SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
ELECTRONIC  COMMERCE LAW    กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในการจัดทำ  “โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ”  ดำเนินการโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เมื่อวันที่  15  ธันวาคม  2541  ซึ่งประกอบด้วยกฎหมาย  6  ฉบับ
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object]
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 
 
สาระสำคัญของกฏหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรับรองสถานะข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ประโยชน์ของกฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหากฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object]
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
 
 
 
สาระสำคัญขอบเขตกฏหมายลายเซ็นทางอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเทศที่มีกฎหมายลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object]
พัฒนาการของ เงิน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สาระสำคัญของ กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเทศที่มีกฎหมายการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object],[object Object]
 
 
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ,[object Object]
ตัวอย่างคดีอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กรณีตัวอย่าง ในประเทศไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาของการเกิด อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  ,[object Object]
[object Object],[object Object],ปัญหาของการเกิด อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
[object Object],ปัญหาของการเกิด อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สาระสำคัญของ พ . ร . บ .  ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ . ศ . 2544       เหตุผลในการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ . ศ . 2544”  คือเพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการทำธุรกรรม หรือสัญญา ให้มีผลเช่นเดียวกับการทำสัญญาตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายปัจจุบัน  ( ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ )  กำหนดไว้ ได้แก่ การทำเป็นหนังสือ หลักฐานเป็นหนังสือ การลงลายมือชื่อ กล่าวคือถ้ามีการทำสัญญาระหว่างบุคคลที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามความหมายของกฎหมายแล้ว กฎหมายนี้ถือว่าการทำสัญญานั้นได้ทำตามหลักเกณฑ์ข้างต้นของกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์แล้ว เป็นผลทำให้สัญญานั้นมีผลสมบูรณ์หรือใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กำหนด
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พระราชบัญญัติ   ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์   พ . ศ . 2544  ภูมิพลอดุลยเดช   ป . ร .   ให้ไว้   ณ   วันที่   2  ธันวาคม   พ . ศ . 2544  และมีผล บังคับใช้ตั้งแต่ เมษายน พ . ศ .  2545   โดย คณะกรรมการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นผู้ดูแลการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้ โดย มีเนื้อหาสำคัญเกี่ยวกับการค้าของกฎหมายดังนี้
เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1.  มาตรา  7   ระบุไว้ว่า  “ ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพัน และการบังคับใช้ทาง กฏหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ” 2.  มาตรา  9   ระบุไว้ว่า  “ ในกรณีที่ บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ   ให้ถือว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการลงลายมือชื่อแล้ว   ถ้า   (1)  ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ   และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อรับรอง ข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน ”
เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 3.  มาตรา  10   ระบุไว้ว่า  “ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดให้นำเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่เป็นมาแต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ   ถ้าได้นำเสนอหรือ เก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้   ให้ถือว่าได้มีการนำเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสาร   ต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว (1)  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้อง   ของข้อความตั้งแต่การสร้างข้อความเสร็จสมบูรณ์   และ (2)  สามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้   ความถูกต้องของ   ข้อความตาม   (1)  ให้พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ   เว้นแต่การรับรอง   หรือบันทึกเพิ่มเติม … ”
4.  มาตรา  23   ระบุไว้ว่า  “ การรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลของผู้รับข้อมูล   หากผู้รับข้อมูลได้กำหนดระบบข้อมูลที่ประสงค์จะใช้ในการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไว้โดยเฉพาะ   ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลได้กำหนดไว้นั้น   แต่ถ้าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวได้ส่งไปยังระบบข้อมูลอื่นของผู้รับข้อมูล   ซึ่งมิใช่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลกำหนดไว้   ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลาที่ได้เรียกข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากระบบข้อมูลนั้น ” เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
5.  มาตรา  25   ระบุถึงบทบาทของภาครัฐในการให้บริการประชาชนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้อำนาจหน่วยงานรัฐบาลสามารถสร้างระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์  (e-Government)   ในการให้บริการประชาชนได้ โดยต้องออกประกาศ หรือกฎกระทรวงเพิ่มเติม เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
6.  มาตรา   27   ได้กำหนดหน้าที่ของเจ้าของใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ดังนี้  “ (1)   ใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อมิให้มีการใช้ข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์   โดยไม่ได้รับอนุญาต   (2)  แจ้งให้บุคคลที่คาดหมายได้โดยมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะกระทำการใดโดยขึ้นอยู่กับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์   หรือให้บริการเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์   ทราบโดยมิชักช้า   เมื่อ ( ก )  เจ้าของลายมือชื่อรู้หรือควรได้รู้ว่าข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น   สูญหาย   ถูกทำลาย   ถูกแก้ไข   ถูกเปิดเผย   โดยมิชอบ   หรือถูกล่วงรู้โดยไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์   ( ข )  เจ้าของลายมือชื่อรู้จากสภาพการณ์ที่ปรากฏว่ากรณีมีความเสี่ยงมากพอที่ข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์   สูญ   หาย   ถูกทำลาย   ถูกแก้ไข   ถูกเปิดเผยโดยมิชอบ   หรือถูกล่วงรู้โดยไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ... ” เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
[object Object],[object Object]
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 ,[object Object],[object Object],[object Object]
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 ,[object Object],[object Object]
ประเภทผู้ให้บริการตาม พ . ร . บ .  คอมพิวเตอร์ระบุ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทของข้อมูลที่ต้องเก็บรักษา ,[object Object],[object Object],[object Object]
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด  ( บาท ) 5 เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ 6   เดือน 1 0 ,000  บาท 6 การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึง 1   เดือน 10,000  บาท 7 เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ 2   ปี 4 0,000  บาท 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ 3  ปี 60,000  บาท 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ 5  ปี 100,000  บาท 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ 5  ปี 100,000  บาท
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด  ( บาท ) 11 การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่นโดยปกติสุข  ( Spam Mail) 100,000 ไม่เกิน  100,000  บาท 12 การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง 1  ปี 2  หมื่นบาท 1 3,17 การกระทำต่อความมั่นคง -  ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลฯ 1  ปี  –  10  ปี 2  หมื่นบาท –  2  แสนบาท -  กระทบต่อความมั่นคง 3  ปี  –  15  ปี 6  หมื่นบาท -  3  แสนบาท -  อันตรายแก่ร่างกายหรือชีวิต ประหารชีวิต  /  จำคุกตลอดชีวิต  / 10  ปี -20  ปี
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด  ( บาท ) 14 ความรับผิดของผู้ให้บริการ 2  ปี  - 5  ปี 4  หมื่นบาท – 1  แสนบาท  15 การตัดต่อภาพผู้อื่น 3  ปี 6  แสนบาท
หน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร
ลิขสิทธิ์   หมายถึง   สิทธิของผู้สร้างสรรค์แต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำได้   ( เช่นการทำซ้ำ   ดัดแปลง   เผยแพร่   ให้เช่า   หรืออนุญาตให้ใช้สิทธิ์ )  เกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น   ลิขสิทธิ์   เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา   ความรู้ความสามารถ   และความวิริยะอุตสาหะในการสร้างสรรค์งานให้เกิดขึ้น   ซึ่งถือว่าเป็น   " ทรัพย์สินทางปัญญา " ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร
งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สิ่งที่ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร สิทธิบัตร   มีด้วยกัน  2  ความหมาย คือ 1.       สิทธิบัตร   หมายถึง   หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้น   หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด   2.  สิทธิบัตร   หมายถึง   สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาดหรือสิทธิแต่เพียงผู้เดียว   ในการแสวงหาผลประโยชน์จากการประดิษฐ์   หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น   เช่น   การผลิตและจำหน่าย   เป็นต้น   และสิทธิที่ว่านี้จะมีอยู่เพียงช่วงระยะเวลาที่จำกัดช่วงหนึ่งเท่านั้น
ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร สิทธิบัตร  แบ่งออกเป็น  2  ประเภท คือ 1.   สิทธิบัตรการประดิษฐ์   หมายถึง   ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบโครงสร้าง   หรือกลไกของผลิตภัณฑ์   รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต   การรักษา   หรือการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น   หรือทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม   2.  สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์   หมายถึง   ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับรูปร่าง   ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากเดิม
อายุสิทธิบัตร ,[object Object]
ความแตกต่างระหว่างลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์   เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน   และมิต้องจดทะเบียน   ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด   ลิขสิทธิ์  เป็นทรัพย์สินประเภทที่สามารถซื้อขาย หรือโอนสิทธิกันได้ทั้งทางมรดก หรือ โดยวิธีอื่น ๆ การโอนลิขสิทธิ์ควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจน จะโอนสิทธิทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้  สิทธิบัตร  จะแบ่งออกเป็น   2  ประเภท   คือ   สิทธิบัตรการประดิษฐ์   และสิทธิบัตรการออกแบบ   ทั้งสองประเภทจะต้องเป็นผลงานที่คิดขึ้นมาใหม่   ยังไม่เคยมีและเผยแพร่ที่ไหนมาก่อนทั้งในประเทศ   และต่างประเทศจะต้องมีการจดทะเบียน   และเสียค่าธรรมเนียม   จนถึงกำหนดอายุในการคุ้มครอง
กรณีศึกษาของ “คาราบาวแดง” ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กรณีศึกษาปัญหาการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล อันเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กิจกรรม ,[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์bomch
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Yo Maru
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบpuangtong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1puangtong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Pheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 

What's hot (17)

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตแมว
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปายความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตปาย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 

Similar to Chapter 5 ec_law

E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศanusorn kraiwatnussorn
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงETDAofficialRegist
 
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2pisandesign
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Toey_Wanatsanan
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวMilkSick
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ Vi Vik Viv
 

Similar to Chapter 5 ec_law (20)

E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุงกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับปรุบปรุง
 
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2
Chapter 1 2 introduction_open_forum_on_de_draft_laws_v1-2
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
 

Chapter 5 ec_law

  • 1. ELECTRONIC COMMERCE LAW กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce
  • 2. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในการจัดทำ “โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ” ดำเนินการโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ซึ่งประกอบด้วยกฎหมาย 6 ฉบับ
  • 3.
  • 4.
  • 6.  
  • 7.  
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 17.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 23.  
  • 24.  
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.  
  • 33.  
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 41. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สาระสำคัญของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ . ศ . 2544       เหตุผลในการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ . ศ . 2544” คือเพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการทำธุรกรรม หรือสัญญา ให้มีผลเช่นเดียวกับการทำสัญญาตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายปัจจุบัน ( ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ) กำหนดไว้ ได้แก่ การทำเป็นหนังสือ หลักฐานเป็นหนังสือ การลงลายมือชื่อ กล่าวคือถ้ามีการทำสัญญาระหว่างบุคคลที่ใช้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามความหมายของกฎหมายแล้ว กฎหมายนี้ถือว่าการทำสัญญานั้นได้ทำตามหลักเกณฑ์ข้างต้นของกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์แล้ว เป็นผลทำให้สัญญานั้นมีผลสมบูรณ์หรือใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กำหนด
  • 42. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ . ศ . 2544 ภูมิพลอดุลยเดช ป . ร . ให้ไว้ ณ วันที่ 2 ธันวาคม พ . ศ . 2544 และมีผล บังคับใช้ตั้งแต่ เมษายน พ . ศ . 2545 โดย คณะกรรมการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นผู้ดูแลการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้ โดย มีเนื้อหาสำคัญเกี่ยวกับการค้าของกฎหมายดังนี้
  • 43. เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1. มาตรา 7 ระบุไว้ว่า “ ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพัน และการบังคับใช้ทาง กฏหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ” 2. มาตรา 9 ระบุไว้ว่า “ ในกรณีที่ บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ให้ถือว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการลงลายมือชื่อแล้ว ถ้า (1) ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อรับรอง ข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน ”
  • 44. เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 3. มาตรา 10 ระบุไว้ว่า “ ในกรณีที่กฎหมายกำหนดให้นำเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่เป็นมาแต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นำเสนอหรือ เก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าได้มีการนำเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสาร ต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว (1) ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้อง ของข้อความตั้งแต่การสร้างข้อความเสร็จสมบูรณ์ และ (2) สามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้ ความถูกต้องของ ข้อความตาม (1) ให้พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรอง หรือบันทึกเพิ่มเติม … ”
  • 45. 4. มาตรา 23 ระบุไว้ว่า “ การรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลของผู้รับข้อมูล หากผู้รับข้อมูลได้กำหนดระบบข้อมูลที่ประสงค์จะใช้ในการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไว้โดยเฉพาะ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลได้กำหนดไว้นั้น แต่ถ้าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวได้ส่งไปยังระบบข้อมูลอื่นของผู้รับข้อมูล ซึ่งมิใช่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลกำหนดไว้ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลาที่ได้เรียกข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากระบบข้อมูลนั้น ” เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
  • 46. 5. มาตรา 25 ระบุถึงบทบาทของภาครัฐในการให้บริการประชาชนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้อำนาจหน่วยงานรัฐบาลสามารถสร้างระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ในการให้บริการประชาชนได้ โดยต้องออกประกาศ หรือกฎกระทรวงเพิ่มเติม เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
  • 47. 6. มาตรา 27 ได้กำหนดหน้าที่ของเจ้าของใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ดังนี้ “ (1) ใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อมิให้มีการใช้ข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ได้รับอนุญาต (2) แจ้งให้บุคคลที่คาดหมายได้โดยมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะกระทำการใดโดยขึ้นอยู่กับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือให้บริการเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทราบโดยมิชักช้า เมื่อ ( ก ) เจ้าของลายมือชื่อรู้หรือควรได้รู้ว่าข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น สูญหาย ถูกทำลาย ถูกแก้ไข ถูกเปิดเผย โดยมิชอบ หรือถูกล่วงรู้โดยไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ( ข ) เจ้าของลายมือชื่อรู้จากสภาพการณ์ที่ปรากฏว่ากรณีมีความเสี่ยงมากพอที่ข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ สูญ หาย ถูกทำลาย ถูกแก้ไข ถูกเปิดเผยโดยมิชอบ หรือถูกล่วงรู้โดยไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ... ” เนื้อหาสำคัญ ของ พ . ร . บ . ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด ( บาท ) 5 เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ 6 เดือน 1 0 ,000 บาท 6 การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึง 1 เดือน 10,000 บาท 7 เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ 2 ปี 4 0,000 บาท 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ 3 ปี 60,000 บาท 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ 5 ปี 100,000 บาท 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ 5 ปี 100,000 บาท
  • 54. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด ( บาท ) 11 การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่นโดยปกติสุข ( Spam Mail) 100,000 ไม่เกิน 100,000 บาท 12 การจำหน่าย / เผยแพร่ชุดคำสั่ง 1 ปี 2 หมื่นบาท 1 3,17 การกระทำต่อความมั่นคง - ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลฯ 1 ปี – 10 ปี 2 หมื่นบาท – 2 แสนบาท - กระทบต่อความมั่นคง 3 ปี – 15 ปี 6 หมื่นบาท - 3 แสนบาท - อันตรายแก่ร่างกายหรือชีวิต ประหารชีวิต / จำคุกตลอดชีวิต / 10 ปี -20 ปี
  • 55. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ . ศ .2550 มาตรา ฐานความผิด โทษจำคุก สูงสุด โทษปรับสูงสุด ( บาท ) 14 ความรับผิดของผู้ให้บริการ 2 ปี - 5 ปี 4 หมื่นบาท – 1 แสนบาท 15 การตัดต่อภาพผู้อื่น 3 ปี 6 แสนบาท
  • 56.
  • 58. ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิของผู้สร้างสรรค์แต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำได้ ( เช่นการทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่ ให้เช่า หรืออนุญาตให้ใช้สิทธิ์ ) เกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น ลิขสิทธิ์ เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะในการสร้างสรรค์งานให้เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าเป็น " ทรัพย์สินทางปัญญา " ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65. ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร สิทธิบัตร มีด้วยกัน 2 ความหมาย คือ 1.     สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้น หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด 2. สิทธิบัตร หมายถึง สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาดหรือสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการแสวงหาผลประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิตและจำหน่าย เป็นต้น และสิทธิที่ว่านี้จะมีอยู่เพียงช่วงระยะเวลาที่จำกัดช่วงหนึ่งเท่านั้น
  • 66. ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร สิทธิบัตร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบโครงสร้าง หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม 2. สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากเดิม
  • 67.
  • 68. ความแตกต่างระหว่างลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน และมิต้องจดทะเบียน ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินประเภทที่สามารถซื้อขาย หรือโอนสิทธิกันได้ทั้งทางมรดก หรือ โดยวิธีอื่น ๆ การโอนลิขสิทธิ์ควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจน จะโอนสิทธิทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้ สิทธิบัตร จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ และสิทธิบัตรการออกแบบ ทั้งสองประเภทจะต้องเป็นผลงานที่คิดขึ้นมาใหม่ ยังไม่เคยมีและเผยแพร่ที่ไหนมาก่อนทั้งในประเทศ และต่างประเทศจะต้องมีการจดทะเบียน และเสียค่าธรรมเนียม จนถึงกำหนดอายุในการคุ้มครอง
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.