SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
แนวทางการใช้ยา Doxycycline สําหรับโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู)
                                   โดย กรมควบคุมโรค และ ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย
           โรคเลปโตสไปโรสิส(โรคไข้ฉี่หนู) เป็นโรคติดต่อที่สําคัญโรคหนึ่งในประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วย
ทุกภาคของประเทศ แต่พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ผู้ป่วยมักมีประวัติเสี่ยง
สัมผัสกับสัตว์หรือสิ่งปนเปื้อนกับปัสสาวะสัตว์เช่น น้ํา ดิน โคลน ท่อระบายน้ําทิ้ง ในระยะหลัง
พบว่าบางพื้นที่เมื่อเกิดอุทกภัยจะมีรายงานผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นมาก
           โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันสําหรับมนุษย์แต่มีรายงานการวิจัยบางชิ้น
ที่ชี้ว่าการใช้ Doxycycline ขนาด ๒๐๐ มก.สัปดาห์ละครั้งอาจช่วยป้องกันการเกิดโรคได้ ในประเทศไทย
มีรายงานการวิจัยถึงประสิทธิผลของยาดังกล่าวในการป้องกันโรคบ้างแต่ยังกระจัดกระจายและได้ข้อสรุป
ที่หลากหลาย กรมควบคุมโรคร่วมกับคณะผู้เชี่ยวชาญจากชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทยจึงได้
จัดการประชุมหารือโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับปฏิบัติในพื้นที่ ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยและ
หน่วยงานภาครัฐอื่นๆมาประชุมร่วมกัน เพื่อพิจารณาข้อมูลทั้งภายในและภายนอกประเทศในเรื่อง
ดังกล่าว ได้ข้อสรุปเป็นแนวทางปฏิบัติการใช้ยา Doxycycline สําหรับโรคเลปโตสไปโรสิส ดังนี้
           ๑. ผลการวิจัยที่มีในปัจจุบันพบว่ายา Doxycycline ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ช่วย
ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ติดเชื้อแล้ว อีกทั้งการรับประทานยาเพื่อการป้องกันต้องรับประทาน
อย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละครั้งจนหมดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และอุบัติการณ์การติดเชื้อในฤดูฝนหรือ
ภาวะน้ําท่วมทั่วไปไม่สูงมาก ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ยา Doxycycline ในการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส
           ๒. สําหรับบุคคลกลุ่มเสี่ยงสูง (เช่น อาสาสมัครที่เข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ําท่วม เป็นต้น)
ในพื้นที่ที่เคยมีประวัติการระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส อาจพิจารณาให้ยา Doxycycline ในขนาด
๒๐๐ มก. สัปดาห์ละครั้งต่อเนื่องจนหมดภาวะเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงของโรค
           ๓. หากพบว่าจํานวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสมีแนวโน้มสูงขึ้นเฉพาะพื้นที่ อาจพิจารณาการให้ยา
Doxycycline ในกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง ในขนาด ๒๐๐ มก. สัปดาห์ละครั้งต่อเนื่องจนหมดภาวะเสี่ยง
เพื่อลดความรุนแรงของโรค
           ๔. บุคคลที่ได้รับยาดังกล่าวจะต้องได้รับการติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และไม่ละเลยการ
ป้องกันตัวเองจากโรคเลปโตสไปโรสิสด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การแต่งกายมิดชิดปกปิด หลีกเลี่ยงให้บาดแผล
สัมผัสกับแหล่งน้ําที่ไม่สะอาด เช่น น้ําอุทกภัย เป็นต้น หากมีอาการควรได้รับการตรวจวินิจฉัย
ยืนยันทางห้องปฏิบัติการ
สําหรับการรักษาผู้ป่วย
          กรณี ผู้ ป่ ว ยที่ มี ป ระวั ติ เ สี่ ย งต่ อ การติ ด เชื้ อ เลปโตสไปรา และมี ไข้ สู ง ให้ รั ก ษาด้ ว ย
Doxycycline ๑๐๐ มิลลิกรัม เช้า-เย็น เป็นระยะเวลา ๗ วัน การให้ยาเร็ว (ก่อนวันที่ ๔ หลังมีไข้)
จะช่วยลดความรุนแรงของอาการและภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสลงได้
        หากผู้ป่วยมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ตาเหลือง ตัวเหลือง หรือไตวาย หรือหอบ จําเป็นต้อง
วินิจฉัยแยกโรคติดเชื้ออื่นๆ เช่น cholangitis, Staphylococcus septicemia, E coli septicemia,
Melioidosis, Scrub typhus และ Malaria ด้วย ก่อนพิจารณาหรือให้การรักษาแบบโรคเลปโตสไปโรสิส
-๒-

ข้อควรระวัง
1. การใช้ยา Doxycycline ต้องรับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที ดื่มน้ําตามมากๆ เพื่อป้องกัน
    ผลข้างเคียงที่พบบ่อย ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน จุกแน่นบริเวณหน้าอก และห้ามนอนทันที (อย่างน้อย
    ๓๐ นาที) เพราะอาจทําให้เกิดหลอดอาหารอักเสบ รวมทั้งงดดื่มนมหลังกินยา
2. บุคคลที่มีข้อห้ามในการให้ยา Doxycycline เช่น หญิงตั้งครรภ์, ให้นมบุตร แพ้ยา ฯลฯ ต้องได้รับ
    ข้อมูลการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส ด้วยวิธีอื่นๆ

เอกสารอ้างอิง
๑. สรุปรายงานการประชุม ผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย
     วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
๒.   ดิเรก สุดแดน, พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ การศึกษาประสิทธิผลของการใช้ยาด๊อกซิไซคลินในการ
     ป้องกันการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส ภายหลังการเกิดน้ําท่วมใหญ่จังหวัดน่าน ระหว่างเดือน
     สิงหาคม-กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ เอกสารประกอบการประชุมผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการ
     ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป
     กรมควบคุมโรค
๓.   ขจรศักดิ์ ศิลปะโภชากุล และคณะ การระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิสภายหลังน้ําท่วมอําเภอ
     หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๔๓ เอกสารประกอบการประชุมผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการ
     ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป
     กรมควบคุมโรค
๔.   สํานักงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อเขต ๕ นครราชสีมา ประสิทธิผลของยา Doxycycline ในการ
     ป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีสในกลุ่มชาวนา วารสารสํานักงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อเขต ๕
     นครราชสีมา ๒๕๔๔ หน้า ๙๔-๑๐๓.
๕.   Takafuji E, Kirkpatrick J, Miller R, Karwacki J, Kelley P, Gray M, et al. An Efficacy Trial of
     Doxycycline Chemoprophylaxis Against Leptospirosis. JAMA 1984;310 : 497-500.




                                          ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ ☯☯☯☯


จัดทําโดย : กลุมพัฒนาวิชาการที่ 3 สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
               ่
            โทร 0 2590 3177-8 Email : zoo_cdc@yahoo.com

Download ได้ที่ http://thaigcd.ddc.moph.go.th/uploads/pdf/pat_3/Lepto54_Doxy_Guideline_2554-08-31.pdf

More Related Content

More from Aimmary

Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
Aimmary
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
Aimmary
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
Aimmary
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
Aimmary
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
Aimmary
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
Aimmary
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
Aimmary
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
Aimmary
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
Aimmary
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
Aimmary
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
Aimmary
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
Aimmary
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
Aimmary
 
Update tox 2010 june 2010 summon chomchai
Update tox 2010 june 2010 summon chomchaiUpdate tox 2010 june 2010 summon chomchai
Update tox 2010 june 2010 summon chomchai
Aimmary
 
Status epilepticus kong kiat
Status epilepticus kong kiatStatus epilepticus kong kiat
Status epilepticus kong kiat
Aimmary
 

More from Aimmary (20)

Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
 
Ped hiv
Ped  hivPed  hiv
Ped hiv
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
 
Hiv adult
Hiv adultHiv adult
Hiv adult
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Update tox 2010 june 2010 summon chomchai
Update tox 2010 june 2010 summon chomchaiUpdate tox 2010 june 2010 summon chomchai
Update tox 2010 june 2010 summon chomchai
 
Status epilepticus kong kiat
Status epilepticus kong kiatStatus epilepticus kong kiat
Status epilepticus kong kiat
 

Lepto54 doxy guideline_2554-08-31

  • 1. แนวทางการใช้ยา Doxycycline สําหรับโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู) โดย กรมควบคุมโรค และ ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย โรคเลปโตสไปโรสิส(โรคไข้ฉี่หนู) เป็นโรคติดต่อที่สําคัญโรคหนึ่งในประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วย ทุกภาคของประเทศ แต่พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ ผู้ป่วยมักมีประวัติเสี่ยง สัมผัสกับสัตว์หรือสิ่งปนเปื้อนกับปัสสาวะสัตว์เช่น น้ํา ดิน โคลน ท่อระบายน้ําทิ้ง ในระยะหลัง พบว่าบางพื้นที่เมื่อเกิดอุทกภัยจะมีรายงานผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นมาก โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันสําหรับมนุษย์แต่มีรายงานการวิจัยบางชิ้น ที่ชี้ว่าการใช้ Doxycycline ขนาด ๒๐๐ มก.สัปดาห์ละครั้งอาจช่วยป้องกันการเกิดโรคได้ ในประเทศไทย มีรายงานการวิจัยถึงประสิทธิผลของยาดังกล่าวในการป้องกันโรคบ้างแต่ยังกระจัดกระจายและได้ข้อสรุป ที่หลากหลาย กรมควบคุมโรคร่วมกับคณะผู้เชี่ยวชาญจากชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทยจึงได้ จัดการประชุมหารือโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับปฏิบัติในพื้นที่ ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยและ หน่วยงานภาครัฐอื่นๆมาประชุมร่วมกัน เพื่อพิจารณาข้อมูลทั้งภายในและภายนอกประเทศในเรื่อง ดังกล่าว ได้ข้อสรุปเป็นแนวทางปฏิบัติการใช้ยา Doxycycline สําหรับโรคเลปโตสไปโรสิส ดังนี้ ๑. ผลการวิจัยที่มีในปัจจุบันพบว่ายา Doxycycline ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ช่วย ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ติดเชื้อแล้ว อีกทั้งการรับประทานยาเพื่อการป้องกันต้องรับประทาน อย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละครั้งจนหมดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และอุบัติการณ์การติดเชื้อในฤดูฝนหรือ ภาวะน้ําท่วมทั่วไปไม่สูงมาก ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ยา Doxycycline ในการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส ๒. สําหรับบุคคลกลุ่มเสี่ยงสูง (เช่น อาสาสมัครที่เข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ําท่วม เป็นต้น) ในพื้นที่ที่เคยมีประวัติการระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส อาจพิจารณาให้ยา Doxycycline ในขนาด ๒๐๐ มก. สัปดาห์ละครั้งต่อเนื่องจนหมดภาวะเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงของโรค ๓. หากพบว่าจํานวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสมีแนวโน้มสูงขึ้นเฉพาะพื้นที่ อาจพิจารณาการให้ยา Doxycycline ในกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง ในขนาด ๒๐๐ มก. สัปดาห์ละครั้งต่อเนื่องจนหมดภาวะเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงของโรค ๔. บุคคลที่ได้รับยาดังกล่าวจะต้องได้รับการติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และไม่ละเลยการ ป้องกันตัวเองจากโรคเลปโตสไปโรสิสด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การแต่งกายมิดชิดปกปิด หลีกเลี่ยงให้บาดแผล สัมผัสกับแหล่งน้ําที่ไม่สะอาด เช่น น้ําอุทกภัย เป็นต้น หากมีอาการควรได้รับการตรวจวินิจฉัย ยืนยันทางห้องปฏิบัติการ สําหรับการรักษาผู้ป่วย กรณี ผู้ ป่ ว ยที่ มี ป ระวั ติ เ สี่ ย งต่ อ การติ ด เชื้ อ เลปโตสไปรา และมี ไข้ สู ง ให้ รั ก ษาด้ ว ย Doxycycline ๑๐๐ มิลลิกรัม เช้า-เย็น เป็นระยะเวลา ๗ วัน การให้ยาเร็ว (ก่อนวันที่ ๔ หลังมีไข้) จะช่วยลดความรุนแรงของอาการและภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสลงได้ หากผู้ป่วยมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ตาเหลือง ตัวเหลือง หรือไตวาย หรือหอบ จําเป็นต้อง วินิจฉัยแยกโรคติดเชื้ออื่นๆ เช่น cholangitis, Staphylococcus septicemia, E coli septicemia, Melioidosis, Scrub typhus และ Malaria ด้วย ก่อนพิจารณาหรือให้การรักษาแบบโรคเลปโตสไปโรสิส
  • 2. -๒- ข้อควรระวัง 1. การใช้ยา Doxycycline ต้องรับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที ดื่มน้ําตามมากๆ เพื่อป้องกัน ผลข้างเคียงที่พบบ่อย ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน จุกแน่นบริเวณหน้าอก และห้ามนอนทันที (อย่างน้อย ๓๐ นาที) เพราะอาจทําให้เกิดหลอดอาหารอักเสบ รวมทั้งงดดื่มนมหลังกินยา 2. บุคคลที่มีข้อห้ามในการให้ยา Doxycycline เช่น หญิงตั้งครรภ์, ให้นมบุตร แพ้ยา ฯลฯ ต้องได้รับ ข้อมูลการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส ด้วยวิธีอื่นๆ เอกสารอ้างอิง ๑. สรุปรายงานการประชุม ผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค ๒. ดิเรก สุดแดน, พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ การศึกษาประสิทธิผลของการใช้ยาด๊อกซิไซคลินในการ ป้องกันการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส ภายหลังการเกิดน้ําท่วมใหญ่จังหวัดน่าน ระหว่างเดือน สิงหาคม-กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ เอกสารประกอบการประชุมผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการ ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค ๓. ขจรศักดิ์ ศิลปะโภชากุล และคณะ การระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิสภายหลังน้ําท่วมอําเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๔๓ เอกสารประกอบการประชุมผู้เชี่ยวชาญและคณะกรรมการ ชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค ๔. สํานักงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อเขต ๕ นครราชสีมา ประสิทธิผลของยา Doxycycline ในการ ป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีสในกลุ่มชาวนา วารสารสํานักงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อเขต ๕ นครราชสีมา ๒๕๔๔ หน้า ๙๔-๑๐๓. ๕. Takafuji E, Kirkpatrick J, Miller R, Karwacki J, Kelley P, Gray M, et al. An Efficacy Trial of Doxycycline Chemoprophylaxis Against Leptospirosis. JAMA 1984;310 : 497-500. ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ จัดทําโดย : กลุมพัฒนาวิชาการที่ 3 สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ่ โทร 0 2590 3177-8 Email : zoo_cdc@yahoo.com Download ได้ที่ http://thaigcd.ddc.moph.go.th/uploads/pdf/pat_3/Lepto54_Doxy_Guideline_2554-08-31.pdf