหงายตอการหาผูเชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่ง
4. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะหเพื่อประเมินผลบุคคล โดยเรียกวา parent management
เชน ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ จะทํางานวิจัยที่เกี่ยวกับแกลบ ทาง สวทช. มีความเชื่อวา คนที่ทํางานอยูแลวจะ
มีความสามารถและความเชี่ยวชาญมากกวาคนใหม ทางฝายบุคคลจะตรวจสอบขอมูลภายในฐานวามีใครมีความ
เชี่ยวชาญในด านของแกลบ และทํ าการติ ดต อไป และสามารถมี ก ารสั่ งบุ ค ลากรข ามสายงานได นอกจากนี้
ผลกระทบจากการแลกเปลี่ยนชุมชนนักปฏิบัติ คือ การเพิ่มขึ้นของจํานวนสมาชิก หนวยงาน และสวทช.
(Performance) และเพิ่มจํานวนของการผลิตภาพ (Productivity) ใหมากขึ้น
5. Talent management ผลของการวิเคราะหจากระบบ (Analytics) สามารถสงผลในลักษณะ
สนับสนุนในการวางแผนดําเนินงานดานบุคลากรของสวทช.ได ซึ่ง KM ของสวทช. ไมไดเริ่มมาจาก สวทช. แตเริ่ม
จากศูนย (จากหนวยงานภายในของสวทช.) ที่ทํา KM อยูแลว สวทช. เห็นวาดี จึงนํามาประยุกตใชและกระดับมา
เปน KMของสวทช. โดยเริ่มตั้งแต พ.ศ.2551 ซึ่งมีระบบ myPerformance กับ Patent Reward Policy
จากเปาหมายจะไปทํา Road map
สวทช. มีการทําการจัดการความรูมากอน ป 2551 แตเปนการจัดการความรูระดับศูนย มีการเลือกการ
จัดการความรูของศูนยหนึ่งมาเปนตนแบบในการจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.) ซึ่งมีตนแบบมาจาก ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) และ
ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (BIOTEC) แตถาพูดถึงการจัดการความรูของสํานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จะกลาวไดวามีการดําเนินการมาตั้งแตป 2551 แตแทจริงแลวมีการ
เริ่มดําเนินการมากอนหนานั้น
ป 2551 ทําระบบลงทะเบียนองคความรู ซึ่งเรียกวา my per formant เปนเรื่องของความสามารถของ
แตละบุคคล หากตองการไดรับการสนับสนุนทั้งการเลื่อนตําแหนงและการขึ้นเงินเดือน ก็ตองมีการนําองคความรู
เพิ่มลงไปในฐานขอมูล อีกอยางคือ patent reward policy เปนการใหรางวัลจากการจดสิทธิบัตร เพราะวา
นักวิจัยจุดใหญสุดคือผลงานไดจดสิทธิบัตรหรือไม ถาใครสามารถทําการวิจัยจนถึงขึ้นการจดสิทธิบัตรและลง
ฐานขอมูล ก็จะไดรับรางวัลเล็กๆนอยๆ ในขั้นตอนแรกจะเขาสูกระบวนการในการใหความรู Cops กับทุกคน
สรางแรงจูงใจ และใหทุกคนนําผลงานของตัวเองลงในฐานขอมูล (แถบสีสม)
2551-2552 เขาสูกระบวนการทํา paperless promotion service 100% ไมตองใชกระดาษ
2553-2554 จากนั้นเปนการวิเคราะหมูลคาของงานที่นําลงฐานขอมูล วามีคุณคาแคไหน เปนการนํา
ความรูมาใชในการเพิ่มมูลคาใหตนเอง
2555- ปจจุบัน เปน best practice ใหกับคนอื่น ตอนนี้อยูในจุดนี้ คือเปนแนวปฏิบัติใหกับคนอื่นๆ

การเชื่อมโยงการจัดการความรูเขากับนโยบาย หรือ แผนกลยุทธขององคกร เปนอยางไร
การจัดการความรูเกิดขึ้นมาจาก ศึกษาแนวทางการทําการจัดการความรูที่คนอื่นทํามากอนแลว แลวจึง
นํามาประยุกตปรับปรุงใหเขากับลักษณะขององคกร จากการศึกษามาพบวา การจัดการความรูของประเทศไทยไม
เหมาะกับ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จึงมีการนําแนวคิดของเมืองนอกเขามาใช
ดังนั้นการจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จึงจะแตกตางจากการ
จัดการความรูของประเทศไทยโดยสิ้นเชิง จากนั้นก็เอาสิ่งที่ไดมา มาทําประชาพิจารณ ใหทุกคนใน สํานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีสวนรวม ดังนี้

1. การวิเคราะหสถานการณ (swot analysis) เริ่มจากการศึกษาแนวทางจากองคกรหรือหนวยงานอื่นๆที่
เกี่ยวของเพื่อดําเนินงาน (SWOT Matrix หรือ ประชามติ) โดยสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (สวทช.) พบวาจุดเดนขององคกรคือทางดานไอที จึงมีการนําไอทีมาใชในการขับเคลื่อนการจัดการ
ความรู และมีการนํามาพิจารณาวาความรูที่อยูในองคคือ ความรูที่ไดมาจากผลงานวิจัย ฉะนั้น สวทช. จึงใช
เทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการและผลักดันไปสูศักยภาพของนักวิจัย
2. Knowledge Assets (KA) ความรูของนักวิจัยของ สวทช. พบวาหากมีการแบงความรูเปน 100% มี
80% ที่เปน Tacit และมี 20% ที่เปน Expliit สวทช. เล็งเห็นวาการดึงความรูที่ฝงลึกที่อยูในตัวคนออกมาเปนสิ่งที่
มีความเปนไปไดยากกวาการนําความรูที่ชัดแจงโดยมีการใชเทคโนโลยีเขาไปเปนเครื่องมีในการจัดการความรูใน
องคกรใหงายยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงเริ่มตนจากการใหความสําคัญกับ 20% กอนเพื่อเปนการกระตุน สรางแรงจูงใจให
นักวิจัยเพื่อสรางการเรงพัฒนาองคความรู โดยการดึงความรูที่ฝงลึกในตัวของนักวิจัยแตละคนออกมาโดยการเขียน
งานวิจัยแลวจึงพัฒนาไปสู 80% เปนTacit ในที่สุด
อยางไรก็ตามตองมีการเรงเก็บความรูของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)
ซึ่งก็คือความรูของนักวิจัย ที่นี่บุคลากร 70-80% คือนักวิจัย ความรูก็คือความรูในการทําวิจัย ทํายังไงก็ไดใหเขา
เอาความรูที่มีอยูมาเขาสูกระบวนการจัดการความรู ถัดไป เมื่อเอาไอทีมาบริหารจัดการความรูของนักวิจัย
ผลกระทบคือ ชวยใหทําวิจัยไดงายขึ้น เชน การหานักวิจัยรวมที่เชี่ยวชาญในดานที่ตองการ ดวยไอที เปนตน ซึ่ง
จะเปนการยนระยะเวลา และยังชวยพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยใหดีขึ้น
ทีนี่พอไดวา swot analysis
คืออะไร ความรูเริ่มตนจากประเด็นไหน ก็มาเริ่มทําแผนปฏิบัติการ
ผูบริหารสูงสุดตองเปนผูนํา (ผทว. ดร.ทวีศักดิ์ กออนันกูล) หากผูบริหารไมอนุมัติก็จะไมสามารถทําการจัดการ
ความรูได มีการมอบหมายวาหนวยงานใดทําการจัดการความรู โดยมีการจัดตั้งทีมงานในการทํางาน(STKS)
จากนั้นนํามาทําแนวปฏิบัติเรียกวา “วัฒนธรรมความรูของสวทช.” เพื่อนําไปสูการจัดการความรูตอไป ทีมงานจะ
ไปคัดเลือกคนมาทํางาน และทํางานภายใตกรอบวัฒนธรรมความรู หามคิดนอกเหนือจากนี้เพราะมาจากประชา
พิจารณ ซึ่งระบุวา
1. ระบบตองขับเคลื่อนดวยไอที และตองขับเคลื่อนไดงาย คือไมวาคุณอยูที่ใดก็สามารถเชื่อมตอเขา
ฐานขอมูลได
2.สามารถคนความรูได
3. เปนระบบ
4.ตองมีมาตรฐาน ขอมูลตอง reuse ได
5.มีการไหลเวียนได ผานกระบวนการในการสรางคุณคา เนนเอาเทคโนโลยีมาเปนเครื่องมือ สําคัญที่สุด
ระบบทั้งหมดอยูบนพื้นฐานของความไวเนื้อเชื่อใจ เชน ลูกนองทําผลงานเสร็จแลวสามารถอัพโหลดไดเลย โดยไม
ตองผานผูบังคับบัญชา ถือวาทุกคนมีสิทธิ์เทากันในการสรางผลงาน สุดทายกรรมการจะเปนคนตัดสินเอง

ความรูหลักของ สวทช. คืออะไร และความรูที่นํามาจัดการเปนความรูประเภทใด

ความรูหลัก ของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)
คือ ผลงานและ
นวัตกรรมที่เกิดจากนักวิจัยและการพัฒนา ความรูที่นํามาจัดการ คือ ทุกอยางที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จะใหความสําคัญกับความรูที่ชัดแจง
มากกวาความรูที่ซอนเรน เนื่องจากตระหนักวาการที่จะดึงเอาความรูที่ซอนเรนออกมาจากตัวบุคคลแทบไมมีทาง
ที่จะเปนไปได และพบวามีความรูที่ชัดแจงอยูแลว เพียงแตกระจัดกระจาย ไมเปนระบบ ดังนั้นจึงเริ่มจากการ
จัดเก็บความรูที่ชัดแจงของในหนวยงานมาจัดเก็บรวบรวมใหเปนระบบ ซึ่งจะทําใหการคนหาขอมูลสะดวกและ
รวดเร็วขึ้น เมื่อมีการนําความรูที่ชัดแจงมารวบรวมและเผยแพรในฐานขอมูล โดยบุคลากรสามารถใชผลงานใน
ฐานขอมูลเพื่อเปนผลงานในการเลื่อนตําแหนง สงผลใหความรูที่ซอนเรนเริ่มออกมา คนจะเริ่มดึงความรูออกมา
เขียนและใสในฐานขอมูล ทําใหความรูเพิ่มขึ้น เขาสูคลังเก็บขอมูลที่เรียกวา KR ซึ่งจะชวยกระตุนใหความรูที่ซอน
เรนออกมา
มีกระบวนการจัดการความรูอยางไร มีขั้นตอนอะไรบาง
หลักๆ ตั้งชื่อระบบวา myPreferment กระบวนการจัดการความรูมาจากประชาพิจารณ เนื่องดวยใช IT
ในการขับเคลื่อนการจัดการความรู มีการถอดความรูของคนออกมา ระบบ คือ
1. แหลงเก็บสะสมความรู
2. เนนสนับสนุนกระบวนการเลื่อนตําแหนงทางวิชาการ
3. ทํารายงานเชิงวิเคราะหเพื่อแผนเชิงกลยุทธของ สวทช.
มีโมเดลหลักๆ คือ

1. ทําวิจัยไดผลงานอะไรมา นําไปกรอกขอมูล
2. KM auditor จะเปนคนตรวจสอบขอมูล จะคอยตรวจสอบวาขอมูลที่ใสเขาไปถูกตองหรือไม
3. พิจารณาการใหคะแนน โดยมีเกณฑการใหคะแนนที่เปนมาตรฐานของหนวยงาน
4. ลงทะเบียน KM id
5. สืบคน
กระบวนการคอนขางจะแตกตางกับที่อื่น คือเนนเทคโนโลยีแตไมไดเนนการพบหนา

ใชรูปแบบ(Model) ใดในการจัดการความรูบาง อยางไร
สวทช.ไมมีรูปแบบโมเดลที่แทจริงโดยเพราะสวนใหญมีการศึกษาละเทียบเทียบจากตางประเทศเปนสวน
ใหญ ซึ่งมีการใชการศึกษาจาก S&p research แลวมาประยุกตใชใหเหมาะสมและเขากับองคกรโดยมีการนําเอา
best practice จากองคกรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเมืองนอกมาใช ซึ่งองคกรมักจะเนนการดูระบบ
มากกวาไมไดเนนการดูที่โมเดล หรืออาจกลาวไดวาเปนการเนนการปฏิบัติไมไดเนนทฤษฎี
เครื่องมือที่ใชในการจัดการความรู คืออะไร ทั้งประเภทกระบวนการและเทคโนโลยีมีอะไรบาง
เครื่องมือเปนเทคโนโลยี(IT) ซึ่งโดยสวนใหญจะเนนเครื่องมือที่เปนเทคโนโลยี เนื่องจากเปนองคกรที่
ขับเคลื่อนดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเครื่องมือที่เปนกระบวนการของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีดังนี้
- Social Network เว็บไซต blog
- Social Media facebook twitter YouTube
- คลังความรู
- ฐานขอมูลงานวิจัยไทย
- ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย
- Online Resources & Open Access
- ระบบผูเชี่ยวชาญ
- ระบบ my preferment

ปจจัยใดบางที่สนับสนุนการจัดการความรูของ สวทช.
1. นโยบายองคกรสูงสุดของสวทช. ตองมีการจัดการความรู การจัดการความรูของ สวทช. แปลวา “การ
ใชความรูเพื่อการจัดการที่ดี(กวา)” หรือ “Knowledge Better Management” องคกรมีความรูอยูแลวดังนั้น
จึงไมตองมีการสรางความรู แตความรูที่มีอยูแลวมีระบบจัดการที่ไมดี KM ของสวทช. เปนคํายอที่มาจากคําที่
แตกตางจากที่อื่น
2. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่พรอมสําหรับการขับเคลื่อนระบบ

ปญหาอุปสรรคของการจัดการความรู ของ สวทช. คืออะไร
ชวงแรกคือเรื่องของการยอมรับซึ่งนักวิจัยสวนใหญมักยังไมคอยใหวามรวมมือที่ดี จึงตองมีการสรางกลุม
นํารอง เพื่อเปนตัวกระตุนในการสรางผลงานของคนอื่น ๆ ในองคกร จะเกิดการเปรียบเทียบ ดังนั้นจึงเปนการ
เปรียบเทียบดวยผลงาน ระบบจะวิเคราะหวาในแตละป ใครควรที่จะไดเลื่อนตําแหนง
นอกจากนี้ยังพบวาปญหาที่ใหญที่สุด คือ ดิจิทัลมีเดีย ดิจิตอลไฟล ระบบตัวนี้จะใหอัพโหลดเอกสาร ไม
มีการตกลงกันวามาตรฐานของเอกสารตองเปนแบบไหน จึงทําใหเกิดปญหาการเปดเอกสารไมได ซึ่งปญหาใน
สวนนี้จะเกิดขึ้นจากคนสราง ไมไดเกิดจากระบบ คนสรางเปนคนนําเอาผลงานขึ้นไปสูระบบเอง แตก็มีการแกโดย
การรณรงคเพื่อสรางมาตรฐานและทําคูมือเผยแพรใหแกบุคลากรในองคกร อีกทั้งอาจพบปญหาที่ดานตัวเนื้อหา
ผลหรือประโยชนที่ไดรับจากการจัดการความรูคืออะไร
1. มีระบบคลังความรูกลาง ที่เก็บขอมูลของทุกศูนย จึงสามารถใชคลังความรูคนขอมูลไดอยางทั่วถึง
2. มีคลังความรูขนาดใหญ ที่เกิดจากการสรางของนักวิจัยเอง นักวิจัยจะสามารถเอาสวนนี้มาใชในการ
เลื่อนตําแหนงได และยังสามารถคนหาความรูเพื่อนําไปตอยอดได
3. ใชขอมูลประกอบเพื่อในการขอทุนอนุมัติโครงการอื่นๆ และเปนแหลงรายงานวิจัยผลงานของ สวทช.

More Related Content

Featured

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 

Featured (20)

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 

NSTDA KM - Knowledge Management

  • 1. นโยบายขององคกรดานการจัดการความรู นโยบายดานการจัดการความรูของ สวทช. มีการมุงเนน การสั่งสม และบริหารจัดการความรูและ ทรัพยสินทางปญญาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีเปาหมายยื่นจดและไดรับสิทธิบัตรของนักวิจัยภายใน องคกร และมีหนวยงานที่นําผลงานวิจัยของ สวทช. ไปใชประโยชน โดยการใชบริการขอมูลดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีจากระบบบริการความรูของ สวทช. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรูใหเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ มี เปาหมายการพัฒนาดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดานโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ไดแก ดานเครือขาย คอมพิวเตอร เครือขายไรสาย ระบบสํารอง/แผนฉุกเฉิน เครือขายเสมือน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ บริหาร ไดแก มีระบบวางแผนทรัพยากรองคกร ระบบบริหารบุคคล ระบบ Enterprise Content Management และระบบฐานขอมูลและระบบจัดการความรู ที่เชื่อมโยงกัน จากการวิเคราะห SWOT ในชวงระยะเวลาแรก พบวา แมจะมีผที่มีความรูความสามารถเปนจํานวนมาก ู แตก็กระจัดกระจายอยูในหลายหนวยงาน สงผลใหความรูกระจุกตัวอยูแตเฉพาะในหนวยงานของตัวเอง การ บริหารจัดการงานวิจัยและพัฒนายังไมเปนระบบ รวมทั้งยังขาดการพัฒนาบุคลากรในหนวยงานอยางเปนระบบ ดังนั้นในชวงแรกของการพัฒนาการจัดการความรูของ สวทช. จึงมีการสรางระบบฐานขอมูลและระบบ จัดการความรู (Knowledge management) เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บ จัดการ และบริหารองคความรูภายใน องคกร ใหบุคลากรของ สวทช. และในวงการวิจัย สามารถเขาถึงองคความรูและตอยอดองคความรู เพื่อพัฒนา งานวิจัยหรือนําไปประยุกตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีการนําระบบงานทั้งหมดมาเชื่อมโยงและจัดทําแผนกล ยุทธ แผนงานของ สวทช. และมีการติดตามและประเมินผลอยางสม่ําเสมอ เปาหมายของการจัดการความรูของ สวทช. คืออะไร การจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีเปาหมายอยู 5 ขอ คือ 1. การพัฒนาระบบลงทะเบียนองคความรูจากการปฏิบัติงาน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ประกอบดวย ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (BIOTEC) ศูนย เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (NANOTEC) และศูนยบริหารจัดการ เทคโนโลยี (TMC) โดยแตละหนวยงานจะมีนักวิจัย ปญหาคือ ความรูที่อยูกับนักวิจัยจะอยูแตในหนวยงานและ หองปฏิบัติการของตัวเอง ดังนั้นจึงมีเปาหมายที่จะเก็บความรูจากการปฏิบัติงาน เปนความรูทางดานการวิจัย นํามาเก็บรวบรวมในระบบฐานขอมูลศูนยกลาง ซึ่งจะทําใหสามารถคนหาขอมูลไดมากขึ้น และสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งสามารถหาขอมูลความถนัดในดานตางๆ ของบุคลากรในหนวยงาน เพื่อการพัฒนาการทํางานใหดียิ่งขึ้น ซึ่ง หมายถึงการรวบรวมความรูออกมาเปนคลังเก็บผลงานวิจัย ผลงานวิชาการของ สวทช. นั่นเอง 2. สรางแนวปฏิบัติใหเปนตนแบบของนักวิจัยทั้งหมด สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. แหงชาติ (สวทช.) ไมไดคาดหวังวานักวิจัยทั้งหมดตองเขาสูการจัดการความรู เพราะเปนเรื่องยาก จึงมีการสราง กลุมตนแบบชุมชนนักปฏิบัติ หรือกลุมนํารองขึ้นมา 1 กลุม เพื่อเปนตนแบบในการจัดการความรูใหกับคนอื่นๆใน หนวยงาน เชน นักวิจัยนําผลงานวิจัยมาใส เมื่อมีคนคนเจอ นักวิจัยคนอื่นก็จะรูสึกวาแลวผลงานตัวเองหายไป ไหน และสุดทายก็จะนําเอางานวิจัยของตนเองไปใส เปนตน และในสวนนี้ก็จะเปนหลักฐานในการเลื่อนตําแหนง ขึ้นเงินเดือน หรือเงินพิเศษ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีการขับเคลื่อนดวย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบจะทําการวิเคราะหวานักวิจัยในแตป มีผลงานกี่เรื่องและสามารถนําขอมูลใน สวนนี้มาใชในการขอเลื่อนตําแหนงได ซึ่งระบบนี้จะเรื่องวา Paperless promotion service หรือ การเลื่อน ตําแหนงโดยไรกระดาษ ซึ่งขอดี คือ การปองกันการทําวิจัยซ้ําซอน ปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ผลงาน ตอยอด ผลงานวิจัยและเปนตนแบบที่ดี 3. ใชในการเพิ่มผลิตภาพและความสามารถของบุคลากร การทําวิจัยของ สวทช. จะเปนการวิจัยใน หลากหลายสาขา จึงมักจะมีการทําการวิจัยรวมกับหนวยงานตางๆ เชน หากมีคนตองการทํางานวิจัยเรื่องของ การวิจัยดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตรแตมีความสามารถดานคอมพิวเตอร จึงจําเปนตองมีการหา ผูเชี่ยวชาญทางดานการเกษตรเขามารวมทําการวิจัยดวย เปนตน การจัดการความรูดวยเทคโนโลยีสารสนเทศจะ ทําใหทราบวาใครมีความสามารถและความถนัดทางดานใด ทําใหงายตอการหาผูเชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่ง 4. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะหเพื่อประเมินผลบุคคล โดยเรียกวา parent management เชน ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ จะทํางานวิจัยที่เกี่ยวกับแกลบ ทาง สวทช. มีความเชื่อวา คนที่ทํางานอยูแลวจะ มีความสามารถและความเชี่ยวชาญมากกวาคนใหม ทางฝายบุคคลจะตรวจสอบขอมูลภายในฐานวามีใครมีความ เชี่ยวชาญในด านของแกลบ และทํ าการติ ดต อไป และสามารถมี ก ารสั่ งบุ ค ลากรข ามสายงานได นอกจากนี้ ผลกระทบจากการแลกเปลี่ยนชุมชนนักปฏิบัติ คือ การเพิ่มขึ้นของจํานวนสมาชิก หนวยงาน และสวทช. (Performance) และเพิ่มจํานวนของการผลิตภาพ (Productivity) ใหมากขึ้น 5. Talent management ผลของการวิเคราะหจากระบบ (Analytics) สามารถสงผลในลักษณะ สนับสนุนในการวางแผนดําเนินงานดานบุคลากรของสวทช.ได ซึ่ง KM ของสวทช. ไมไดเริ่มมาจาก สวทช. แตเริ่ม จากศูนย (จากหนวยงานภายในของสวทช.) ที่ทํา KM อยูแลว สวทช. เห็นวาดี จึงนํามาประยุกตใชและกระดับมา เปน KMของสวทช. โดยเริ่มตั้งแต พ.ศ.2551 ซึ่งมีระบบ myPerformance กับ Patent Reward Policy จากเปาหมายจะไปทํา Road map
  • 3. สวทช. มีการทําการจัดการความรูมากอน ป 2551 แตเปนการจัดการความรูระดับศูนย มีการเลือกการ จัดการความรูของศูนยหนึ่งมาเปนตนแบบในการจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) ซึ่งมีตนแบบมาจาก ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) และ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (BIOTEC) แตถาพูดถึงการจัดการความรูของสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จะกลาวไดวามีการดําเนินการมาตั้งแตป 2551 แตแทจริงแลวมีการ เริ่มดําเนินการมากอนหนานั้น ป 2551 ทําระบบลงทะเบียนองคความรู ซึ่งเรียกวา my per formant เปนเรื่องของความสามารถของ แตละบุคคล หากตองการไดรับการสนับสนุนทั้งการเลื่อนตําแหนงและการขึ้นเงินเดือน ก็ตองมีการนําองคความรู เพิ่มลงไปในฐานขอมูล อีกอยางคือ patent reward policy เปนการใหรางวัลจากการจดสิทธิบัตร เพราะวา นักวิจัยจุดใหญสุดคือผลงานไดจดสิทธิบัตรหรือไม ถาใครสามารถทําการวิจัยจนถึงขึ้นการจดสิทธิบัตรและลง ฐานขอมูล ก็จะไดรับรางวัลเล็กๆนอยๆ ในขั้นตอนแรกจะเขาสูกระบวนการในการใหความรู Cops กับทุกคน สรางแรงจูงใจ และใหทุกคนนําผลงานของตัวเองลงในฐานขอมูล (แถบสีสม)
  • 4. 2551-2552 เขาสูกระบวนการทํา paperless promotion service 100% ไมตองใชกระดาษ 2553-2554 จากนั้นเปนการวิเคราะหมูลคาของงานที่นําลงฐานขอมูล วามีคุณคาแคไหน เปนการนํา ความรูมาใชในการเพิ่มมูลคาใหตนเอง 2555- ปจจุบัน เปน best practice ใหกับคนอื่น ตอนนี้อยูในจุดนี้ คือเปนแนวปฏิบัติใหกับคนอื่นๆ การเชื่อมโยงการจัดการความรูเขากับนโยบาย หรือ แผนกลยุทธขององคกร เปนอยางไร การจัดการความรูเกิดขึ้นมาจาก ศึกษาแนวทางการทําการจัดการความรูที่คนอื่นทํามากอนแลว แลวจึง นํามาประยุกตปรับปรุงใหเขากับลักษณะขององคกร จากการศึกษามาพบวา การจัดการความรูของประเทศไทยไม เหมาะกับ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จึงมีการนําแนวคิดของเมืองนอกเขามาใช ดังนั้นการจัดการความรูของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จึงจะแตกตางจากการ จัดการความรูของประเทศไทยโดยสิ้นเชิง จากนั้นก็เอาสิ่งที่ไดมา มาทําประชาพิจารณ ใหทุกคนใน สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีสวนรวม ดังนี้ 1. การวิเคราะหสถานการณ (swot analysis) เริ่มจากการศึกษาแนวทางจากองคกรหรือหนวยงานอื่นๆที่ เกี่ยวของเพื่อดําเนินงาน (SWOT Matrix หรือ ประชามติ) โดยสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) พบวาจุดเดนขององคกรคือทางดานไอที จึงมีการนําไอทีมาใชในการขับเคลื่อนการจัดการ ความรู และมีการนํามาพิจารณาวาความรูที่อยูในองคคือ ความรูที่ไดมาจากผลงานวิจัย ฉะนั้น สวทช. จึงใช เทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการและผลักดันไปสูศักยภาพของนักวิจัย
  • 5. 2. Knowledge Assets (KA) ความรูของนักวิจัยของ สวทช. พบวาหากมีการแบงความรูเปน 100% มี 80% ที่เปน Tacit และมี 20% ที่เปน Expliit สวทช. เล็งเห็นวาการดึงความรูที่ฝงลึกที่อยูในตัวคนออกมาเปนสิ่งที่ มีความเปนไปไดยากกวาการนําความรูที่ชัดแจงโดยมีการใชเทคโนโลยีเขาไปเปนเครื่องมีในการจัดการความรูใน องคกรใหงายยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงเริ่มตนจากการใหความสําคัญกับ 20% กอนเพื่อเปนการกระตุน สรางแรงจูงใจให นักวิจัยเพื่อสรางการเรงพัฒนาองคความรู โดยการดึงความรูที่ฝงลึกในตัวของนักวิจัยแตละคนออกมาโดยการเขียน งานวิจัยแลวจึงพัฒนาไปสู 80% เปนTacit ในที่สุด อยางไรก็ตามตองมีการเรงเก็บความรูของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ซึ่งก็คือความรูของนักวิจัย ที่นี่บุคลากร 70-80% คือนักวิจัย ความรูก็คือความรูในการทําวิจัย ทํายังไงก็ไดใหเขา เอาความรูที่มีอยูมาเขาสูกระบวนการจัดการความรู ถัดไป เมื่อเอาไอทีมาบริหารจัดการความรูของนักวิจัย ผลกระทบคือ ชวยใหทําวิจัยไดงายขึ้น เชน การหานักวิจัยรวมที่เชี่ยวชาญในดานที่ตองการ ดวยไอที เปนตน ซึ่ง จะเปนการยนระยะเวลา และยังชวยพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยใหดีขึ้น
  • 6. ทีนี่พอไดวา swot analysis คืออะไร ความรูเริ่มตนจากประเด็นไหน ก็มาเริ่มทําแผนปฏิบัติการ ผูบริหารสูงสุดตองเปนผูนํา (ผทว. ดร.ทวีศักดิ์ กออนันกูล) หากผูบริหารไมอนุมัติก็จะไมสามารถทําการจัดการ ความรูได มีการมอบหมายวาหนวยงานใดทําการจัดการความรู โดยมีการจัดตั้งทีมงานในการทํางาน(STKS) จากนั้นนํามาทําแนวปฏิบัติเรียกวา “วัฒนธรรมความรูของสวทช.” เพื่อนําไปสูการจัดการความรูตอไป ทีมงานจะ ไปคัดเลือกคนมาทํางาน และทํางานภายใตกรอบวัฒนธรรมความรู หามคิดนอกเหนือจากนี้เพราะมาจากประชา พิจารณ ซึ่งระบุวา 1. ระบบตองขับเคลื่อนดวยไอที และตองขับเคลื่อนไดงาย คือไมวาคุณอยูที่ใดก็สามารถเชื่อมตอเขา ฐานขอมูลได 2.สามารถคนความรูได 3. เปนระบบ 4.ตองมีมาตรฐาน ขอมูลตอง reuse ได 5.มีการไหลเวียนได ผานกระบวนการในการสรางคุณคา เนนเอาเทคโนโลยีมาเปนเครื่องมือ สําคัญที่สุด ระบบทั้งหมดอยูบนพื้นฐานของความไวเนื้อเชื่อใจ เชน ลูกนองทําผลงานเสร็จแลวสามารถอัพโหลดไดเลย โดยไม ตองผานผูบังคับบัญชา ถือวาทุกคนมีสิทธิ์เทากันในการสรางผลงาน สุดทายกรรมการจะเปนคนตัดสินเอง ความรูหลักของ สวทช. คืออะไร และความรูที่นํามาจัดการเปนความรูประเภทใด ความรูหลัก ของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) คือ ผลงานและ นวัตกรรมที่เกิดจากนักวิจัยและการพัฒนา ความรูที่นํามาจัดการ คือ ทุกอยางที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จะใหความสําคัญกับความรูที่ชัดแจง มากกวาความรูที่ซอนเรน เนื่องจากตระหนักวาการที่จะดึงเอาความรูที่ซอนเรนออกมาจากตัวบุคคลแทบไมมีทาง ที่จะเปนไปได และพบวามีความรูที่ชัดแจงอยูแลว เพียงแตกระจัดกระจาย ไมเปนระบบ ดังนั้นจึงเริ่มจากการ จัดเก็บความรูที่ชัดแจงของในหนวยงานมาจัดเก็บรวบรวมใหเปนระบบ ซึ่งจะทําใหการคนหาขอมูลสะดวกและ รวดเร็วขึ้น เมื่อมีการนําความรูที่ชัดแจงมารวบรวมและเผยแพรในฐานขอมูล โดยบุคลากรสามารถใชผลงานใน ฐานขอมูลเพื่อเปนผลงานในการเลื่อนตําแหนง สงผลใหความรูที่ซอนเรนเริ่มออกมา คนจะเริ่มดึงความรูออกมา เขียนและใสในฐานขอมูล ทําใหความรูเพิ่มขึ้น เขาสูคลังเก็บขอมูลที่เรียกวา KR ซึ่งจะชวยกระตุนใหความรูที่ซอน เรนออกมา
  • 7. มีกระบวนการจัดการความรูอยางไร มีขั้นตอนอะไรบาง หลักๆ ตั้งชื่อระบบวา myPreferment กระบวนการจัดการความรูมาจากประชาพิจารณ เนื่องดวยใช IT ในการขับเคลื่อนการจัดการความรู มีการถอดความรูของคนออกมา ระบบ คือ 1. แหลงเก็บสะสมความรู 2. เนนสนับสนุนกระบวนการเลื่อนตําแหนงทางวิชาการ 3. ทํารายงานเชิงวิเคราะหเพื่อแผนเชิงกลยุทธของ สวทช. มีโมเดลหลักๆ คือ 1. ทําวิจัยไดผลงานอะไรมา นําไปกรอกขอมูล 2. KM auditor จะเปนคนตรวจสอบขอมูล จะคอยตรวจสอบวาขอมูลที่ใสเขาไปถูกตองหรือไม 3. พิจารณาการใหคะแนน โดยมีเกณฑการใหคะแนนที่เปนมาตรฐานของหนวยงาน 4. ลงทะเบียน KM id 5. สืบคน กระบวนการคอนขางจะแตกตางกับที่อื่น คือเนนเทคโนโลยีแตไมไดเนนการพบหนา ใชรูปแบบ(Model) ใดในการจัดการความรูบาง อยางไร สวทช.ไมมีรูปแบบโมเดลที่แทจริงโดยเพราะสวนใหญมีการศึกษาละเทียบเทียบจากตางประเทศเปนสวน ใหญ ซึ่งมีการใชการศึกษาจาก S&p research แลวมาประยุกตใชใหเหมาะสมและเขากับองคกรโดยมีการนําเอา best practice จากองคกรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเมืองนอกมาใช ซึ่งองคกรมักจะเนนการดูระบบ มากกวาไมไดเนนการดูที่โมเดล หรืออาจกลาวไดวาเปนการเนนการปฏิบัติไมไดเนนทฤษฎี
  • 8. เครื่องมือที่ใชในการจัดการความรู คืออะไร ทั้งประเภทกระบวนการและเทคโนโลยีมีอะไรบาง เครื่องมือเปนเทคโนโลยี(IT) ซึ่งโดยสวนใหญจะเนนเครื่องมือที่เปนเทคโนโลยี เนื่องจากเปนองคกรที่ ขับเคลื่อนดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเครื่องมือที่เปนกระบวนการของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีดังนี้ - Social Network เว็บไซต blog - Social Media facebook twitter YouTube - คลังความรู - ฐานขอมูลงานวิจัยไทย - ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย - Online Resources & Open Access - ระบบผูเชี่ยวชาญ - ระบบ my preferment ปจจัยใดบางที่สนับสนุนการจัดการความรูของ สวทช. 1. นโยบายองคกรสูงสุดของสวทช. ตองมีการจัดการความรู การจัดการความรูของ สวทช. แปลวา “การ ใชความรูเพื่อการจัดการที่ดี(กวา)” หรือ “Knowledge Better Management” องคกรมีความรูอยูแลวดังนั้น จึงไมตองมีการสรางความรู แตความรูที่มีอยูแลวมีระบบจัดการที่ไมดี KM ของสวทช. เปนคํายอที่มาจากคําที่ แตกตางจากที่อื่น 2. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่พรอมสําหรับการขับเคลื่อนระบบ ปญหาอุปสรรคของการจัดการความรู ของ สวทช. คืออะไร ชวงแรกคือเรื่องของการยอมรับซึ่งนักวิจัยสวนใหญมักยังไมคอยใหวามรวมมือที่ดี จึงตองมีการสรางกลุม นํารอง เพื่อเปนตัวกระตุนในการสรางผลงานของคนอื่น ๆ ในองคกร จะเกิดการเปรียบเทียบ ดังนั้นจึงเปนการ เปรียบเทียบดวยผลงาน ระบบจะวิเคราะหวาในแตละป ใครควรที่จะไดเลื่อนตําแหนง นอกจากนี้ยังพบวาปญหาที่ใหญที่สุด คือ ดิจิทัลมีเดีย ดิจิตอลไฟล ระบบตัวนี้จะใหอัพโหลดเอกสาร ไม มีการตกลงกันวามาตรฐานของเอกสารตองเปนแบบไหน จึงทําใหเกิดปญหาการเปดเอกสารไมได ซึ่งปญหาใน สวนนี้จะเกิดขึ้นจากคนสราง ไมไดเกิดจากระบบ คนสรางเปนคนนําเอาผลงานขึ้นไปสูระบบเอง แตก็มีการแกโดย การรณรงคเพื่อสรางมาตรฐานและทําคูมือเผยแพรใหแกบุคลากรในองคกร อีกทั้งอาจพบปญหาที่ดานตัวเนื้อหา
  • 9. ผลหรือประโยชนที่ไดรับจากการจัดการความรูคืออะไร 1. มีระบบคลังความรูกลาง ที่เก็บขอมูลของทุกศูนย จึงสามารถใชคลังความรูคนขอมูลไดอยางทั่วถึง 2. มีคลังความรูขนาดใหญ ที่เกิดจากการสรางของนักวิจัยเอง นักวิจัยจะสามารถเอาสวนนี้มาใชในการ เลื่อนตําแหนงได และยังสามารถคนหาความรูเพื่อนําไปตอยอดได 3. ใชขอมูลประกอบเพื่อในการขอทุนอนุมัติโครงการอื่นๆ และเปนแหลงรายงานวิจัยผลงานของ สวทช.