SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
การจัดการทรัพยากรนาแบบบูรณาการ : แนวคิด ข้ อวิพากษ์ และคาถามการวิจัย
                           ้
                   Integrated Water Resource Management: Concept, Critical and Research Questions


บทคัดย่ อ
บทความนาเสนอการทบทวนแนวคิด ความรู้ ปฏิบตการ ข้ อวิพากษ์ รวมถึงช่องว่างความรู้ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการ
                                                    ัิ
ทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ หรื อที่ใช้ กนโดยทั่วไปว่า Integrated Water Resource Management – IWRM ซึ่งพบว่า
                                            ั
ในช่วง 200 ปี ที่ผานมา คาว่า การจัดการน ้ามีการเปลี่ยนผ่านความหมายไปมาก ซึ่งขึ ้นอยู่กบพัฒนาการของปั จจัย
                   ่                                                                  ั
เศรษฐกิจ การเมืองของแต่ละสังคม นันทาให้ ปัจจุบนคาว่า การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการจึงยังคงมีการแย่งชิง
                                          ่            ั
เพื่อให้ ความหมายที่แตกต่างกันไป เฉพาะคาว่า “บูรณาการ” ก็พบว่ามีจานวนความหมายมากถึง 35 ความหมาย และ
กล่าวสาหรับประเทศไทยที่การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการเกิดขึ ้นจากแรงผลักดันขององค์กรภายนอกนัน ไม่   ้
สามารถสร้ างผลการเปลี่ยนแปลงใดๆ ต่อการจัดการทรัพยากรน ้าได้ นอกจากต้ องเป็ นกระบวนการปฏิรูปสถาบันการ
จัดการน ้าที่เกิดขึ ้นจากกระบวนการภายในของสังคมเอง ซึ่งในตอนท้ ายบทความก็ได้ ระบุประเด็นช่องว่างความรู้ที่ยงคง
                                                                                                           ั
ต้ องการค้ นคว้ าวิจยเพื่อให้ เกิดความรู้และการเปลี่ยนแปลงจากภายในสังคมเอง
                      ั

คาสาคัญ : การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ การจัดการลุมน ้า การจัดการน ้า การปฏิรูปสถาบันการจัดการน ้า
                                                      ่

Abstract
The article presents a review of the critique of knowledge and knowledge gaps related to integrated water
resources management. The review found that during the 200 years ago, knowledge on water management
has been changed in meaning and practice by socio-economic and politic context of each society. Nowadays
the different definitions on Integrated Water Resource Management (IWRM) are still competing. Furthermore,
the meaning of “integration” in water resource management, there are 35 multiplicity of meanings. In Thailand,
the IWRM has been driven by external organizations such as the World Bank, ADB. But it still can not create
change in water resouce management and institution. Regrading on institutional reform in water resource
management, The review pointed out that it must be internal process and emerging in Thai context itself. In the
end, the article identifies the knowledge gaps that still need research for change.

Key word : integrated water resource management, watershed management, water resource management,
water management institution reform

ผู้เขียน : อาจารย์วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (วทม.เทคโลยีการบริหารสิงแวดล้ อม)
                                                             ่
ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์




                                                                                                                 1
บทความนี ้ทาหน้ าที่ทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้ องกับแนวคิดเรื่ องการจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ หรื อที่
ใช้ กนโดยทัวไปว่า Integrated Water Resource Management – IWRM เนื ้อหาของบทความ จะ
     ั     ่
ครอบคลุมในประเด็นแนวคิด และข้ อถกเถียง องค์ประกอบหลักของแนวคิด และประเด็นช่องว่างความรู้ ที่
ต้ องการการศึกษาวิจยและปฏิบติการเพื่อนาไปสูการปฏิรูปสถาบันการจัดการน ้าในสังคมไทย
                     ั        ั                  ่

1. คานา

ยุคสมัยของการจัดการน ้า (ในประเทศพัฒนาแล้ ว) ในช่วง 2 ศตวรรษที่ผานมานัน ได้ เคลือนผ่านยุคสมัย
                                                                     ่       ้     ่
ของความรู้ในการจัดการมาแล้ วอย่างน้ อย 5 ยุค ซึง Allan (2003) ได้ แบ่งความรู้ออกตามช่วงเวลาต่างๆ ดัง
                                               ่
รูปข้ างล่าง




รูปที่ 1 ยุคสมัยของการจัดการน ้าในช่วง 200 ปี ที่ผานมา
                                                  ่

จากยุคที่เน้ นการจัดการเพื่อตอบสนองความต้ องการเป็ นหลัก (demand oriented) มาสูยคการจัดการที่
                                                                                   ุ่
มองปริ มาณน ้าที่มีอยูอย่างจากัด (supply oriented) แต่ก็เป็ นการมองน ้าที่แยกขาดออกจากบริบทและ
                      ่
ทรัพยากรอื่นๆ จนมาสูยค multi-functional adaptive framework (Jeffrey and Geary, 2004 p.2) ที่
                        ุ่
มอง “น ้า”อย่างเป็ น องค์รวม (holistic) และ บูรณาการ (integrated) โดยมองอย่างเห็นปฏิสมพันธ์ ระหว่าง
                                                                                      ั


                                                                                                      2
น ้า กับ คน และ ระบบนิเวศวิทยา (Wallace et al., 2003) และ IWRM คือ แนวคิดที่สะท้ อนให้ เห็นถึง
ลักษณะของแนวทางการจัดการน ้าในยุคปั จจุบนที่เน้ นการบูรณาการได้ เป็ นอย่างดี
                                          ั

แต่ควรกล่าวไว้ ด้วยว่า การเปลียนผ่านความรู้ในการจัดการทรัพยากรน ้า ในประเทศกาลังพัฒนานัน ยังคง
                              ่                                                                ้
ได้ รับอิทธิพลอย่างสูงจากความรู้ในด้ านอุทกศาสตร์ (จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าแนวคิดนี ้มีอิทธิพลยาวนานนับ
100 ปี ) ซึงส่งผลให้ แนวทางการจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการในประเทศกาลังพัฒนา อย่างประเทศ
            ่
ไทย โดยส่วนใหญ่จะยังคงอยูบนฐานของแนวทางและเครื่ องมือแนวอุทกศาสตร์ เป็ นสาคัญ ในขณะที่
                            ่
แนวทางและเครื่ องมือการจัดการเชิงสถาบันและการเมือง ยังมีพฒนาการไม่มากนัก ซึงจะได้ กล่าวถึงเรื่ อง
                                                               ั                      ่
เครื่ องมือการจัดการต่อไป

2. การจัดการทรัพยากรนาแบบบูรณาการ : การแย่ งชิงความหมาย
                     ้

ปี 2002 ในการประชุมสิงแวดล้ อมโลกที่ Johannesburg, คณะกรรมการที่ปรึกษาด้ านเทคนิค ขององค์กร
                          ่
พันธมิตรน ้าโลก (the Technical Advisory Committee of Global Water Partnership ; GWP-TAC) ได้ ให้
นิยาม IWRM ว่า เป็ นกระบวนการทีสงเสริ มให้เกิ ดการประสานความร่วมมื อการพัฒนาและการจัดการน้า
                                     ่่
ทีดิน และทรัพยากรที ่เกี ่ยวข้องสัมพันธ์ กน เพือให้เกิ ดประโยชน์สงสุดในด้านเศรษฐกิ จ และความเท่าเทียม
  ่                                       ั ่                    ู
กันในด้านสวัสดิ การสังคม โดยอยู่บนฐานความยังยืนของระบบนิเวศวิ ทยา ทีสาคัญ น้า ควรได้รบการ
                                                  ่                         ่               ั
จัดการภายใต้ขอบเขตความเป็ นลุ่มน้า ภายใต้หลักการธรรมาภิ บาลและการมี สวนร่วมของสาธารณะ
                                                                              ่
(GWP-TAC, 2000)

อย่างไรก็ดี หากย้ อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ จะพบว่า แนวคิดเรื่ อง IWRM ได้ มีการอ้ างถึงในการประชุม
เรื่ องน ้า UN ที่เมือง Mar del Plata มาตังแต่ปี 1977 ซึงเสนอไว้ วา การจัดการน ้าควรจะต้ อง incorporate
                                          ้             ่         ่
the multiple competing and conflicting uses of water resources แต่กว่าที่เรื่ องการจัดการน ้า จะ
กลายเป็ นประเด็นสาคัญระดับนานาชาติ ก็ต้องรอนานกว่า 10 ปี กล่าวคือ หลังจาก ปี 1992 ซึงมีการ    ่
ประชุม International Conference on Water and Environment ที่เมือง Dublin ผลจากการประชุมได้ มี
อิทธิพลอย่างมากต่อการทาให้ ประเด็น IWRM กลับมามีชีวิตอีกครังในเวทีระหว่างประเทศ
                                                                    ้

แนวคิด IWRM ของ Global Water Partnership (GWP) ข้ างต้ น ได้ รับการยอมรับและได้ รับการผลักดันให้ มี
การนาไปใช้ อย่างกว้ างขวางในเวทีองค์กรระหว่างประเทศ ทังจาก The World Water Council (WWC),
                                                      ้
Global Water Partnership (GWP), the World Bank (WB), Asian Development Bank (ADB) และ


                                                                                                       3
แหล่งทุนระหว่างประเทศหลายองค์กร โดยองค์กรเหล่านี ้ อาจไม่ได้ ตระหนักถึงข้ อจากัด หรื อความไม่
สมบูรณ์ของแนวคิดดังกล่าว จนถูกมองว่าเป็ น “the only sustainable solution” (Durham et al., 2002,
p333)

แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผานมานี ้ มีเอกสารหลักฐานที่ดีที่ชี ้ให้ เห็นว่าแนวคิด IWRM ของ GWP นันมีจุดอ่อน
                     ่                                                                    ้
(European Commission, 2006) ที่ต้องได้ รับการตรวจสอบให้ มากขึ ้น

หนึงในข้ อวิจารณ์เหล่านันก็คือ แนวคิด IWRM เป็ นเรื่ องยาก – หรื อ อาจจะเป็ นไปไม่ได้ เลยในทางปฏิบติ
    ่                      ้                                                                       ั
โดย เฉพาะตัวอย่างในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ ที่พบว่า มีการจัดการน ้าที่ มี
ความสาเร็ จอยูไม่น้อย แต่ไม่มีกรณีใดเลยที่เป็ นไปตามแนวทาง IWRM (Biswas ,2004 และ Biswas et al.,
                 ่
2005)1 ขณะเดียวกัน Allan (2003) และ Gyawali (2003) พบว่า แนวคิด IWRM นัน ไม่ได้ ช่วยให้ ผู้ที่ทา
                                                                                    ้
หน้ าที่บริ หารจัดการน ้า มีความเข้ าใจอย่างลึกซึ ้งถึงเหตุผล ถึงความยุงยาก ซับซ้ อนของการดาเนินการตาม
                                                                       ่
แนวคิดนี ้เลย

ในประเด็นของการนาแนวคิดไปสูการปฏิบตินน Jonker (2002 p.719) ชี ้ให้ เห็นว่า เนื่องจาก IWRM
                                 ่          ั ั้
พยายามที่จะจัดการกับปั ญหาที่มีความยุงยากและซับซ้ อน (complex and complicated) อย่างมาก นัน
                                          ่                                                ่
คือ การพัฒนาที่ยงยืน และ การวางแผนข้ ามสาขา ซึงทาให้ นาไปปฏิบติได้ ยาก เพราะ สิงที่ IWRM บอกให้
                 ั่                               ่               ั               ่
จัดการนัน เป็ นการจัดการ “สิ่ ง” ที่ไม่ สามารถจัดการได้ เช่น กระบวนการธรรมชาติ
        ้

Jonker เสนอว่า การจะนาแนวคิดเรื่ อง sustainable development เข้ าไปผนวกกับ IWRM (meso-level)
อาจ เป็ นไปได้ ในระดับปฏิบติการ (micro –level) นัน ต้ องจัดการในระดับกิจกรรมของมนุษย์ ดังนัน แนวคิด
                          ั                      ้                                         ้
IWRM ที่เหมาะสมตามแนวคิดของ Jonker ควรเป็ น ‘ managing people’s activities in a manner that
promotes sustainable development (improving livelihoods without disrupting the water cycle) ’

อย่างไรก็ดี คาว่า “การจัดการ” ภายใต้ แนวคิด IWRM ของ GWP เป็ นที่ยอมรับโดยทัวไปว่าคาว่า ควรเข้ าใจ
                                                                               ่
ในความหมายที่กว้ างขวางที่สด และเน้ นว่า IWRM เป็ นเรื่ องของกระบวนการ ไม่ใช่ เปาหมาย ในตัวมันเอง
                             ุ                                                     ้
และยังเป็ นกระบวนการของการจัดความสมดุลและแลกเปลียนระหว่างมุมมองและเปาหมายที่แตกต่าง
                                                          ่                      ้


1
  ข้ อสังเกตนี ้ เป็ นประสบการณ์จากเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง European Commission (2006) เห็นว่า อาจเป็ นไปได้ ในประเทศ
                                                                         ่
พัฒนาแล้ วที่เป็ นประชาธิปไตยเสรี นิยมใหม่ (neo-liberal democracy)



                                                                                                                                  4
หลากหลายของผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง ซึง Grigg (1999) เห็นว่า ประเด็นนี ้ คือ ประเด็นสาคัญที่
                     ่              ่
                                      จากการจัดการในแบบอื่นๆ ในขณะที่ Pahl-Wostl et al (2004)
กลับเห็นว่า คาอธิบายใน แนวคิด IWRM นัน เป็ นคาอธิบายที่มีลกษณะของการเป็ นเปาหมายทีชดเจนอยู่
                                          ้                   ั                    ้       ่ั
แล้ ว และสิงที่จะนาไปสูเ่ ปาหมายดังกล่าว คือ แนวทางแบบ adaptive management
           ่               ้

Grigg (1999) เห็นว่า ปั ญหาการแย่งชิง น ของกระบวนทัศน์เรื่ องการจัดการทรัพยากรน ้า บูรณา
การ ก็คือ ชุดความคิดเหล่านี ้ เน้ นที่จะจัดการกับความหลากหลายของข้ อเท็จจริ ง ซึงเขาเชื่อว่า ประโยชน์
                                                                                ่
หลักของการใช้ การจัดการน ้า บูรณาการในฐานะกระบวนทัศน์ ก็คือ การที่เป็ น “ กรอบคิดสำหรับ
                                                                     งๆ อ                        ไปตาม
                   โ
           ’”

นอกจาก แนวคิด IWRM แล้ ว ยังมี แนวคิดอื่นๆ ที่มีพื ้นฐานความคิดใกล้ เคียงกับ IWRM ได้ แก่ เช่น
‘Integrated Water Resources Planning and Management’ (IWRPM), ‘Integrated Catchment
Management’ (ICM), ‘Integrated Watershed Management’ (IWM) และ Integrated River Basin
Management (IRBM) ซึงมีการให้ ความหมายหรื อแนวคิด ที่แตกต่างกัน โดยบางแนวคิดเห็นว่า ICM,
                         ่
IRBM และ IWM นัน เป็ น น น ของ IWRM (Tim Jones et al, 2006 และ Jønch-Clausen and Fugl,
                  ้
2001) เพราะเห็นว่าสิงที่ IWRM สนใจด้ วย คือ การจัดการในระดับชาติ และข้ ามชาติ
                    ่

นอกจากนี ้ แม้ จะมี เอกสารบางชิ ้น เช่น Tiffen and Gichuki (2000) ที่ชี ้ให้ ความแตกต่างอย่างชัดเจน
ระหว่างความหมายของคาว่า “catchment” และ “watershed” ก็ตาม แต่เอกสารโดยส่วนใหญ่ที่ได้
ทบทวน จะใช้ คา 2 คานี ้ในลักษณะของความหมายเดียวกัน เช่น งานของ Bruneau, R. (2005)

และเมื่อกล่าวถึงคาว่า การจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ ประเด็นที่ต้องถามถึงกันอยูบอยๆ ก็คือ
                                                                                   ่ ่
อะไรควรจะบูรณาการกับอะไร ? Biswas (2004) ได้ รวบรวม ประเด็นและมิติที่มีการกล่าวอ้ างว่า ควร
จะต้ องบูรณาการภายใต้ แนวคิด IWRM ซึงมีจานวนถึง 35 ประเด็น จานวนดังกล่าวนี ้ คือ สิงที่สะท้ อนให้
                                          ่                                         ่
เห็นข้ อเท็จจริ งที่วา มีความเข้ าใจที่หลากหลายต่ อแนวคิด IWRM ในขณะที่ยงมีประเด็นคาถาม
                     ่                                                   ั
รากฐานสาคัญ ที่มกไม่คอยถูกตังเป็ นคาถาม ก็คือ
                       ั   ่       ้
                น            น                  ?




                                                                                                      5
                 น                     ?
                     น         น              ?
                         น            น
โดยสรุป น่าจะกล่าวได้ วา ความหมายของ การจัดการน ้าอย่างบูรณาการนัน ยังคงมี ความหมายที่
                        ่                                             ้
หลากหลาย ไม่ได้ มีความเห็นที่ชดเจนเป็ นหนึงเดียว อีกทังยังไม่เคยมีการตังคาถามว่าอย่างจริ งจังว่า จะนา
                              ั           ่            ้                ้
แนวคิด IWRM ไปสูการปฏิบติได้ อย่างไร (Odendaal, 2002) และ น
                    ่       ั                                                       น น ยัง
มีคาถามอื่นๆ ที่ต้องการการตรวจสอบในอนาคต เช่น
     แนวคิด IWRM ของ GWP มีความเหมาะสม ทังกับประเทศที่พฒนาแล้ ว พอๆ กับประเทศที่กาลัง
                                                     ้             ั
       พัฒนาหรื อไม่ ?
     ความหมายของ IWRM ไม่สามารถทาให้ ชดเจนได้ เพราะว่า IWRM เป็ นกระบวนการที่คอยเป็ น
                                               ั                                          ่
       ค่อยไปใช่หรื อไม่ ?
     อะไรคือสิงที่ต้องบูรณาการ ?
                  ่
     หลักการสาคัญของ IWRM สามารถแปลงไปสูการปฏิบติได้ หรื อไม่ ถ้ าได้ ทาอย่างไร ?
                                                   ่        ั

และ           น European Commission (2006) ได้ ตีพิมพ์รายงานของ คณะผู้เชี่ยวชาญอิสระ ซึงได้
                                                                                         ่
ทบทวนโครงการวิจย น IWRM ที่ EU ให้ การสนับสนุนตังแต่ปี 1994-2006 จานวน 67 โครงการ คณะ
                      ั                                ้
ผู้เชี่ยวชาญได้ มีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ ตอ EU 4 ประการ หนึงในข้ อเสนอที่นาสนใจ คือ การเสนอให้ EU
                                         ่                ่              ่
ใช้ กรอบแนวคิด                                         น
(Constructively Engage Integrated Water Resources Allocation and Management) เป็ นกรอบใน
การสนับสนุนงานวิจย เนื่องจากมีข้อค้ นพบว่า มีช่องว่ างความเข้ าใจในเรื่องการจัดการนา (วางแผน
                        ั                                                             ้
และการตัดสินใจ) ระหว่ าง สิ่งที่งานวิชาการให้ ความสาคัญ กับ การรับรู้ของคนกลุ่มต่ างๆ ใน
สังคม ซึ่งต่ างมีกรอบการรับรู้ตามประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของตนเอง

ดังนันสิ่งจาเป็ นเร่ งด่ วน ก็คือ การต้ องทาให้ เกิด
     ้                                                                                 Constructive
engagement) ระหว่ างกลุ่มต่ างๆ ในการจัดการและจัดสรรนา ข้ อสรุปนี ้ สอดคล้ องกับที่ Allan
                                                               ้
(2003) เสนอไว้ วา IWRM นัน ควรที่จะเปลียนชื่อใหม่เป็ น integrated water resources allocation and
                 ่             ้           ่
management (IWRAM) ซึงเป็ นแนวคิดที่ยอมรับว่า ทัง้ “การบูรณาการ” (integration) และ “การจัดการ”
                             ่
(management) เป็ น “ประเด็นทางการเมือง” (political)




                                                                                                   6
รูปที่ 2 แสดงให้ เห็น วิถีโค้ งของการจัดการน ้า ที่ถกกาหนดโดยสังคม - - -ส่วนบนของเส้ นโค้ ง และ ที่ถกระบุโดย
                                                    ู                                               ู
นักวิทยาศาสตร์ ด้าน         น และนักเศรษฐศาสตร์ - - ส่วนล่างของเส้ นโค้ ง การมาบรรจบกันของ คือ ความสาเร็จที่
จะต้ องนาวิทยาศาสตร์ เข้ าสูกระบวนการทางการเมือง (political process) ซึ่งกาหนดโดย การใช้ น ้าและนโยบาย
                               ่
ที่มา : European Commission (2006) p.2

3. องค์ ประกอบหลักของ IWRM

องค์ประกอบสาคัญสาหรับ การทางาน หรื อการทาความเข้ าใจต่อเรื่ อง การจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณา
การ มีอยู่ 3 องค์ประกอบ ได้ แก่
     ยอมรับว่า river-basin หรื อ catchment หรื อ watershed เป็ นหน่วยการจัดการทรัพยากรน ้าและ
       ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ที่เหมาะสม
     ยอมรับว่าจาเป็ นต้ องใช้ แนวทางบูรณาการ แนวทางนิเวศวิทยา แนวทางองค์รวม ในการจัดการ
     ยอมรับหลักการ การมีสวนร่วม่

1) ขอบเขตลุมน ้า และ ประเด็นเรื่ องขอบเขต
               ่
การยอมรับให้ “ลุมน ้า” เป็ นกรอบแนวทางที่ใช้ การจัดการทรัพยากรน ้า ทรัพยากรอื่นๆ รวมถึง คุณภาพชีวิต
                   ่
ของผู้คนที่ตงถิ่นฐานในลุมน ้านัน ได้ ถกใช้ เป็ นวาทกรรมหลักมาแล้ วกว่า 20 ปี การเคลือนตัวไปสูการจัดการ
            ั้          ่      ้      ู                                             ่        ่
โดยใช้ ขอบเขตลุมน ้านัน สะท้ อนให้ เห็นถึง การยอมรับว่าการจัดการทรัพยากรน ้า ควรดาเนินการภายใต้
                 ่    ้



                                                                                                               7
ระบบนิเวศวิทยา และยอมรับว่า ขอบเขตการปกครองที่ถกกาหนดโดยวิถีทางการเมือง ไม่ได้ มีความสัมพันธ์
                                               ู
กับกระบวนการทางระบบนิเวศวิทยา (Heathcote,1998)

แต่ ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ ของลุมน ้า เอง ก็แทบจะไม่ได้ เป็ นพื ้นที่ ที่มีความหมายในทางสังคม เพราะ
                             ่
ขอบเขตอานาจทางศาล หรื อการอ้ างสิทธิในที่ดิน ที่ตงขององค์กรทางสังคมในที่ตางๆ ตังแต่ องค์กร
                                                   ั้                            ่    ้
ปกครอง ไปจนถึงองค์กรทางศาสนา ก็มีความสัมพันธ์ น้ อยมากกับลุมน ้า ดังนัน การจัดการลุมน ้าจึง
                                                                        ่      ้           ่
ต้ องการ การสร้ างความหมายใหม่บนฐานของความสัมพันธ์ ทางสังคมและวัฒนธรรม ซึง Vernooy (1999)
                                                                                    ่
ใช้ คาว่า การสร้ างความหมายทางสังคมของลุ่มนา (social construction of watershed)
                                                 ้

Richard Bruneau (2005) ได้ ทบทวนโครงการ ที่ IDRC (Canada)           น นน ทังในประเทศเอเชีย
                                                                             ้
และลาตินอเมริ กา ถึงกับระบุวา โครงการจานวนมากล้ มเหลว เพราะไม่ได้ ให้ ความสาคัญกับลุมน ้า ในฐานะ
                             ่                                                      ่
ที่เป็ นขอบเขตทางภูมิศาสตร์ และขอบเขตของการปฏิสมพันธ์ และปฏิบติการทางสังคม
                                                ั            ั

ปั จจุบนแนวทางการมองขอบเขตลุมน ้าในลักษณะ multi-scale เริ่ มเป็ นที่ยอมรับมากขึ ้น และเป็ นที่ชดเจน
       ั                      ่                                                                ั
ว่ามีการเปลียนแปลงที่มีนยยะสาคัญเกิดขึ ้นในระดับพื ้นที่ตางๆ (scale) กัน ภายใต้ ความเป็ น ชีวกายภาพ
            ่           ั                                ่
และ กระบวนการเศรษฐกิจและสังคม ซึง Lovelace and Rambo (1991:81) ได้ สรุปถึงสภาพของความ
                                      ่
ขัดแย้ งและนัยยะของสภาพการเช่นนี ้ ต่อการจัดการลุมน ้าไว้ ในทานองที่วา
                                                 ่                    ่

“ ...กิ จกรรมต่างๆ ของมนุษย์ทีเ่ กิ ดขึ้นในพืนทีระดับต่างๆ ในลุ่มน้านัน สัมพันธ์ กบการทาลายทรัพยากร
                                             ้ ่                       ้          ั
และการใช้ทีดิน ซึ่ งก็
                  ่
                    ในพืนทีต่างๆ และอาจกล่าวได้ว่า เป็ นเพียง
                        ้ ่                                                                เท่านัน
                                                                                                 ้
         ทีเ่ ป็ น                  ที ่                          ลุ่มน้า จะ                  อย่างมาก
                                                                      ซึ่ ง
                                              ”

2) แนวทางบูรณาการ แนวทางนิเวศวิทยาและแนวทางองค์รวม
เป็ นที่ยอมรับกันว่า การจัดการทรัพยากรน ้าต้ องคานึงถึงการบูรณาการ ธรรมชาติของน ้าเข้ ากับกระบวนการ
ทางนิเวศวิทยาในลุมน ้า ซึงขึ ้นอยูกบการปฏิรูปทางนโยบายและการจัดการเชิงสถาบัน แนวคิดการจัดการ
                     ่     ่      ่ั
ทรัพยากรอย่างบูรณาการ ได้ กลายมาเป็ นแนวคิดยอดนิยมสาหรับโครงการจัดการน ้าจานวนมาก (Jewitt




                                                                                                         8
2002; Matondo 2002) และ การดาเนินนโยบายการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ อาจมองได้ วาเป็ น
                                                                                        ่
แนวทางที่จะเอาชนะ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและน ้าที่จดการอย่างแยกส่วนอย่างที่เป็ นอยู่
                                                      ั

อย่างไรก็ดี บทเรี ยนเรื่ องแนวคิดการพัฒนาที่ยงยืน ที่ตื่นตัวอย่างมากในช่วง 10 กว่าปี ที่ผานมา แต่
                                             ั่                                          ่
ปฏิบัติการต่ างๆ ของการพัฒนาที่ย่ งยืน ก็ยงเป็ นเพียงการเพิ่มสีสนเท่านัน เช่นเดียวกับ แนวคิดการ
                                       ั          ั                 ั      ้
จัดการน ้าอย่างบูรณาการเอง ก็อาจตกอยูในสภาพเดียวกัน คือ ถูกทาให้ มีความหมายที่แตกต่างกันไป
                                         ่
สาหรับแต่ละคน และสุดท้ ายก็จะกลับคืนเข้ าสูสภาวะปกติ และจะกลายไปเป็ น คาพูดโดยทัวไปกรอบการ
                                                ่                                          ่
ปฏิบติการ ซึงได้ รับการส่งเสริ มโดยรัฐบาล และองค์กรทุน (Biswas 2004)
     ั       ่

การบูรณการสาหรับการจัดการทรัพยากรต่างๆ นัน มีนยยะที่กล่าวถึงกันโดยทัวไป 2 ระดับ ระดับแรก คือ
                                            ้ ั                     ่
ระดับของการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน กระทรวง ระหว่างกรมที่มีหน้ าที่ความรับผิดชอบในการดูแล
ทรัพยากรที่แตกต่างกัน ให้ มาดาเนินการจัดทาแผนและปฏิบติการจัดการทรัพยากรร่วมกัน
                                                    ั

งานศึกษาของ Manfred Pope (2004 p.73) ที่ทาการวิเคราะห์ระบบการวางแผนทังในระดับท้ องถิ่นและ
                                                                                      ้
ระดับชาติในประเทศเขมร ลาว เวียดนามและไทย พบว่าทัง้ 4 ประเทศ ระบบการวางแผนยังเป็ นแบบแยก
ส่วน ไม่มียทธศาสตร์ และมุ่งที่การทากิจกรรม มากกว่าจะเป็ นการประสานความหลากหลายของความ
            ุ
จาเป็ นและความต้ องการในขอบเขตพื ้นที่เฉพาะ (spatial or territorial orientation) โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
กรมกองที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการลุมน ้า ไม่วาจะเป็ น ที่ดิน น ้า ป่ าไม้ และสิงแวดล้ อม ต่างก็พฒนา
                                  ่         ่                                 ่                ั
กระบวนการและวิธีการวางแผนของตนเองเพื่อแย่งชิงงบประมาณประจาปี งานศึกษาชิ ้นนี ้ยังได้ เสนอ ถึง
ระดับที่นาจะเหมาะแก่การวางแผนแบบบูรณาการสาหรับประเทศไทย คือ ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด
          ่
อย่างไรก็ดีสาหรับกรณีของประเทศไทย เป็ นที่นาเสียดายว่า งานศึกษาชิ ้นนี ้ กลับมิได้ กล่าวถึง การดารงอยู่
                                              ่
ของ เครื อข่ายลุมน ้าภาคประชาชน ที่มีกระบวนการทาแผนและปฏิบติการแยกออกจากระบบราชการ
                ่                                                        ั

ระดับที่สอง คือ ระดับของการบูรณาการตัวทรัพยากร ระหว่างทรัพยากรน ้ากับทรัพยากรอื่นๆ ในลุมน ้า มีตงแต่
                                                                                                ่          ั้
ข้ อเสนอที่เป็ นการบูรณาการทรัพยากรรายชนิด เช่น น ้าในแม่น ้า น ้าใต้ ดิน และชายฝั่ ง / บูรณาการน ้า ที่ดินและ
ทรัพยากรอื่นๆ เป็ นต้ น ไปจนถึง ข้ อเสนอที่เป็ นแบบ ecosystem base management ซึงล่าสุด ในแวดวง
                                                                                         ่
ชุมนุมนักวิทยาศาสตร์ ยโรป ได้ นาเสนอ แนวทางการจัดการลุมน ้า โดยใช้ แนวคิด Eco-hydrology and
                        ุ                                  ่
Phytotechnology ซึงพัฒนาร่วมกันระหว่าง UNESCO และ UNEP ซึงมีคมือที่เผยแพร่ทวไปเมื่อปี 2004
                      ่                                                ่ ู่                ั่




                                                                                                         9
ประเด็นสุดท้ ายสาหรับการบูรณาการ คือ แนวทางที่พยายามเสนอความเป็ นองค์รวมที่มากขึ ้น งานศึกษา
ในแนวนี ้ได้ แก่ งานศึกษาที่พยายามจะบูรณาการ ความเป็ นวิทยาสตร์ เข้ าสูกระบวนการสาธารณะ เช่น
                                                                       ่
งานของ Bruce L. Rhoads et al (1999) งานของ John Gutrich et al (2005) เรื่ อง วิทยาศาสตร์ ใน
กระบวนการสาธารณะของการจัดการระบบนิเวศวิทยา งานของ David Brunckhorst, Phillip Coop, Ian
Reeve (2006) เรื่ อง การทาให้ เหมาะสมโดยนิเวศ-พลเมือง (Ecoo-civic)

ขณะที่ข้อวิจารณ์ที่สาคัญ ก็คือ ข้ อวิจารณ์ที่วาด้ วยความเป็ น วิ ทยาศาสตร์ และ ความเป็ นองค์รวม ของ
                                              ่
IWRM เนื่องจาก IWRM ถูกตังข้ อสังเกตว่า เป็ นแนวทางการจัดการทรัพยากรน ้า ที่มีพฒนาการมาจาก
                             ้                                                      ั
แรงผลักดันทางการเมือง (political agenda) (Muhammad Misanur Rahaman and Olli Varis, 2005 ;
Claudia Pahl-Wostl and Jan Sendzimir , 2005) มากกว่า เป็ นความสาเร็ จที่เกิดจากการมีความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ที่ได้ รับการพัฒนามาดีแล้ ว

ในสถานการณ์เช่นนี ้ ทาให้ มีความแตกต่างกันในทางปฏิบติ และยังควรตังข้ อสังเกตต่อไปว่า ใน
                                                            ั             ้
สถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนนี ้ (ประกอบกับการไม่มีความรู้แบบบูรณาการหรื องค์รวมที่ดีพอ) จะมี
วิธีการรับมืออย่างไร ซึงประเด็นนี ้ยังเป็ นประเด็นที่ไม่มีการกล่าวถึงในแนวทาง IWRM ที่เป็ นอยู่
                       ่

เพราะหากสังเกต ความหมายของ IWRM จะยังคงมีลกษณะเป็ นทฤษฎี ที่เป็ นกฎเกณฑ์ – เป็ นเค้ าโครงที่
                                                        ั
กาหนดขึ ้นมาจากการสังเกตปรากฏการณ์ และยังคงให้ ความสาคัญกับคาถามที่วา ควรทาสิ่งนันอย่างไร
                                                                                 ่             ้
ทังที่เป็ นแนวคิดที่เป็ นที่นิยมอย่างกว้ างขวาง แต่ IWRM ยังคงพูดวนเวียนเกี่ยวกับ (1) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง (2)
  ้
เหตุผลที่นามาสนับสนุน (3) ชุดของหลักการที่ดีที่สด สาหรับการจัดการทรัพยากรน ้า (Jeffrey and Geary,
                                                      ุ
2004)

ขณะทีหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่แสดงให้ เห็นประโยชน์ของ IWRM กลับมีรายงานอยูน้อยมาก ซึงทาให้ ไม่มีกฎ
          ่                                                                   ่       ่
ไม่มีสตร ไม่มีพิมพ์เขียวใดๆ และที่สาคัญ ก็คือ การแปลงทฤษฎีไปสูการปฏิบตินนก็เป็ นไปอย่างเชื่องช้ า ซึง
        ู                                                      ่         ั ั้                       ่
ก็มิได้ หมายความว่า การแปลงทฤษฎีไปสูการปฏิบติ ต้ องการรูปแบบที่สาเร็ จรูปมาเป็ นตัวอย่าง แต่สงที่
                                           ่      ั                                          ิ่
สาคัญกว่านันก็คือ การที่จะต้ องทาให้ เห็นว่า วิทยาศาสตร์ ชนิดใดที่มีส่วนในการนามาใช้ สร้ าง
             ้
ความสาเร็จในการจัดการทรัพยากรนาอย่ างบูรณาการ
                                         ้

นอกจากนี ้ เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับความเป็ นองค์รวม (holistic approach) ของ IWRM ซึงมีข้อดี คือ เปิ ด
                                                                                ่
โอกาสให้ มีการใช้ ประโยชน์จากมุมมองของทังผู้ใช้ ประโยชน์ นักวางแผน นักวิทยาศาสตร์ และผู้กากับ
                                           ้


                                                                                                           10
นโยบาย (Grigg. 1999; Jeffrey and Geary, 2004) แต่องค์รวมในมิติเช่นนี ้ ก็มีข้อวิจารณ์วา มีลกษณะที่
                                                                                      ่ ั
เป็ นแบบพวกหลังสมัยใหม่ (post-modernism) ที่การผลักดันให้ “การจัดการ” มาจากการเน้ นที่
กระบวนการภายในสังคม การมีสวนร่วมที่กว้ างขวางทังในการวางแผนและการตัดสินใจ มีการปรับตัว การ
                                ่                  ้
สะท้ อนกลับ ซึงอาจจัดให้ อยูในกระบวนทัศน์แบบ predict and prepare มากกว่า ที่จะยอมรับ การใช้
              ่             ่
กรอบคิดแบบ adaptive management ทียอมรับและให้ ความสาคัญระบบธรรมชาติ ที่ไม่มีความไม่
                                       ่
แน่นอน คาดการณ์ไม่ได้ และซับซ้ อนเกินกว่าจะเข้ าใจ

หรื ออาจกล่าวว่า IWRM นัน ล้ มเหลวที่จะนาเอาแนวทางนิเวศวิทยาไปใช้ ประโยชน์ ซึงก็เน้ นเรื่ ององค์รวม
                              ้                                                ่
เช่นกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดเจน คือ องค์รวมใน IWRM คือ การสนับสนุนให้ หน่วยงานรัฐด้ านน ้า 1 หน่วย
                            ั
รับผิดชอบต่อมิติด้านทรัพยากรในทุกมิติ

อย่างไรก็ดี ข้ อแก้ ตางสาคัญ ที่ชี ้ให้ เห็นถึงประโยชน์ของความคลุมเครื อก็คือ ในระบบนิเวศที่ซบซ้ อน และ
                       ่                                                                            ั
การที่จะต้ องจัดการกับระดับที่หลากหลายของความไม่แน่นอนนัน ต้ องการความรู้ในลักษณะ
                                                                    ้
multidisciplinary ซึงหมายถึง การต้ องการชนิดของความรู้ที่หลากหลายประเภทและความเข้ าใจเชิงเหตุผล
                         ่
อย่างเป็ นระบบ (scientific) ซึงเป็ นการเปิ ดพื ้นที่ให้ กบการใช้ ความรู้จากผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ องต่างๆ ไม่เฉพาะ
                              ่                          ั                          ่
จาก ผู้เชี่ยวชาญ ซึงมักถือเอาว่า วิธีทางที่ตนยึด เป็ นสิงที่ถกต้ องสูงสุด (scientism) ขณะเดียวกันก็มกจะ
                     ่                                     ่ ู                                             ั
ปฏิเสธความรู้และกระบวนทัศน์ที่ไม่เป็ นวิทยาศาสตร์ (science) เช่น ความรู้จากชาวบ้ าน ในข้ อดีนี ้ ย่อม
ช่วยลดความตรึงเครี ยดในการจัดการลุมน ้าระหว่างนักวิชาการ ผู้เชี่ ยวชาญ กับ ชุมชน ลงได้
                                            ่

3. การมีสวนของสาธารณะ / ชุมชน / ประชาสังคม / ผู้มีสวนเกี่ยวข้ อง
          ่                                               ่
องค์ประกอบส่วนที่สามของการจัดการลุมน ้า คือ หลักเรื่ อง inclusive and participatory โครงการการ
                                          ่
จัดการลุมน ้าที่ยดหลักการมีสวนร่วม จะมีประสิทธิภาพ มากกว่าโครงการที่มีการรวมศูนย์ตดสินใจอยูที่
        ่        ึ             ่                                                         ั             ่
ส่วนกลาง มีงานวิชาการจานวนมากอ้ างว่า การดาเนินการจัดการอย่างมีสวนร่วม จะช่วยเชื่อมต่อ
                                                                        ่
ความสัมพันธ์ ของผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง กับการจัดการน ้า และหน่วยงานที่ทาหน้ าที่สนับสนุนให้ ดีขึ ้นได้
                         ่
(Bruns and Meinzen-Dick 1997; Van der Lee 2002)

กลไกสาหรับการมีสวนร่วมถูกระบุวาจะเป็ นเครื่ องมือ หรื อแนวทางที่จะเอาชนะระบบราชการ และการ
                    ่              ่
ตัดสินใจที่รวมศูนย์ อีกทังยังช่วยทาให้ มีความชอบธรรมในด้ านการจัดองค์กร (Duda and El-Ashry 2000)
                         ้
การแสดงความเป็ นเจ้ าของในการตัดสินใจ และการเปิ ดโอกาสให้ กบกลุมต่างๆ ที่มีความสนใจที่แตกต่าง
                                                              ั ่




                                                                                                            11
กันเข้ ามามีสวนร่วมในการจัดการ จะช่วยหลีกเลียงความขัดแย้ งในเรื่ องทรัพยากร ด้ วยการสร้ างความเชื่อ
             ่                              ่
ใจและความสัมพันธ์ ที่ดีตอกัน
                        ่

มีกรณีศกษาที่ชี ้ว่า การปรึกษาหารื อ และการมีสวนร่วมที่ได้ รับการบูรณาการเข้ าไปสูการสร้ างองค์กรการ
       ึ                                      ่                                   ่
จัดการน ้าอย่างบูรณาการ นันสามารถนาไปสูการจัดการน ้าได้ เป็ นอย่างดี เช่น การจัดตัง้ คณะกรรมการที่
                             ้             ่
ปรึกษาชุมชนภายใต้ โครงการการจัดการของ Murray-Darling Basin ในประเทศออสเตรเลีย (Blackmore
1995)

ขณะที่องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการลุมน ้าของประเทศไทย ซึงมีภาคส่วนที่ไม่ใช่ราชการอยูครึ่งหนึง
                                        ่                       ่                         ่       ่
นัน อาจกล่าวได้ วา การจัดการลุมน ้าของไทยได้ เปิ ดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีสวนร่วมอย่างสูง แต่เมื่อ
  ้              ่             ่                                          ่
พิจารณากันในรายละเอียด ก็จะพบว่า คนเหล่านี ้แทบจะไม่ได้ มีเครื อข่ายความสัมพันธ์ กบ (ผู้นา) ชุมชนเลย
                                                                                   ั
และในอีกหลายกรณี แผนงานการมีสวนร่วมในระดับลุมน ้า ก็มกจะเกิดขึ ้นหลังจากที่ได้ กน ผู้ที่มีสวนได้ เสีย
                                    ่                 ่     ั                        ั      ่
ออกตังแต่ในระยะเริ่ มแรกที่มีการกาหนดทิศทางการจัดการงานทังหมด และมักจะเป็ นการปรึกษาหารื อใน
      ้                                                       ้
ระยะเวลาสันๆ ที่สาคัญ คือ ขาดกลไกที่จะทาหน้ าที่สงเสริ มสนับสนุนให้ เกิดการมีสวนร่วมในระหว่าง
           ้                                        ่                         ่
กระบวนการทางาน

นอกจากนี ้ Cooke and Kothari’s (2001) ยังตังข้ อสังเกตที่นาสนใจไว้ วา การมีสวนร่วมที่เป็ นอยูนน มักเป็ น
                                           ้                ่       ่       ่                ่ ั้
การใช้ “อานาจ” ของคาว่า “การมีสวนร่วม” (“new tyranny” of participation) เสียมากกว่า และนี่ก็เป็ น
                                 ่
ประเด็นที่ท้าทายสาหรับงานพัฒนาที่จะต้ องระมัดระวังมากขึ ้นว่า       การมีสวนร่วมที่เป็ นอยู่ ได้ สร้ าง
                                                                          ่
ความชอบธรรมให้ ผ้ มีอานาจมีอานาจมากขึ ้นหรือไม่ โดยเฉพาะ เมื่อมีงานวิชาการจานวนมากพบว่า ในโลก
                   ู
แห่งความเป็ นจริ ง การรับเอาแนวทางการมีสวนร่วมมาใช้ นน ส่วนใหญ่ใช้ เพียงแค่เป็ น “โวหาร” ทังในการ
                                         ่               ั้                                       ้
วางแผนและการจัดการเท่านัน (Van der Lee 2002; Jane Adams et al 2005)
                            ้

ดังเช่นที่ มนตรี จันทวงศ์ (Montree Chantawong 2002) ได้ แสดงให้ เห็นสภาพเช่นนี ้ในบริ บทของสังคมไทย
ผ่านการใช้ คาว่า “การเข้าร่วมของภาคประชาสังคม” (civil society involvement) ในการ พัฒนา นโยบาย
น ้าแห่งชาติโดยรัฐบาลไทยและการสนับสนุนของ ADB “การปรึ กษาหารื อกับผูทีมีสวนได้เสียทีหลากหลาย”
                                                                        ้ ่ ่            ่
(multi-stakeholder consultation) ในการพัฒนาแผนบูรณาการเพื่อการจัดการทรัพยากรน ้าในลุมน ้าแม่ปิง
                                                                                           ่
โดยกรมทรัพยากรน ้า และ “การจัดการชลประทานอย่างมี สวนร่วม” (Participatory irrigation
                                                      ่
management) ใน การพัฒนาแผนการใช้ น ้าระดับไร่นาเพื่อเพิ่มผลผลิต ภายใต้ แผนงานปรับโครงสร้ างภาค
การเกษตร (ASPL) โดยกรมชลประทาน เป็ นต้ น ทังหมดเป็ นเพียงการใช้ คา เพื่อยังคงไว้ ซง ความคิด
                                              ้                                    ึ่


                                                                                                      12
แบบเดิม โครงสร้ างอานาจและผลประโยชน์กบกลุมเดิมๆ เท่านัน เพราะโดยแท้ จริ ง ภาคประชาชน ภาค
                                                ั ่               ้
ประชาสังคม และผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง ได้ เข้ าไปมีสวนร่วม เมื่อทิศทางการพัฒนาได้ ถกกาหนดไว้ แล้ วโดย
                       ่                           ่                              ู
ผู้เชี่ยวชาญทังสิ ้น
              ้

อีกทังในกระบวนการมีสวนร่วม “ความขัดแย้ ง” ก็มกเป็ นสิงที่เกิดขึ ้นเสมอ ทังในระดับเปาหมาย (goals)
     ้                  ่                         ั    ่                 ้         ้
ของกระบวนการวางแผน และในระดับของปฏิบติการ ซึงเป็ นความแตกต่างตามระดับของความเชื่อและ
                                                ั   ่
การให้ คณค่าต่อการมีสวนร่วม หากมีความขัดแย้ งเกิดขึ ้นในกระบวนการทางาน โดยไม่ได้ รับการพิจารณา
        ุ             ่
เช่น การขาดโอกาสที่จะเสนอความคิดเห็น หรื อ มีการใช้ ข้อมูลเชิงเทคนิคในการตัดสินใจเพียงด้ านเดียว นัน
                                                                                                   ่
จะทาให้ ความตรึงเครี ยดที่มีอยู่ รุนแรงมากขึ ้น

กล่าวสาหรับสังคมไทย ยังมีมิติการมีสวนร่วมอีกแบบหนึงที่แม้ จะมีอยูไม่มากและยังไม่เข้ มแข็ง แต่ก็มีอยู่
                                         ่             ่         ่
จริ ง คือ การมีสวนร่วมของภาคประชาชนในฐานะที่เป็ นสิทธิ ชุมชนที่หล่อหลอมขึ ้นจากเงื่อนไขทาง
                ่
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ที่ชุมชนจะสร้ างกลุมและเครื อข่ายของตนเองขึ ้นมาบริ หารจัดการทรัพยากร
                                                 ่
น ้าเอง บทบาทในทานองนี ้ถูกเพิ่มน ้าหนักด้ วยทิศทางการกระจายอานาจการปกครองตนเอง และการ
เติบโตของกระแสของพลเมือง ทาให้ เครื อข่ายของภาคประชาชนในการดูแลจัดการทรัพยากรน ้าที่มีอยูใน      ่
ระดับชุมชนพื ้นที่ต้นน ้า ขยายเข้ าสูชุมชนในเมืองด้ วย
                                     ่

ในบริ บทชุมชนต้ นน ้าภาคเหนือ กับชุมชนในพื ้นที่ภาคอื่นๆ ก็ยงมีความแตกต่างในวิ ธีคิดเรื่ องสิทธิชุมชนด้ วย
                                                            ั
โดยชุมชนต้ นน ้าทางภาคเหนือ สิทธิชุมชน มีฐานหรื อขอบเขตผูกอยูติดกับ “หน่ วยของสิทธิ” ในขณะที่ภาค
                                                                 ่
อื่นๆ การมีสวนร่วมจะถูกผูกโยงติดกับ “หน่ วยของพืนที่” (territory) เดียวกัน (มนตรี จันทรวงศ์ พรทิพย์
            ่                                      ้
บุญครอบและกฤษฎา บุญชัย, 2005)

ขณะที่ภาพรวมของสังคมไทย ยังปรากฏความขัดแย้ ง ระหว่าง ทิศทางการกระจายอานาจ ที่จะช่วยเพิ่ม
ระดับการมีสวนร่วมในการตัดสินใจลงสูชุมชนท้ องถิ่น กับ การพัฒนาขึ ้นมาของโครงสร้ างเชิงสถาบันและ
            ่                         ่
องค์กรการจัดการทรัพยากรน ้า ที่พยายามจะวางแผนแบบบูรณาการและองค์รวมจากส่วนกลาง (Fiona
Miller and Phillip Hirsch, 2003 p.8) ไม่วาจะเป็ น การเรี ยกร้ องให้ มีการจัดตัง้ กระทรวงทรัพยากรน ้า หรื อ
                                         ่
การมีอยูของกรมทรัพยากรน ้า และ คณะอนุกรรมการลุมน ้า
        ่                                            ่

สุดท้ ายควรได้ กล่าวถึง การมีสวนร่วมของภาคเอกชนในการบริ หารจัดการน ้า ซึงถือเป็ น แรงผลักดันจาก
                              ่                                         ่
องค์กรระหว่างประเทศอย่างธนาคารโลก และ ADB ที่มีแนวคิดสนับสนุนให้ แยกงานที่รัฐควรทา เช่น การ


                                                                                                        13
ควบคุมกติกา การออกกฎหมาย ระเบียบปฏิบติ เป็ นต้ น ออกจากงานที่ให้ เอกชนทา ซึงคาดว่าจะทาได้
                                               ั                                    ่
ดีกว่า เช่น การให้ บริ การ เนื่องเพราะที่ผานๆ มา การบริ หารและจัดการน ้าที่อยูในมือของภาครัฐนัน ขาด
                                          ่                                   ่               ้
ประสิทธิภาพ

ประเด็นข้ างต้ น ตังอยูบนสมมติฐานที่ตางกัน ด้ านหนึงมองว่า น ้าเป็ นสมบัติสาธารณะและเป็ นเรื่องของ
                     ้ ่                 ่              ่
สิทธิมนุษยชน ที่ควรถูกควบคุมโดยรัฐ ในขณะที่อีกด้ านหนึงเห็นว่า น ้าเป็ นสินค้ าทางเศรษฐกิจ หาก
                                                             ่
ต้ องการให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการบริ หารจัดการจาเป็ นต้ องจัดการผ่านกลไกการตลาด (Bakker
2003) ข้ ออ้ างในประการหลังที่วา ภาคเอกชนจะจัดการน ้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพดีกว่านัน น่าจะอยูบน
                                  ่                                                        ้      ่
ความเข้ าใจที่ไม่ถกต้ อง (misconceptions) เพราะมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่ชี ้ว่า ประสิทธิภาพในการบริ หาร
                   ู
จัดการของภาคเอกชนจานวนมาก ยังเป็ นเรื่ องที่ต้องตังคาถามให้ มาก (McIntosh and Yniguez 2002 ;
                                                          ้
Budds and McGranahan 2003) และประโยชน์ในทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการแปรรูปนัน ก็เป็ นการกล่าว้
อ้ างเกินจริ ง และมีการใช้ ตวอย่างที่ผิด หรื อไม่ก็คานวณผิด (Walker and Walker 2000) ดังนันข้ อสนับสนุน
                            ั                                                                ้
เรื่ องการแปรรูปการจัดการทรัพยากรน ้านัน จึงตังอยูบนอุดมคติมากกว่า หลักฐานข้ อเท็จจริ งเชิงประจักษ์
                                             ้      ้ ่
แต่ข้อสนับสนุนนี ้ก็ยงคงถูกผลักดันให้ นาไปใช้ ในประเทศต่างๆ ด้ วย (Walker and Walker 2000)
                       ั

4. แนวทางปฏิบติของ IWRM
             ั

มักจะมีความสับสนในแนวทางที่ IWRM ใช้ กับ แนวทางการจัดการน ้าแบบอื่นๆ เช่น river basin management,
water demand management และ ecosystem approach แม้ วา แนวคิด IWRM จะมีความใกล้ เคียงกับแนวทางเหล่านี ้
                                                          ่
แต่ก็มีจุดเน้ นที่ตางกัน เช่น river basin management เน้ นที่การใช้ ขอบเขตลุมน ้าเป็ นหน่วยในการจัดการ
                   ่                                                        ่
ในขณะที่ IWRM มีขอบเขตการมองที่กว้ างกว่า (Jønch-Clausen, T. and Fugl, J., 2001) ซึงแม้ วา IWRM ่ ่
จะให้ ความสาคัญกับขอบเขตลุมน ้า แต่ขณะเดียวกันมากกว่านัน IWRM ก็ต้องการจัดการปั ญหาใน
                                   ่                                  ้
ระดับชาติ และนานาชาติด้วย เป็ นต้ น นันหมายถึงแนวคิดอื่นๆ นัน มีสวนช่วยเสริ มแนวคิด IWRM และเป็ น
                                             ่                          ้ ่
ส่วนหนึงของความซับซ้ อนของ IWRM
         ่

และดูเหมือน GWP ก็จะรับรู้ถึงความสับสนของการนาเอาแนวคิด IWRM ไปปฏิบติ ในปี 2004 GWP จึงได้
                                                                       ั
ตีพิมพ์เอกสารทางวิชาการหมายเลข 10 (GWP-TAC 2004, TAC Background Paper 10) เพื่ออธิบายถึง
หลักการเหตุผล ความเข้ าใจและแนวทางการจัดการตามแนวคิด IWRM เพื่อใช้ เป็ นพิมพ์เขียวให้ แก่ประเทศ
ต่างๆ ซึงอยูภายใต้ แนวทางหลัก 3 ประการ ได้ แก่
         ่ ่




                                                                                                      14
1) สภาพแวดล้ อมที่เอื ้อ เช่น การมีแนวนโยบายที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ และ กฎระเบียบที่เกี่ยวเนื่อง
       กับการจัดการและพัฒนาทรัพยากรน ้าอย่างยังยืน ่
    2) การมี Institutional Framework ที่ทาให้ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และกฎระเบียบมีผลในทางปฏิบติ
                                                                                         ั
    3) การมี management instruments ที่เอื ้อให้ Institutions สามารถทางานได้


 ชุดเครื่ องมือ
ในระหว่างปี 2001-2004 GWP ได้ พฒนา ชุดเครื่ องมือ (Tool Box) สาหรับ IWRM ซึงมีทงหมด 17 หมวด
                                ั                                                 ่ ั้
(theme) ที่สอดคล้ องกับ 3 แนวทางหลักข้ างต้ น ซึงประกอบด้ วย เครื่ องมือที่มีความเฉพาะเจาะจง และ
                                                ่
กรณีตวอย่างของ IWRM ที่ประสบความสาเร็ จ (Heidi Christiansen Barlebo, 2006)
     ั

นอกจากนี ้ เมื่อกล่าวถึงเรื่ องเครื่ องมือ NeWater Project โดย Heidi Christiansen Barlebo (2006) ได้ ทา
การรวบรวมเครื่ องมือที่ใช้ สาหรับแนวทางการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ โดยจาแนกเครื่ องมือเป็ น
3 ระดับ ตามระดับการใช้ งาน ได้ แก่
ระดับ 1 เครื่ องมือ / แนวทาง นโยบาย – (ระดับกลาง – meso level)
ระดับ 2 เครื่ องมือที่เป็ นกิจกรรม – (กระบวนการ)
ระดับ 3 เครื่ องมือเฉพาะ (วิธีการ)

ซึงเป็ นที่นาสังเกตว่า เครื่ องมือเพื่อการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการที่มีการรวบรวมไว้ นน จะเน้ นไปที่
  ่         ่                                                                                ั้
เครื่ องมือเพื่อการจัดการ “ทรัพยากร” กับ “งานในลักษณะวงจรการวางแผนโครงการ” แต่กลับมีการ
กล่าวถึง เครื่ องมือเพื่อการจัดการ “คน” “เครื อข่าย” “สถาบัน” ไว้ น้อยมาก ซึงเครื่ องมือเหล่านี ้ John
                                                                              ่
Cobourn (2001) ให้ ความสาคัญว่าเป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยทาให้ งานบูรณาการสาเร็ จได้ และเขาเรี ยกว่า “4
C” ซึงได้ แก่ communication, cooperation, coordination and collaboration
        ่

 การจัดสภาพแวดล้ อมและการจัดการเชิงสถาบัน
แนวทางด้ านการจัดสภาพแวดล้ อมและการจัดการเชิงสถาบันนัน เป็ นอีก 2 แนวทาง ที่ GWP เสนอขึ ้นมา
                                                         ้
เพื่อให้ สามารถดาเนินการจัดการทรัพยากรน ้าภายใต้ หลักการการบูรณาการ ใน 2 ระดับ คือ ระดับลุมน ้า
                                                                                          ่
และระดับชาติ




                                                                                                       15
และแม้ วา GWP (GWP – TAC 2003) จะตระหนักดีวา การนาเข้ าแนวทางดังกล่าวเข้ าไปในสังคมใดๆ
           ่                                           ่
จาเป็ นต้ องมีการเปลียนแปลงสาคัญๆ ในสิงที่มีอยูในสังคม เช่น นโยบาย กฎหมาย สถาบันหรื อองค์กรการ
                        ่                     ่      ่
จัดการ ภาคประชาสังคม พฤติกรรมของปั จเจก โดยเฉพาะการจะสนับสนุนให้ เกิดธรรมาภิบาลในการ
จัดการน ้า สิงเหล่านี ้เป็ นเหมือนกลไก หรื อ โครงสร้ างพื ้นฐานที่จะสร้ างความสัมพันธ์ รวมถึง ความร่วมมือ
             ่
ระหว่าง รัฐและภาคสังคม
องค์ประกอบสาคัญสาหรับธรรมาภิบาลในเรื่ องน ้า อาทิ การเชื่อมต่อระหว่าง น ้า และ กฎหมาย ซึงสาคัญ    ่
พอๆ กับ มิติทางสังคมที่มีความซับซ้ อน ตังแต่มิติด้านวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ คุณค่าความสวยงาม
                                            ้
เป็ นต้ น (Wallace, J.S., Acreman, M.C. and Sullivan, C.A., 2003) ซึงนันหมายถึง การต้ องใช้ ระยะเวลา
                                                                            ่ ่
ที่จะสร้ างการเปลียนผ่านให้ ได้ ด้วย
                  ่

อย่างไรก็ดีในทางปฏิบติ การนาแนวทางของ IWRM ไปใช้ ในหลายประเทศ รวมทังประเทศไทยด้ วยนัน
                        ั                                                     ้                 ้
ไม่ได้ ให้ ความสนใจที่จะทาให้ แนวคิด IWRM เข้ าไปสูกระบวนการทางสังคม ที่ต้องเชื่อมเข้ าสูกระบวนการ
                                                     ่                                     ่
ทางนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและระบบธรรมาภิบาล นโยบายการกระจายอานาจ การ
ส่งเสริ มการมีสวนร่วมของประชาชนในการวางแผนและการจัดการน ้า การมี เจตนารมณ์ทางการเมืองที่
                 ่
แน่นอนที่ต้องการจะบูรณาการการทาแผนระหว่างหน่วยงานต่างๆ เป็ นต้ น หรื ออาจกล่าวได้ วา ศักยภาพ ่
ในการนาเรื่ องเหล่านี ้ไปปฏิบตินนเป็ นปั ญหา ดังที่ White (1998) ได้ กล่าวว่า
                             ั ั้
           “ปั ญหาของความถูกต้องในการวิ เคราะห์ของความเชื ่อมโยงระหว่างหน่วยงานต่างๆ และของการ
บรรลุการปฏิ รูปเชิ งสถาบันในกระบวนการวางแผน ล้วนแต่เป็ นเรื ่องยาก มันควรเป็ นเรื ่องทีตองน้อมรับเสีย
                                                                                       ่ ้
แต่แรกๆ ซึ่ งจะต้องเตรี ยมรับมือ และจดจ่อกับเรื ่องเหล่านี ้”

การดาเนินการผลักดัน IWRM ในเมืองไทยในช่วงทศวรรษที่ผานมา อยูในมือของกลุมคนจานวนเล็กๆ
                                                       ่       ่           ่
ภายใต้ สมาคมทรัพยากรน ้า ซึงทาหน้ าที่เหมือนกับตัวแทนประเทศไทย ที่ไปร่วมทางานกับ GWP และ
                           ่
พยายามนาเอา IWRM มาใช้ ภายใต้ ขอบเขตที่การรับรู้ของสังคมที่จากัดมาก นันทาให้ กว่าทศวรรษที่ผาน
                                                                       ่                   ่
มา แนวคิดของ IWRM จึงมีความก้ าวหน้ าน้ อยมาก2 (Bandaragoda D.J., 2006 a)

ความล่าช้ าในการปฏิรูปเชิงสถาบัน (นโยบาย กฎหมาย และองค์กร) ดังกล่าว เกิดขึ ้นทัวไปในเอเชีย ซึง
                                                                               ่             ่
สถาบันการจัดการน ้านานาชาติ (IWMI) พบว่ามาจาก (1) non-availability of reliable data related to

2
 จากเหตุผลดังกล่าว เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2549 จึงได้ มีการประชุมเพื่อปฏิรูประบบและแนวทางการผลักดันงาน IWRM ในสังคมไทยใหม่
โดยมีความพยายามทีจะดึงเอาความหลากหลายของภาคส่วนในสังคม เข้ ามาร่ วมรับรู้ และผลักดันงานร่ วมกัน ภายใต้ ชื่อ องค์กรเสมื อนเพือ
                     ่                                                                                                      ่
การบริ หารจัดการน้ าเชิ งบูรณาการ โดยการผลักดันของ กัมปนาท ภักดีกล, เลอศักดิ์ ริ วตระกูลไพบูลย์ และบุษบงก์ ชาวกัญหา
                                                                      ุ          ้



                                                                                                                            16
extraction of water from river basins, (2) inadequate planning, (3) absence of well-defined water
rights, and (4) ขาดกลไกที่จะทาหน้ าที่บูรณาการ การพัฒนาและการจัดการทรัพยากรน ้า (Bandaragoda
D.J., 2006 a p.13)

นอกจากนัน ยังพบว่า การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรน ้า ที่เป็ นไปตามแรงผลักดันจากภายนอก เช่น
              ้
ธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาแห่งเอเซีย (donor-driven institutional change) แม้ จะทาให้ เกิดรูปธรรม
บางอย่างจริ ง แต่ก็ไม่สามารถสร้ างผลการเปลียนแปลงใดๆ ต่อการจัดการทรัพยากรน ้าได้ เช่น กรณี
                                              ่
ประเทศไทย มีนโยบายทรัพยากรน ้าแห่งชาติ มีร่างกฎหมาย มีองค์กรการจัดการน ้าแห่งชาติ และมี
คณะอนุกรรมการลุมน ้า เป็ นต้ น สิงเหล่านี ้ ไม่ได้ เกิดขึ ้นจากกระบวนการภายในสังคม นัน ทาให้ ผลผลิต
                    ่             ่                                                  ่
เหล่านี ้ ไม่สามารถแสดงศักยภาพในเชิงสถาบันเพื่อผลักดันให้ เกิดการเปลียนแปลงได้ จริ ง (Bandaragoda
                                                                         ่
D.J., 2006 b p.19)

ข้ อเสนอล่าสุดเกี่ยวกับการพัฒนา หรื อการจัดการสถาบันในการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ ก็คือ
การเสนอให้ ประเทศในแถบเอเชีย พัฒนาความเป็ นสถาบันการจัดการทรัพยากรน ้า ขึ ้นมาจากเนื ้อในของ
องค์กรต่างๆ ของแต่ละสังคมเอง (institutional adaptation) (Bandaragoda D.J., 2006 b p.14)

5. ประเด็นช่ องว่ างความรู้

บทบาทของ IWRM ขึ ้นอยูกบระดับของการพัฒนาประเทศ ประเทศที่กาลังพัฒนา, ประเทศที่กาลังเปลียน
                      ่ั                                                              ่
ผ่าน และประเทศที่พฒนาแล้ วจะมีแนวทางการปฏิบติการ IWRM ที่แตกต่างกันออกไป
                  ั                        ั

ประเทศกาลังพัฒนาจะมองการจัดการน ้าอย่างยังยืน ในฐานะที่จะเป็ นองค์ประกอบสาคัญของการจัดการ
                                              ่
ปั ญหาความยากจน ความหิวโหย สุขภาพและความยังยืนทางสิงแวดล้ อม ในขณะที่ประเทศที่กาลังเปลียน
                                                 ่         ่                                      ่
ผ่านนัน อาจพิจารณา IWRM ด้ วยมุมมองที่เป็ นเหตุผลมากขึ ้น เช่น เพื่อเพิ่มระดับประสิทธิภาพในการ
      ้
จัดการทรัพยากร ส่วนประเทศที่พฒนาแล้ ว อาจใช้ IWRM เป็ นเหมือนบันไดขันต้ น เพื่อที่จะเริ่ มต้ นและ
                             ั                                             ้
พัฒนาแนวทางของตนเอง เช่น กรณีของ EU ที่พฒนา Water framework Directive เพื่อใช้ เป็ นกรอบการ
                                            ั
ทางานเรื่ องทรัพยากรในประเทศสมาชิก (GWP-TAC 2000)




                                                                                                  17
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)teerachon
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตdnavaroj
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามUtai Sukviwatsirikul
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
2
22
2
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 

Similar to การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ

9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1benty2443
 

Similar to การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ (20)

9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from weeraboon wisartsakul

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.weeraboon wisartsakul
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยweeraboon wisartsakul
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...weeraboon wisartsakul
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนweeraboon wisartsakul
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลweeraboon wisartsakul
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนweeraboon wisartsakul
 

More from weeraboon wisartsakul (14)

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจน
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
 

การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ

  • 1. การจัดการทรัพยากรนาแบบบูรณาการ : แนวคิด ข้ อวิพากษ์ และคาถามการวิจัย ้ Integrated Water Resource Management: Concept, Critical and Research Questions บทคัดย่ อ บทความนาเสนอการทบทวนแนวคิด ความรู้ ปฏิบตการ ข้ อวิพากษ์ รวมถึงช่องว่างความรู้ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการ ัิ ทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ หรื อที่ใช้ กนโดยทั่วไปว่า Integrated Water Resource Management – IWRM ซึ่งพบว่า ั ในช่วง 200 ปี ที่ผานมา คาว่า การจัดการน ้ามีการเปลี่ยนผ่านความหมายไปมาก ซึ่งขึ ้นอยู่กบพัฒนาการของปั จจัย ่ ั เศรษฐกิจ การเมืองของแต่ละสังคม นันทาให้ ปัจจุบนคาว่า การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการจึงยังคงมีการแย่งชิง ่ ั เพื่อให้ ความหมายที่แตกต่างกันไป เฉพาะคาว่า “บูรณาการ” ก็พบว่ามีจานวนความหมายมากถึง 35 ความหมาย และ กล่าวสาหรับประเทศไทยที่การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการเกิดขึ ้นจากแรงผลักดันขององค์กรภายนอกนัน ไม่ ้ สามารถสร้ างผลการเปลี่ยนแปลงใดๆ ต่อการจัดการทรัพยากรน ้าได้ นอกจากต้ องเป็ นกระบวนการปฏิรูปสถาบันการ จัดการน ้าที่เกิดขึ ้นจากกระบวนการภายในของสังคมเอง ซึ่งในตอนท้ ายบทความก็ได้ ระบุประเด็นช่องว่างความรู้ที่ยงคง ั ต้ องการค้ นคว้ าวิจยเพื่อให้ เกิดความรู้และการเปลี่ยนแปลงจากภายในสังคมเอง ั คาสาคัญ : การจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ การจัดการลุมน ้า การจัดการน ้า การปฏิรูปสถาบันการจัดการน ้า ่ Abstract The article presents a review of the critique of knowledge and knowledge gaps related to integrated water resources management. The review found that during the 200 years ago, knowledge on water management has been changed in meaning and practice by socio-economic and politic context of each society. Nowadays the different definitions on Integrated Water Resource Management (IWRM) are still competing. Furthermore, the meaning of “integration” in water resource management, there are 35 multiplicity of meanings. In Thailand, the IWRM has been driven by external organizations such as the World Bank, ADB. But it still can not create change in water resouce management and institution. Regrading on institutional reform in water resource management, The review pointed out that it must be internal process and emerging in Thai context itself. In the end, the article identifies the knowledge gaps that still need research for change. Key word : integrated water resource management, watershed management, water resource management, water management institution reform ผู้เขียน : อาจารย์วีรบูรณ์ วิสารทสกุล (วทม.เทคโลยีการบริหารสิงแวดล้ อม) ่ ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1
  • 2. บทความนี ้ทาหน้ าที่ทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้ องกับแนวคิดเรื่ องการจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการ หรื อที่ ใช้ กนโดยทัวไปว่า Integrated Water Resource Management – IWRM เนื ้อหาของบทความ จะ ั ่ ครอบคลุมในประเด็นแนวคิด และข้ อถกเถียง องค์ประกอบหลักของแนวคิด และประเด็นช่องว่างความรู้ ที่ ต้ องการการศึกษาวิจยและปฏิบติการเพื่อนาไปสูการปฏิรูปสถาบันการจัดการน ้าในสังคมไทย ั ั ่ 1. คานา ยุคสมัยของการจัดการน ้า (ในประเทศพัฒนาแล้ ว) ในช่วง 2 ศตวรรษที่ผานมานัน ได้ เคลือนผ่านยุคสมัย ่ ้ ่ ของความรู้ในการจัดการมาแล้ วอย่างน้ อย 5 ยุค ซึง Allan (2003) ได้ แบ่งความรู้ออกตามช่วงเวลาต่างๆ ดัง ่ รูปข้ างล่าง รูปที่ 1 ยุคสมัยของการจัดการน ้าในช่วง 200 ปี ที่ผานมา ่ จากยุคที่เน้ นการจัดการเพื่อตอบสนองความต้ องการเป็ นหลัก (demand oriented) มาสูยคการจัดการที่ ุ่ มองปริ มาณน ้าที่มีอยูอย่างจากัด (supply oriented) แต่ก็เป็ นการมองน ้าที่แยกขาดออกจากบริบทและ ่ ทรัพยากรอื่นๆ จนมาสูยค multi-functional adaptive framework (Jeffrey and Geary, 2004 p.2) ที่ ุ่ มอง “น ้า”อย่างเป็ น องค์รวม (holistic) และ บูรณาการ (integrated) โดยมองอย่างเห็นปฏิสมพันธ์ ระหว่าง ั 2
  • 3. น ้า กับ คน และ ระบบนิเวศวิทยา (Wallace et al., 2003) และ IWRM คือ แนวคิดที่สะท้ อนให้ เห็นถึง ลักษณะของแนวทางการจัดการน ้าในยุคปั จจุบนที่เน้ นการบูรณาการได้ เป็ นอย่างดี ั แต่ควรกล่าวไว้ ด้วยว่า การเปลียนผ่านความรู้ในการจัดการทรัพยากรน ้า ในประเทศกาลังพัฒนานัน ยังคง ่ ้ ได้ รับอิทธิพลอย่างสูงจากความรู้ในด้ านอุทกศาสตร์ (จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าแนวคิดนี ้มีอิทธิพลยาวนานนับ 100 ปี ) ซึงส่งผลให้ แนวทางการจัดการทรัพยากรน ้าแบบบูรณาการในประเทศกาลังพัฒนา อย่างประเทศ ่ ไทย โดยส่วนใหญ่จะยังคงอยูบนฐานของแนวทางและเครื่ องมือแนวอุทกศาสตร์ เป็ นสาคัญ ในขณะที่ ่ แนวทางและเครื่ องมือการจัดการเชิงสถาบันและการเมือง ยังมีพฒนาการไม่มากนัก ซึงจะได้ กล่าวถึงเรื่ อง ั ่ เครื่ องมือการจัดการต่อไป 2. การจัดการทรัพยากรนาแบบบูรณาการ : การแย่ งชิงความหมาย ้ ปี 2002 ในการประชุมสิงแวดล้ อมโลกที่ Johannesburg, คณะกรรมการที่ปรึกษาด้ านเทคนิค ขององค์กร ่ พันธมิตรน ้าโลก (the Technical Advisory Committee of Global Water Partnership ; GWP-TAC) ได้ ให้ นิยาม IWRM ว่า เป็ นกระบวนการทีสงเสริ มให้เกิ ดการประสานความร่วมมื อการพัฒนาและการจัดการน้า ่่ ทีดิน และทรัพยากรที ่เกี ่ยวข้องสัมพันธ์ กน เพือให้เกิ ดประโยชน์สงสุดในด้านเศรษฐกิ จ และความเท่าเทียม ่ ั ่ ู กันในด้านสวัสดิ การสังคม โดยอยู่บนฐานความยังยืนของระบบนิเวศวิ ทยา ทีสาคัญ น้า ควรได้รบการ ่ ่ ั จัดการภายใต้ขอบเขตความเป็ นลุ่มน้า ภายใต้หลักการธรรมาภิ บาลและการมี สวนร่วมของสาธารณะ ่ (GWP-TAC, 2000) อย่างไรก็ดี หากย้ อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ จะพบว่า แนวคิดเรื่ อง IWRM ได้ มีการอ้ างถึงในการประชุม เรื่ องน ้า UN ที่เมือง Mar del Plata มาตังแต่ปี 1977 ซึงเสนอไว้ วา การจัดการน ้าควรจะต้ อง incorporate ้ ่ ่ the multiple competing and conflicting uses of water resources แต่กว่าที่เรื่ องการจัดการน ้า จะ กลายเป็ นประเด็นสาคัญระดับนานาชาติ ก็ต้องรอนานกว่า 10 ปี กล่าวคือ หลังจาก ปี 1992 ซึงมีการ ่ ประชุม International Conference on Water and Environment ที่เมือง Dublin ผลจากการประชุมได้ มี อิทธิพลอย่างมากต่อการทาให้ ประเด็น IWRM กลับมามีชีวิตอีกครังในเวทีระหว่างประเทศ ้ แนวคิด IWRM ของ Global Water Partnership (GWP) ข้ างต้ น ได้ รับการยอมรับและได้ รับการผลักดันให้ มี การนาไปใช้ อย่างกว้ างขวางในเวทีองค์กรระหว่างประเทศ ทังจาก The World Water Council (WWC), ้ Global Water Partnership (GWP), the World Bank (WB), Asian Development Bank (ADB) และ 3
  • 4. แหล่งทุนระหว่างประเทศหลายองค์กร โดยองค์กรเหล่านี ้ อาจไม่ได้ ตระหนักถึงข้ อจากัด หรื อความไม่ สมบูรณ์ของแนวคิดดังกล่าว จนถูกมองว่าเป็ น “the only sustainable solution” (Durham et al., 2002, p333) แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผานมานี ้ มีเอกสารหลักฐานที่ดีที่ชี ้ให้ เห็นว่าแนวคิด IWRM ของ GWP นันมีจุดอ่อน ่ ้ (European Commission, 2006) ที่ต้องได้ รับการตรวจสอบให้ มากขึ ้น หนึงในข้ อวิจารณ์เหล่านันก็คือ แนวคิด IWRM เป็ นเรื่ องยาก – หรื อ อาจจะเป็ นไปไม่ได้ เลยในทางปฏิบติ ่ ้ ั โดย เฉพาะตัวอย่างในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ ที่พบว่า มีการจัดการน ้าที่ มี ความสาเร็ จอยูไม่น้อย แต่ไม่มีกรณีใดเลยที่เป็ นไปตามแนวทาง IWRM (Biswas ,2004 และ Biswas et al., ่ 2005)1 ขณะเดียวกัน Allan (2003) และ Gyawali (2003) พบว่า แนวคิด IWRM นัน ไม่ได้ ช่วยให้ ผู้ที่ทา ้ หน้ าที่บริ หารจัดการน ้า มีความเข้ าใจอย่างลึกซึ ้งถึงเหตุผล ถึงความยุงยาก ซับซ้ อนของการดาเนินการตาม ่ แนวคิดนี ้เลย ในประเด็นของการนาแนวคิดไปสูการปฏิบตินน Jonker (2002 p.719) ชี ้ให้ เห็นว่า เนื่องจาก IWRM ่ ั ั้ พยายามที่จะจัดการกับปั ญหาที่มีความยุงยากและซับซ้ อน (complex and complicated) อย่างมาก นัน ่ ่ คือ การพัฒนาที่ยงยืน และ การวางแผนข้ ามสาขา ซึงทาให้ นาไปปฏิบติได้ ยาก เพราะ สิงที่ IWRM บอกให้ ั่ ่ ั ่ จัดการนัน เป็ นการจัดการ “สิ่ ง” ที่ไม่ สามารถจัดการได้ เช่น กระบวนการธรรมชาติ ้ Jonker เสนอว่า การจะนาแนวคิดเรื่ อง sustainable development เข้ าไปผนวกกับ IWRM (meso-level) อาจ เป็ นไปได้ ในระดับปฏิบติการ (micro –level) นัน ต้ องจัดการในระดับกิจกรรมของมนุษย์ ดังนัน แนวคิด ั ้ ้ IWRM ที่เหมาะสมตามแนวคิดของ Jonker ควรเป็ น ‘ managing people’s activities in a manner that promotes sustainable development (improving livelihoods without disrupting the water cycle) ’ อย่างไรก็ดี คาว่า “การจัดการ” ภายใต้ แนวคิด IWRM ของ GWP เป็ นที่ยอมรับโดยทัวไปว่าคาว่า ควรเข้ าใจ ่ ในความหมายที่กว้ างขวางที่สด และเน้ นว่า IWRM เป็ นเรื่ องของกระบวนการ ไม่ใช่ เปาหมาย ในตัวมันเอง ุ ้ และยังเป็ นกระบวนการของการจัดความสมดุลและแลกเปลียนระหว่างมุมมองและเปาหมายที่แตกต่าง ่ ้ 1 ข้ อสังเกตนี ้ เป็ นประสบการณ์จากเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง European Commission (2006) เห็นว่า อาจเป็ นไปได้ ในประเทศ ่ พัฒนาแล้ วที่เป็ นประชาธิปไตยเสรี นิยมใหม่ (neo-liberal democracy) 4
  • 5. หลากหลายของผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง ซึง Grigg (1999) เห็นว่า ประเด็นนี ้ คือ ประเด็นสาคัญที่ ่ ่ จากการจัดการในแบบอื่นๆ ในขณะที่ Pahl-Wostl et al (2004) กลับเห็นว่า คาอธิบายใน แนวคิด IWRM นัน เป็ นคาอธิบายที่มีลกษณะของการเป็ นเปาหมายทีชดเจนอยู่ ้ ั ้ ่ั แล้ ว และสิงที่จะนาไปสูเ่ ปาหมายดังกล่าว คือ แนวทางแบบ adaptive management ่ ้ Grigg (1999) เห็นว่า ปั ญหาการแย่งชิง น ของกระบวนทัศน์เรื่ องการจัดการทรัพยากรน ้า บูรณา การ ก็คือ ชุดความคิดเหล่านี ้ เน้ นที่จะจัดการกับความหลากหลายของข้ อเท็จจริ ง ซึงเขาเชื่อว่า ประโยชน์ ่ หลักของการใช้ การจัดการน ้า บูรณาการในฐานะกระบวนทัศน์ ก็คือ การที่เป็ น “ กรอบคิดสำหรับ งๆ อ ไปตาม โ ’” นอกจาก แนวคิด IWRM แล้ ว ยังมี แนวคิดอื่นๆ ที่มีพื ้นฐานความคิดใกล้ เคียงกับ IWRM ได้ แก่ เช่น ‘Integrated Water Resources Planning and Management’ (IWRPM), ‘Integrated Catchment Management’ (ICM), ‘Integrated Watershed Management’ (IWM) และ Integrated River Basin Management (IRBM) ซึงมีการให้ ความหมายหรื อแนวคิด ที่แตกต่างกัน โดยบางแนวคิดเห็นว่า ICM, ่ IRBM และ IWM นัน เป็ น น น ของ IWRM (Tim Jones et al, 2006 และ Jønch-Clausen and Fugl, ้ 2001) เพราะเห็นว่าสิงที่ IWRM สนใจด้ วย คือ การจัดการในระดับชาติ และข้ ามชาติ ่ นอกจากนี ้ แม้ จะมี เอกสารบางชิ ้น เช่น Tiffen and Gichuki (2000) ที่ชี ้ให้ ความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างความหมายของคาว่า “catchment” และ “watershed” ก็ตาม แต่เอกสารโดยส่วนใหญ่ที่ได้ ทบทวน จะใช้ คา 2 คานี ้ในลักษณะของความหมายเดียวกัน เช่น งานของ Bruneau, R. (2005) และเมื่อกล่าวถึงคาว่า การจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ ประเด็นที่ต้องถามถึงกันอยูบอยๆ ก็คือ ่ ่ อะไรควรจะบูรณาการกับอะไร ? Biswas (2004) ได้ รวบรวม ประเด็นและมิติที่มีการกล่าวอ้ างว่า ควร จะต้ องบูรณาการภายใต้ แนวคิด IWRM ซึงมีจานวนถึง 35 ประเด็น จานวนดังกล่าวนี ้ คือ สิงที่สะท้ อนให้ ่ ่ เห็นข้ อเท็จจริ งที่วา มีความเข้ าใจที่หลากหลายต่ อแนวคิด IWRM ในขณะที่ยงมีประเด็นคาถาม ่ ั รากฐานสาคัญ ที่มกไม่คอยถูกตังเป็ นคาถาม ก็คือ ั ่ ้  น น ? 5
  • 6. น ?  น น ?  น น โดยสรุป น่าจะกล่าวได้ วา ความหมายของ การจัดการน ้าอย่างบูรณาการนัน ยังคงมี ความหมายที่ ่ ้ หลากหลาย ไม่ได้ มีความเห็นที่ชดเจนเป็ นหนึงเดียว อีกทังยังไม่เคยมีการตังคาถามว่าอย่างจริ งจังว่า จะนา ั ่ ้ ้ แนวคิด IWRM ไปสูการปฏิบติได้ อย่างไร (Odendaal, 2002) และ น ่ ั น น ยัง มีคาถามอื่นๆ ที่ต้องการการตรวจสอบในอนาคต เช่น  แนวคิด IWRM ของ GWP มีความเหมาะสม ทังกับประเทศที่พฒนาแล้ ว พอๆ กับประเทศที่กาลัง ้ ั พัฒนาหรื อไม่ ?  ความหมายของ IWRM ไม่สามารถทาให้ ชดเจนได้ เพราะว่า IWRM เป็ นกระบวนการที่คอยเป็ น ั ่ ค่อยไปใช่หรื อไม่ ?  อะไรคือสิงที่ต้องบูรณาการ ? ่  หลักการสาคัญของ IWRM สามารถแปลงไปสูการปฏิบติได้ หรื อไม่ ถ้ าได้ ทาอย่างไร ? ่ ั และ น European Commission (2006) ได้ ตีพิมพ์รายงานของ คณะผู้เชี่ยวชาญอิสระ ซึงได้ ่ ทบทวนโครงการวิจย น IWRM ที่ EU ให้ การสนับสนุนตังแต่ปี 1994-2006 จานวน 67 โครงการ คณะ ั ้ ผู้เชี่ยวชาญได้ มีข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ ตอ EU 4 ประการ หนึงในข้ อเสนอที่นาสนใจ คือ การเสนอให้ EU ่ ่ ่ ใช้ กรอบแนวคิด น (Constructively Engage Integrated Water Resources Allocation and Management) เป็ นกรอบใน การสนับสนุนงานวิจย เนื่องจากมีข้อค้ นพบว่า มีช่องว่ างความเข้ าใจในเรื่องการจัดการนา (วางแผน ั ้ และการตัดสินใจ) ระหว่ าง สิ่งที่งานวิชาการให้ ความสาคัญ กับ การรับรู้ของคนกลุ่มต่ างๆ ใน สังคม ซึ่งต่ างมีกรอบการรับรู้ตามประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของตนเอง ดังนันสิ่งจาเป็ นเร่ งด่ วน ก็คือ การต้ องทาให้ เกิด ้ Constructive engagement) ระหว่ างกลุ่มต่ างๆ ในการจัดการและจัดสรรนา ข้ อสรุปนี ้ สอดคล้ องกับที่ Allan ้ (2003) เสนอไว้ วา IWRM นัน ควรที่จะเปลียนชื่อใหม่เป็ น integrated water resources allocation and ่ ้ ่ management (IWRAM) ซึงเป็ นแนวคิดที่ยอมรับว่า ทัง้ “การบูรณาการ” (integration) และ “การจัดการ” ่ (management) เป็ น “ประเด็นทางการเมือง” (political) 6
  • 7. รูปที่ 2 แสดงให้ เห็น วิถีโค้ งของการจัดการน ้า ที่ถกกาหนดโดยสังคม - - -ส่วนบนของเส้ นโค้ ง และ ที่ถกระบุโดย ู ู นักวิทยาศาสตร์ ด้าน น และนักเศรษฐศาสตร์ - - ส่วนล่างของเส้ นโค้ ง การมาบรรจบกันของ คือ ความสาเร็จที่ จะต้ องนาวิทยาศาสตร์ เข้ าสูกระบวนการทางการเมือง (political process) ซึ่งกาหนดโดย การใช้ น ้าและนโยบาย ่ ที่มา : European Commission (2006) p.2 3. องค์ ประกอบหลักของ IWRM องค์ประกอบสาคัญสาหรับ การทางาน หรื อการทาความเข้ าใจต่อเรื่ อง การจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณา การ มีอยู่ 3 องค์ประกอบ ได้ แก่  ยอมรับว่า river-basin หรื อ catchment หรื อ watershed เป็ นหน่วยการจัดการทรัพยากรน ้าและ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ที่เหมาะสม  ยอมรับว่าจาเป็ นต้ องใช้ แนวทางบูรณาการ แนวทางนิเวศวิทยา แนวทางองค์รวม ในการจัดการ  ยอมรับหลักการ การมีสวนร่วม่ 1) ขอบเขตลุมน ้า และ ประเด็นเรื่ องขอบเขต ่ การยอมรับให้ “ลุมน ้า” เป็ นกรอบแนวทางที่ใช้ การจัดการทรัพยากรน ้า ทรัพยากรอื่นๆ รวมถึง คุณภาพชีวิต ่ ของผู้คนที่ตงถิ่นฐานในลุมน ้านัน ได้ ถกใช้ เป็ นวาทกรรมหลักมาแล้ วกว่า 20 ปี การเคลือนตัวไปสูการจัดการ ั้ ่ ้ ู ่ ่ โดยใช้ ขอบเขตลุมน ้านัน สะท้ อนให้ เห็นถึง การยอมรับว่าการจัดการทรัพยากรน ้า ควรดาเนินการภายใต้ ่ ้ 7
  • 8. ระบบนิเวศวิทยา และยอมรับว่า ขอบเขตการปกครองที่ถกกาหนดโดยวิถีทางการเมือง ไม่ได้ มีความสัมพันธ์ ู กับกระบวนการทางระบบนิเวศวิทยา (Heathcote,1998) แต่ ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ ของลุมน ้า เอง ก็แทบจะไม่ได้ เป็ นพื ้นที่ ที่มีความหมายในทางสังคม เพราะ ่ ขอบเขตอานาจทางศาล หรื อการอ้ างสิทธิในที่ดิน ที่ตงขององค์กรทางสังคมในที่ตางๆ ตังแต่ องค์กร ั้ ่ ้ ปกครอง ไปจนถึงองค์กรทางศาสนา ก็มีความสัมพันธ์ น้ อยมากกับลุมน ้า ดังนัน การจัดการลุมน ้าจึง ่ ้ ่ ต้ องการ การสร้ างความหมายใหม่บนฐานของความสัมพันธ์ ทางสังคมและวัฒนธรรม ซึง Vernooy (1999) ่ ใช้ คาว่า การสร้ างความหมายทางสังคมของลุ่มนา (social construction of watershed) ้ Richard Bruneau (2005) ได้ ทบทวนโครงการ ที่ IDRC (Canada) น นน ทังในประเทศเอเชีย ้ และลาตินอเมริ กา ถึงกับระบุวา โครงการจานวนมากล้ มเหลว เพราะไม่ได้ ให้ ความสาคัญกับลุมน ้า ในฐานะ ่ ่ ที่เป็ นขอบเขตทางภูมิศาสตร์ และขอบเขตของการปฏิสมพันธ์ และปฏิบติการทางสังคม ั ั ปั จจุบนแนวทางการมองขอบเขตลุมน ้าในลักษณะ multi-scale เริ่ มเป็ นที่ยอมรับมากขึ ้น และเป็ นที่ชดเจน ั ่ ั ว่ามีการเปลียนแปลงที่มีนยยะสาคัญเกิดขึ ้นในระดับพื ้นที่ตางๆ (scale) กัน ภายใต้ ความเป็ น ชีวกายภาพ ่ ั ่ และ กระบวนการเศรษฐกิจและสังคม ซึง Lovelace and Rambo (1991:81) ได้ สรุปถึงสภาพของความ ่ ขัดแย้ งและนัยยะของสภาพการเช่นนี ้ ต่อการจัดการลุมน ้าไว้ ในทานองที่วา ่ ่ “ ...กิ จกรรมต่างๆ ของมนุษย์ทีเ่ กิ ดขึ้นในพืนทีระดับต่างๆ ในลุ่มน้านัน สัมพันธ์ กบการทาลายทรัพยากร ้ ่ ้ ั และการใช้ทีดิน ซึ่ งก็ ่ ในพืนทีต่างๆ และอาจกล่าวได้ว่า เป็ นเพียง ้ ่ เท่านัน ้ ทีเ่ ป็ น ที ่ ลุ่มน้า จะ อย่างมาก ซึ่ ง ” 2) แนวทางบูรณาการ แนวทางนิเวศวิทยาและแนวทางองค์รวม เป็ นที่ยอมรับกันว่า การจัดการทรัพยากรน ้าต้ องคานึงถึงการบูรณาการ ธรรมชาติของน ้าเข้ ากับกระบวนการ ทางนิเวศวิทยาในลุมน ้า ซึงขึ ้นอยูกบการปฏิรูปทางนโยบายและการจัดการเชิงสถาบัน แนวคิดการจัดการ ่ ่ ่ั ทรัพยากรอย่างบูรณาการ ได้ กลายมาเป็ นแนวคิดยอดนิยมสาหรับโครงการจัดการน ้าจานวนมาก (Jewitt 8
  • 9. 2002; Matondo 2002) และ การดาเนินนโยบายการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ อาจมองได้ วาเป็ น ่ แนวทางที่จะเอาชนะ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและน ้าที่จดการอย่างแยกส่วนอย่างที่เป็ นอยู่ ั อย่างไรก็ดี บทเรี ยนเรื่ องแนวคิดการพัฒนาที่ยงยืน ที่ตื่นตัวอย่างมากในช่วง 10 กว่าปี ที่ผานมา แต่ ั่ ่ ปฏิบัติการต่ างๆ ของการพัฒนาที่ย่ งยืน ก็ยงเป็ นเพียงการเพิ่มสีสนเท่านัน เช่นเดียวกับ แนวคิดการ ั ั ั ้ จัดการน ้าอย่างบูรณาการเอง ก็อาจตกอยูในสภาพเดียวกัน คือ ถูกทาให้ มีความหมายที่แตกต่างกันไป ่ สาหรับแต่ละคน และสุดท้ ายก็จะกลับคืนเข้ าสูสภาวะปกติ และจะกลายไปเป็ น คาพูดโดยทัวไปกรอบการ ่ ่ ปฏิบติการ ซึงได้ รับการส่งเสริ มโดยรัฐบาล และองค์กรทุน (Biswas 2004) ั ่ การบูรณการสาหรับการจัดการทรัพยากรต่างๆ นัน มีนยยะที่กล่าวถึงกันโดยทัวไป 2 ระดับ ระดับแรก คือ ้ ั ่ ระดับของการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน กระทรวง ระหว่างกรมที่มีหน้ าที่ความรับผิดชอบในการดูแล ทรัพยากรที่แตกต่างกัน ให้ มาดาเนินการจัดทาแผนและปฏิบติการจัดการทรัพยากรร่วมกัน ั งานศึกษาของ Manfred Pope (2004 p.73) ที่ทาการวิเคราะห์ระบบการวางแผนทังในระดับท้ องถิ่นและ ้ ระดับชาติในประเทศเขมร ลาว เวียดนามและไทย พบว่าทัง้ 4 ประเทศ ระบบการวางแผนยังเป็ นแบบแยก ส่วน ไม่มียทธศาสตร์ และมุ่งที่การทากิจกรรม มากกว่าจะเป็ นการประสานความหลากหลายของความ ุ จาเป็ นและความต้ องการในขอบเขตพื ้นที่เฉพาะ (spatial or territorial orientation) โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน กรมกองที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการลุมน ้า ไม่วาจะเป็ น ที่ดิน น ้า ป่ าไม้ และสิงแวดล้ อม ต่างก็พฒนา ่ ่ ่ ั กระบวนการและวิธีการวางแผนของตนเองเพื่อแย่งชิงงบประมาณประจาปี งานศึกษาชิ ้นนี ้ยังได้ เสนอ ถึง ระดับที่นาจะเหมาะแก่การวางแผนแบบบูรณาการสาหรับประเทศไทย คือ ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด ่ อย่างไรก็ดีสาหรับกรณีของประเทศไทย เป็ นที่นาเสียดายว่า งานศึกษาชิ ้นนี ้ กลับมิได้ กล่าวถึง การดารงอยู่ ่ ของ เครื อข่ายลุมน ้าภาคประชาชน ที่มีกระบวนการทาแผนและปฏิบติการแยกออกจากระบบราชการ ่ ั ระดับที่สอง คือ ระดับของการบูรณาการตัวทรัพยากร ระหว่างทรัพยากรน ้ากับทรัพยากรอื่นๆ ในลุมน ้า มีตงแต่ ่ ั้ ข้ อเสนอที่เป็ นการบูรณาการทรัพยากรรายชนิด เช่น น ้าในแม่น ้า น ้าใต้ ดิน และชายฝั่ ง / บูรณาการน ้า ที่ดินและ ทรัพยากรอื่นๆ เป็ นต้ น ไปจนถึง ข้ อเสนอที่เป็ นแบบ ecosystem base management ซึงล่าสุด ในแวดวง ่ ชุมนุมนักวิทยาศาสตร์ ยโรป ได้ นาเสนอ แนวทางการจัดการลุมน ้า โดยใช้ แนวคิด Eco-hydrology and ุ ่ Phytotechnology ซึงพัฒนาร่วมกันระหว่าง UNESCO และ UNEP ซึงมีคมือที่เผยแพร่ทวไปเมื่อปี 2004 ่ ่ ู่ ั่ 9
  • 10. ประเด็นสุดท้ ายสาหรับการบูรณาการ คือ แนวทางที่พยายามเสนอความเป็ นองค์รวมที่มากขึ ้น งานศึกษา ในแนวนี ้ได้ แก่ งานศึกษาที่พยายามจะบูรณาการ ความเป็ นวิทยาสตร์ เข้ าสูกระบวนการสาธารณะ เช่น ่ งานของ Bruce L. Rhoads et al (1999) งานของ John Gutrich et al (2005) เรื่ อง วิทยาศาสตร์ ใน กระบวนการสาธารณะของการจัดการระบบนิเวศวิทยา งานของ David Brunckhorst, Phillip Coop, Ian Reeve (2006) เรื่ อง การทาให้ เหมาะสมโดยนิเวศ-พลเมือง (Ecoo-civic) ขณะที่ข้อวิจารณ์ที่สาคัญ ก็คือ ข้ อวิจารณ์ที่วาด้ วยความเป็ น วิ ทยาศาสตร์ และ ความเป็ นองค์รวม ของ ่ IWRM เนื่องจาก IWRM ถูกตังข้ อสังเกตว่า เป็ นแนวทางการจัดการทรัพยากรน ้า ที่มีพฒนาการมาจาก ้ ั แรงผลักดันทางการเมือง (political agenda) (Muhammad Misanur Rahaman and Olli Varis, 2005 ; Claudia Pahl-Wostl and Jan Sendzimir , 2005) มากกว่า เป็ นความสาเร็ จที่เกิดจากการมีความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ที่ได้ รับการพัฒนามาดีแล้ ว ในสถานการณ์เช่นนี ้ ทาให้ มีความแตกต่างกันในทางปฏิบติ และยังควรตังข้ อสังเกตต่อไปว่า ใน ั ้ สถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนนี ้ (ประกอบกับการไม่มีความรู้แบบบูรณาการหรื องค์รวมที่ดีพอ) จะมี วิธีการรับมืออย่างไร ซึงประเด็นนี ้ยังเป็ นประเด็นที่ไม่มีการกล่าวถึงในแนวทาง IWRM ที่เป็ นอยู่ ่ เพราะหากสังเกต ความหมายของ IWRM จะยังคงมีลกษณะเป็ นทฤษฎี ที่เป็ นกฎเกณฑ์ – เป็ นเค้ าโครงที่ ั กาหนดขึ ้นมาจากการสังเกตปรากฏการณ์ และยังคงให้ ความสาคัญกับคาถามที่วา ควรทาสิ่งนันอย่างไร ่ ้ ทังที่เป็ นแนวคิดที่เป็ นที่นิยมอย่างกว้ างขวาง แต่ IWRM ยังคงพูดวนเวียนเกี่ยวกับ (1) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง (2) ้ เหตุผลที่นามาสนับสนุน (3) ชุดของหลักการที่ดีที่สด สาหรับการจัดการทรัพยากรน ้า (Jeffrey and Geary, ุ 2004) ขณะทีหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่แสดงให้ เห็นประโยชน์ของ IWRM กลับมีรายงานอยูน้อยมาก ซึงทาให้ ไม่มีกฎ ่ ่ ่ ไม่มีสตร ไม่มีพิมพ์เขียวใดๆ และที่สาคัญ ก็คือ การแปลงทฤษฎีไปสูการปฏิบตินนก็เป็ นไปอย่างเชื่องช้ า ซึง ู ่ ั ั้ ่ ก็มิได้ หมายความว่า การแปลงทฤษฎีไปสูการปฏิบติ ต้ องการรูปแบบที่สาเร็ จรูปมาเป็ นตัวอย่าง แต่สงที่ ่ ั ิ่ สาคัญกว่านันก็คือ การที่จะต้ องทาให้ เห็นว่า วิทยาศาสตร์ ชนิดใดที่มีส่วนในการนามาใช้ สร้ าง ้ ความสาเร็จในการจัดการทรัพยากรนาอย่ างบูรณาการ ้ นอกจากนี ้ เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับความเป็ นองค์รวม (holistic approach) ของ IWRM ซึงมีข้อดี คือ เปิ ด ่ โอกาสให้ มีการใช้ ประโยชน์จากมุมมองของทังผู้ใช้ ประโยชน์ นักวางแผน นักวิทยาศาสตร์ และผู้กากับ ้ 10
  • 11. นโยบาย (Grigg. 1999; Jeffrey and Geary, 2004) แต่องค์รวมในมิติเช่นนี ้ ก็มีข้อวิจารณ์วา มีลกษณะที่ ่ ั เป็ นแบบพวกหลังสมัยใหม่ (post-modernism) ที่การผลักดันให้ “การจัดการ” มาจากการเน้ นที่ กระบวนการภายในสังคม การมีสวนร่วมที่กว้ างขวางทังในการวางแผนและการตัดสินใจ มีการปรับตัว การ ่ ้ สะท้ อนกลับ ซึงอาจจัดให้ อยูในกระบวนทัศน์แบบ predict and prepare มากกว่า ที่จะยอมรับ การใช้ ่ ่ กรอบคิดแบบ adaptive management ทียอมรับและให้ ความสาคัญระบบธรรมชาติ ที่ไม่มีความไม่ ่ แน่นอน คาดการณ์ไม่ได้ และซับซ้ อนเกินกว่าจะเข้ าใจ หรื ออาจกล่าวว่า IWRM นัน ล้ มเหลวที่จะนาเอาแนวทางนิเวศวิทยาไปใช้ ประโยชน์ ซึงก็เน้ นเรื่ ององค์รวม ้ ่ เช่นกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดเจน คือ องค์รวมใน IWRM คือ การสนับสนุนให้ หน่วยงานรัฐด้ านน ้า 1 หน่วย ั รับผิดชอบต่อมิติด้านทรัพยากรในทุกมิติ อย่างไรก็ดี ข้ อแก้ ตางสาคัญ ที่ชี ้ให้ เห็นถึงประโยชน์ของความคลุมเครื อก็คือ ในระบบนิเวศที่ซบซ้ อน และ ่ ั การที่จะต้ องจัดการกับระดับที่หลากหลายของความไม่แน่นอนนัน ต้ องการความรู้ในลักษณะ ้ multidisciplinary ซึงหมายถึง การต้ องการชนิดของความรู้ที่หลากหลายประเภทและความเข้ าใจเชิงเหตุผล ่ อย่างเป็ นระบบ (scientific) ซึงเป็ นการเปิ ดพื ้นที่ให้ กบการใช้ ความรู้จากผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ องต่างๆ ไม่เฉพาะ ่ ั ่ จาก ผู้เชี่ยวชาญ ซึงมักถือเอาว่า วิธีทางที่ตนยึด เป็ นสิงที่ถกต้ องสูงสุด (scientism) ขณะเดียวกันก็มกจะ ่ ่ ู ั ปฏิเสธความรู้และกระบวนทัศน์ที่ไม่เป็ นวิทยาศาสตร์ (science) เช่น ความรู้จากชาวบ้ าน ในข้ อดีนี ้ ย่อม ช่วยลดความตรึงเครี ยดในการจัดการลุมน ้าระหว่างนักวิชาการ ผู้เชี่ ยวชาญ กับ ชุมชน ลงได้ ่ 3. การมีสวนของสาธารณะ / ชุมชน / ประชาสังคม / ผู้มีสวนเกี่ยวข้ อง ่ ่ องค์ประกอบส่วนที่สามของการจัดการลุมน ้า คือ หลักเรื่ อง inclusive and participatory โครงการการ ่ จัดการลุมน ้าที่ยดหลักการมีสวนร่วม จะมีประสิทธิภาพ มากกว่าโครงการที่มีการรวมศูนย์ตดสินใจอยูที่ ่ ึ ่ ั ่ ส่วนกลาง มีงานวิชาการจานวนมากอ้ างว่า การดาเนินการจัดการอย่างมีสวนร่วม จะช่วยเชื่อมต่อ ่ ความสัมพันธ์ ของผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง กับการจัดการน ้า และหน่วยงานที่ทาหน้ าที่สนับสนุนให้ ดีขึ ้นได้ ่ (Bruns and Meinzen-Dick 1997; Van der Lee 2002) กลไกสาหรับการมีสวนร่วมถูกระบุวาจะเป็ นเครื่ องมือ หรื อแนวทางที่จะเอาชนะระบบราชการ และการ ่ ่ ตัดสินใจที่รวมศูนย์ อีกทังยังช่วยทาให้ มีความชอบธรรมในด้ านการจัดองค์กร (Duda and El-Ashry 2000) ้ การแสดงความเป็ นเจ้ าของในการตัดสินใจ และการเปิ ดโอกาสให้ กบกลุมต่างๆ ที่มีความสนใจที่แตกต่าง ั ่ 11
  • 12. กันเข้ ามามีสวนร่วมในการจัดการ จะช่วยหลีกเลียงความขัดแย้ งในเรื่ องทรัพยากร ด้ วยการสร้ างความเชื่อ ่ ่ ใจและความสัมพันธ์ ที่ดีตอกัน ่ มีกรณีศกษาที่ชี ้ว่า การปรึกษาหารื อ และการมีสวนร่วมที่ได้ รับการบูรณาการเข้ าไปสูการสร้ างองค์กรการ ึ ่ ่ จัดการน ้าอย่างบูรณาการ นันสามารถนาไปสูการจัดการน ้าได้ เป็ นอย่างดี เช่น การจัดตัง้ คณะกรรมการที่ ้ ่ ปรึกษาชุมชนภายใต้ โครงการการจัดการของ Murray-Darling Basin ในประเทศออสเตรเลีย (Blackmore 1995) ขณะที่องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการลุมน ้าของประเทศไทย ซึงมีภาคส่วนที่ไม่ใช่ราชการอยูครึ่งหนึง ่ ่ ่ ่ นัน อาจกล่าวได้ วา การจัดการลุมน ้าของไทยได้ เปิ ดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีสวนร่วมอย่างสูง แต่เมื่อ ้ ่ ่ ่ พิจารณากันในรายละเอียด ก็จะพบว่า คนเหล่านี ้แทบจะไม่ได้ มีเครื อข่ายความสัมพันธ์ กบ (ผู้นา) ชุมชนเลย ั และในอีกหลายกรณี แผนงานการมีสวนร่วมในระดับลุมน ้า ก็มกจะเกิดขึ ้นหลังจากที่ได้ กน ผู้ที่มีสวนได้ เสีย ่ ่ ั ั ่ ออกตังแต่ในระยะเริ่ มแรกที่มีการกาหนดทิศทางการจัดการงานทังหมด และมักจะเป็ นการปรึกษาหารื อใน ้ ้ ระยะเวลาสันๆ ที่สาคัญ คือ ขาดกลไกที่จะทาหน้ าที่สงเสริ มสนับสนุนให้ เกิดการมีสวนร่วมในระหว่าง ้ ่ ่ กระบวนการทางาน นอกจากนี ้ Cooke and Kothari’s (2001) ยังตังข้ อสังเกตที่นาสนใจไว้ วา การมีสวนร่วมที่เป็ นอยูนน มักเป็ น ้ ่ ่ ่ ่ ั้ การใช้ “อานาจ” ของคาว่า “การมีสวนร่วม” (“new tyranny” of participation) เสียมากกว่า และนี่ก็เป็ น ่ ประเด็นที่ท้าทายสาหรับงานพัฒนาที่จะต้ องระมัดระวังมากขึ ้นว่า การมีสวนร่วมที่เป็ นอยู่ ได้ สร้ าง ่ ความชอบธรรมให้ ผ้ มีอานาจมีอานาจมากขึ ้นหรือไม่ โดยเฉพาะ เมื่อมีงานวิชาการจานวนมากพบว่า ในโลก ู แห่งความเป็ นจริ ง การรับเอาแนวทางการมีสวนร่วมมาใช้ นน ส่วนใหญ่ใช้ เพียงแค่เป็ น “โวหาร” ทังในการ ่ ั้ ้ วางแผนและการจัดการเท่านัน (Van der Lee 2002; Jane Adams et al 2005) ้ ดังเช่นที่ มนตรี จันทวงศ์ (Montree Chantawong 2002) ได้ แสดงให้ เห็นสภาพเช่นนี ้ในบริ บทของสังคมไทย ผ่านการใช้ คาว่า “การเข้าร่วมของภาคประชาสังคม” (civil society involvement) ในการ พัฒนา นโยบาย น ้าแห่งชาติโดยรัฐบาลไทยและการสนับสนุนของ ADB “การปรึ กษาหารื อกับผูทีมีสวนได้เสียทีหลากหลาย” ้ ่ ่ ่ (multi-stakeholder consultation) ในการพัฒนาแผนบูรณาการเพื่อการจัดการทรัพยากรน ้าในลุมน ้าแม่ปิง ่ โดยกรมทรัพยากรน ้า และ “การจัดการชลประทานอย่างมี สวนร่วม” (Participatory irrigation ่ management) ใน การพัฒนาแผนการใช้ น ้าระดับไร่นาเพื่อเพิ่มผลผลิต ภายใต้ แผนงานปรับโครงสร้ างภาค การเกษตร (ASPL) โดยกรมชลประทาน เป็ นต้ น ทังหมดเป็ นเพียงการใช้ คา เพื่อยังคงไว้ ซง ความคิด ้ ึ่ 12
  • 13. แบบเดิม โครงสร้ างอานาจและผลประโยชน์กบกลุมเดิมๆ เท่านัน เพราะโดยแท้ จริ ง ภาคประชาชน ภาค ั ่ ้ ประชาสังคม และผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้ อง ได้ เข้ าไปมีสวนร่วม เมื่อทิศทางการพัฒนาได้ ถกกาหนดไว้ แล้ วโดย ่ ่ ู ผู้เชี่ยวชาญทังสิ ้น ้ อีกทังในกระบวนการมีสวนร่วม “ความขัดแย้ ง” ก็มกเป็ นสิงที่เกิดขึ ้นเสมอ ทังในระดับเปาหมาย (goals) ้ ่ ั ่ ้ ้ ของกระบวนการวางแผน และในระดับของปฏิบติการ ซึงเป็ นความแตกต่างตามระดับของความเชื่อและ ั ่ การให้ คณค่าต่อการมีสวนร่วม หากมีความขัดแย้ งเกิดขึ ้นในกระบวนการทางาน โดยไม่ได้ รับการพิจารณา ุ ่ เช่น การขาดโอกาสที่จะเสนอความคิดเห็น หรื อ มีการใช้ ข้อมูลเชิงเทคนิคในการตัดสินใจเพียงด้ านเดียว นัน ่ จะทาให้ ความตรึงเครี ยดที่มีอยู่ รุนแรงมากขึ ้น กล่าวสาหรับสังคมไทย ยังมีมิติการมีสวนร่วมอีกแบบหนึงที่แม้ จะมีอยูไม่มากและยังไม่เข้ มแข็ง แต่ก็มีอยู่ ่ ่ ่ จริ ง คือ การมีสวนร่วมของภาคประชาชนในฐานะที่เป็ นสิทธิ ชุมชนที่หล่อหลอมขึ ้นจากเงื่อนไขทาง ่ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ที่ชุมชนจะสร้ างกลุมและเครื อข่ายของตนเองขึ ้นมาบริ หารจัดการทรัพยากร ่ น ้าเอง บทบาทในทานองนี ้ถูกเพิ่มน ้าหนักด้ วยทิศทางการกระจายอานาจการปกครองตนเอง และการ เติบโตของกระแสของพลเมือง ทาให้ เครื อข่ายของภาคประชาชนในการดูแลจัดการทรัพยากรน ้าที่มีอยูใน ่ ระดับชุมชนพื ้นที่ต้นน ้า ขยายเข้ าสูชุมชนในเมืองด้ วย ่ ในบริ บทชุมชนต้ นน ้าภาคเหนือ กับชุมชนในพื ้นที่ภาคอื่นๆ ก็ยงมีความแตกต่างในวิ ธีคิดเรื่ องสิทธิชุมชนด้ วย ั โดยชุมชนต้ นน ้าทางภาคเหนือ สิทธิชุมชน มีฐานหรื อขอบเขตผูกอยูติดกับ “หน่ วยของสิทธิ” ในขณะที่ภาค ่ อื่นๆ การมีสวนร่วมจะถูกผูกโยงติดกับ “หน่ วยของพืนที่” (territory) เดียวกัน (มนตรี จันทรวงศ์ พรทิพย์ ่ ้ บุญครอบและกฤษฎา บุญชัย, 2005) ขณะที่ภาพรวมของสังคมไทย ยังปรากฏความขัดแย้ ง ระหว่าง ทิศทางการกระจายอานาจ ที่จะช่วยเพิ่ม ระดับการมีสวนร่วมในการตัดสินใจลงสูชุมชนท้ องถิ่น กับ การพัฒนาขึ ้นมาของโครงสร้ างเชิงสถาบันและ ่ ่ องค์กรการจัดการทรัพยากรน ้า ที่พยายามจะวางแผนแบบบูรณาการและองค์รวมจากส่วนกลาง (Fiona Miller and Phillip Hirsch, 2003 p.8) ไม่วาจะเป็ น การเรี ยกร้ องให้ มีการจัดตัง้ กระทรวงทรัพยากรน ้า หรื อ ่ การมีอยูของกรมทรัพยากรน ้า และ คณะอนุกรรมการลุมน ้า ่ ่ สุดท้ ายควรได้ กล่าวถึง การมีสวนร่วมของภาคเอกชนในการบริ หารจัดการน ้า ซึงถือเป็ น แรงผลักดันจาก ่ ่ องค์กรระหว่างประเทศอย่างธนาคารโลก และ ADB ที่มีแนวคิดสนับสนุนให้ แยกงานที่รัฐควรทา เช่น การ 13
  • 14. ควบคุมกติกา การออกกฎหมาย ระเบียบปฏิบติ เป็ นต้ น ออกจากงานที่ให้ เอกชนทา ซึงคาดว่าจะทาได้ ั ่ ดีกว่า เช่น การให้ บริ การ เนื่องเพราะที่ผานๆ มา การบริ หารและจัดการน ้าที่อยูในมือของภาครัฐนัน ขาด ่ ่ ้ ประสิทธิภาพ ประเด็นข้ างต้ น ตังอยูบนสมมติฐานที่ตางกัน ด้ านหนึงมองว่า น ้าเป็ นสมบัติสาธารณะและเป็ นเรื่องของ ้ ่ ่ ่ สิทธิมนุษยชน ที่ควรถูกควบคุมโดยรัฐ ในขณะที่อีกด้ านหนึงเห็นว่า น ้าเป็ นสินค้ าทางเศรษฐกิจ หาก ่ ต้ องการให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการบริ หารจัดการจาเป็ นต้ องจัดการผ่านกลไกการตลาด (Bakker 2003) ข้ ออ้ างในประการหลังที่วา ภาคเอกชนจะจัดการน ้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพดีกว่านัน น่าจะอยูบน ่ ้ ่ ความเข้ าใจที่ไม่ถกต้ อง (misconceptions) เพราะมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่ชี ้ว่า ประสิทธิภาพในการบริ หาร ู จัดการของภาคเอกชนจานวนมาก ยังเป็ นเรื่ องที่ต้องตังคาถามให้ มาก (McIntosh and Yniguez 2002 ; ้ Budds and McGranahan 2003) และประโยชน์ในทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการแปรรูปนัน ก็เป็ นการกล่าว้ อ้ างเกินจริ ง และมีการใช้ ตวอย่างที่ผิด หรื อไม่ก็คานวณผิด (Walker and Walker 2000) ดังนันข้ อสนับสนุน ั ้ เรื่ องการแปรรูปการจัดการทรัพยากรน ้านัน จึงตังอยูบนอุดมคติมากกว่า หลักฐานข้ อเท็จจริ งเชิงประจักษ์ ้ ้ ่ แต่ข้อสนับสนุนนี ้ก็ยงคงถูกผลักดันให้ นาไปใช้ ในประเทศต่างๆ ด้ วย (Walker and Walker 2000) ั 4. แนวทางปฏิบติของ IWRM ั มักจะมีความสับสนในแนวทางที่ IWRM ใช้ กับ แนวทางการจัดการน ้าแบบอื่นๆ เช่น river basin management, water demand management และ ecosystem approach แม้ วา แนวคิด IWRM จะมีความใกล้ เคียงกับแนวทางเหล่านี ้ ่ แต่ก็มีจุดเน้ นที่ตางกัน เช่น river basin management เน้ นที่การใช้ ขอบเขตลุมน ้าเป็ นหน่วยในการจัดการ ่ ่ ในขณะที่ IWRM มีขอบเขตการมองที่กว้ างกว่า (Jønch-Clausen, T. and Fugl, J., 2001) ซึงแม้ วา IWRM ่ ่ จะให้ ความสาคัญกับขอบเขตลุมน ้า แต่ขณะเดียวกันมากกว่านัน IWRM ก็ต้องการจัดการปั ญหาใน ่ ้ ระดับชาติ และนานาชาติด้วย เป็ นต้ น นันหมายถึงแนวคิดอื่นๆ นัน มีสวนช่วยเสริ มแนวคิด IWRM และเป็ น ่ ้ ่ ส่วนหนึงของความซับซ้ อนของ IWRM ่ และดูเหมือน GWP ก็จะรับรู้ถึงความสับสนของการนาเอาแนวคิด IWRM ไปปฏิบติ ในปี 2004 GWP จึงได้ ั ตีพิมพ์เอกสารทางวิชาการหมายเลข 10 (GWP-TAC 2004, TAC Background Paper 10) เพื่ออธิบายถึง หลักการเหตุผล ความเข้ าใจและแนวทางการจัดการตามแนวคิด IWRM เพื่อใช้ เป็ นพิมพ์เขียวให้ แก่ประเทศ ต่างๆ ซึงอยูภายใต้ แนวทางหลัก 3 ประการ ได้ แก่ ่ ่ 14
  • 15. 1) สภาพแวดล้ อมที่เอื ้อ เช่น การมีแนวนโยบายที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ และ กฎระเบียบที่เกี่ยวเนื่อง กับการจัดการและพัฒนาทรัพยากรน ้าอย่างยังยืน ่ 2) การมี Institutional Framework ที่ทาให้ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และกฎระเบียบมีผลในทางปฏิบติ ั 3) การมี management instruments ที่เอื ้อให้ Institutions สามารถทางานได้  ชุดเครื่ องมือ ในระหว่างปี 2001-2004 GWP ได้ พฒนา ชุดเครื่ องมือ (Tool Box) สาหรับ IWRM ซึงมีทงหมด 17 หมวด ั ่ ั้ (theme) ที่สอดคล้ องกับ 3 แนวทางหลักข้ างต้ น ซึงประกอบด้ วย เครื่ องมือที่มีความเฉพาะเจาะจง และ ่ กรณีตวอย่างของ IWRM ที่ประสบความสาเร็ จ (Heidi Christiansen Barlebo, 2006) ั นอกจากนี ้ เมื่อกล่าวถึงเรื่ องเครื่ องมือ NeWater Project โดย Heidi Christiansen Barlebo (2006) ได้ ทา การรวบรวมเครื่ องมือที่ใช้ สาหรับแนวทางการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ โดยจาแนกเครื่ องมือเป็ น 3 ระดับ ตามระดับการใช้ งาน ได้ แก่ ระดับ 1 เครื่ องมือ / แนวทาง นโยบาย – (ระดับกลาง – meso level) ระดับ 2 เครื่ องมือที่เป็ นกิจกรรม – (กระบวนการ) ระดับ 3 เครื่ องมือเฉพาะ (วิธีการ) ซึงเป็ นที่นาสังเกตว่า เครื่ องมือเพื่อการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการที่มีการรวบรวมไว้ นน จะเน้ นไปที่ ่ ่ ั้ เครื่ องมือเพื่อการจัดการ “ทรัพยากร” กับ “งานในลักษณะวงจรการวางแผนโครงการ” แต่กลับมีการ กล่าวถึง เครื่ องมือเพื่อการจัดการ “คน” “เครื อข่าย” “สถาบัน” ไว้ น้อยมาก ซึงเครื่ องมือเหล่านี ้ John ่ Cobourn (2001) ให้ ความสาคัญว่าเป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยทาให้ งานบูรณาการสาเร็ จได้ และเขาเรี ยกว่า “4 C” ซึงได้ แก่ communication, cooperation, coordination and collaboration ่  การจัดสภาพแวดล้ อมและการจัดการเชิงสถาบัน แนวทางด้ านการจัดสภาพแวดล้ อมและการจัดการเชิงสถาบันนัน เป็ นอีก 2 แนวทาง ที่ GWP เสนอขึ ้นมา ้ เพื่อให้ สามารถดาเนินการจัดการทรัพยากรน ้าภายใต้ หลักการการบูรณาการ ใน 2 ระดับ คือ ระดับลุมน ้า ่ และระดับชาติ 15
  • 16. และแม้ วา GWP (GWP – TAC 2003) จะตระหนักดีวา การนาเข้ าแนวทางดังกล่าวเข้ าไปในสังคมใดๆ ่ ่ จาเป็ นต้ องมีการเปลียนแปลงสาคัญๆ ในสิงที่มีอยูในสังคม เช่น นโยบาย กฎหมาย สถาบันหรื อองค์กรการ ่ ่ ่ จัดการ ภาคประชาสังคม พฤติกรรมของปั จเจก โดยเฉพาะการจะสนับสนุนให้ เกิดธรรมาภิบาลในการ จัดการน ้า สิงเหล่านี ้เป็ นเหมือนกลไก หรื อ โครงสร้ างพื ้นฐานที่จะสร้ างความสัมพันธ์ รวมถึง ความร่วมมือ ่ ระหว่าง รัฐและภาคสังคม องค์ประกอบสาคัญสาหรับธรรมาภิบาลในเรื่ องน ้า อาทิ การเชื่อมต่อระหว่าง น ้า และ กฎหมาย ซึงสาคัญ ่ พอๆ กับ มิติทางสังคมที่มีความซับซ้ อน ตังแต่มิติด้านวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ คุณค่าความสวยงาม ้ เป็ นต้ น (Wallace, J.S., Acreman, M.C. and Sullivan, C.A., 2003) ซึงนันหมายถึง การต้ องใช้ ระยะเวลา ่ ่ ที่จะสร้ างการเปลียนผ่านให้ ได้ ด้วย ่ อย่างไรก็ดีในทางปฏิบติ การนาแนวทางของ IWRM ไปใช้ ในหลายประเทศ รวมทังประเทศไทยด้ วยนัน ั ้ ้ ไม่ได้ ให้ ความสนใจที่จะทาให้ แนวคิด IWRM เข้ าไปสูกระบวนการทางสังคม ที่ต้องเชื่อมเข้ าสูกระบวนการ ่ ่ ทางนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและระบบธรรมาภิบาล นโยบายการกระจายอานาจ การ ส่งเสริ มการมีสวนร่วมของประชาชนในการวางแผนและการจัดการน ้า การมี เจตนารมณ์ทางการเมืองที่ ่ แน่นอนที่ต้องการจะบูรณาการการทาแผนระหว่างหน่วยงานต่างๆ เป็ นต้ น หรื ออาจกล่าวได้ วา ศักยภาพ ่ ในการนาเรื่ องเหล่านี ้ไปปฏิบตินนเป็ นปั ญหา ดังที่ White (1998) ได้ กล่าวว่า ั ั้ “ปั ญหาของความถูกต้องในการวิ เคราะห์ของความเชื ่อมโยงระหว่างหน่วยงานต่างๆ และของการ บรรลุการปฏิ รูปเชิ งสถาบันในกระบวนการวางแผน ล้วนแต่เป็ นเรื ่องยาก มันควรเป็ นเรื ่องทีตองน้อมรับเสีย ่ ้ แต่แรกๆ ซึ่ งจะต้องเตรี ยมรับมือ และจดจ่อกับเรื ่องเหล่านี ้” การดาเนินการผลักดัน IWRM ในเมืองไทยในช่วงทศวรรษที่ผานมา อยูในมือของกลุมคนจานวนเล็กๆ ่ ่ ่ ภายใต้ สมาคมทรัพยากรน ้า ซึงทาหน้ าที่เหมือนกับตัวแทนประเทศไทย ที่ไปร่วมทางานกับ GWP และ ่ พยายามนาเอา IWRM มาใช้ ภายใต้ ขอบเขตที่การรับรู้ของสังคมที่จากัดมาก นันทาให้ กว่าทศวรรษที่ผาน ่ ่ มา แนวคิดของ IWRM จึงมีความก้ าวหน้ าน้ อยมาก2 (Bandaragoda D.J., 2006 a) ความล่าช้ าในการปฏิรูปเชิงสถาบัน (นโยบาย กฎหมาย และองค์กร) ดังกล่าว เกิดขึ ้นทัวไปในเอเชีย ซึง ่ ่ สถาบันการจัดการน ้านานาชาติ (IWMI) พบว่ามาจาก (1) non-availability of reliable data related to 2 จากเหตุผลดังกล่าว เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2549 จึงได้ มีการประชุมเพื่อปฏิรูประบบและแนวทางการผลักดันงาน IWRM ในสังคมไทยใหม่ โดยมีความพยายามทีจะดึงเอาความหลากหลายของภาคส่วนในสังคม เข้ ามาร่ วมรับรู้ และผลักดันงานร่ วมกัน ภายใต้ ชื่อ องค์กรเสมื อนเพือ ่ ่ การบริ หารจัดการน้ าเชิ งบูรณาการ โดยการผลักดันของ กัมปนาท ภักดีกล, เลอศักดิ์ ริ วตระกูลไพบูลย์ และบุษบงก์ ชาวกัญหา ุ ้ 16
  • 17. extraction of water from river basins, (2) inadequate planning, (3) absence of well-defined water rights, and (4) ขาดกลไกที่จะทาหน้ าที่บูรณาการ การพัฒนาและการจัดการทรัพยากรน ้า (Bandaragoda D.J., 2006 a p.13) นอกจากนัน ยังพบว่า การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรน ้า ที่เป็ นไปตามแรงผลักดันจากภายนอก เช่น ้ ธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาแห่งเอเซีย (donor-driven institutional change) แม้ จะทาให้ เกิดรูปธรรม บางอย่างจริ ง แต่ก็ไม่สามารถสร้ างผลการเปลียนแปลงใดๆ ต่อการจัดการทรัพยากรน ้าได้ เช่น กรณี ่ ประเทศไทย มีนโยบายทรัพยากรน ้าแห่งชาติ มีร่างกฎหมาย มีองค์กรการจัดการน ้าแห่งชาติ และมี คณะอนุกรรมการลุมน ้า เป็ นต้ น สิงเหล่านี ้ ไม่ได้ เกิดขึ ้นจากกระบวนการภายในสังคม นัน ทาให้ ผลผลิต ่ ่ ่ เหล่านี ้ ไม่สามารถแสดงศักยภาพในเชิงสถาบันเพื่อผลักดันให้ เกิดการเปลียนแปลงได้ จริ ง (Bandaragoda ่ D.J., 2006 b p.19) ข้ อเสนอล่าสุดเกี่ยวกับการพัฒนา หรื อการจัดการสถาบันในการจัดการทรัพยากรน ้าอย่างบูรณาการ ก็คือ การเสนอให้ ประเทศในแถบเอเชีย พัฒนาความเป็ นสถาบันการจัดการทรัพยากรน ้า ขึ ้นมาจากเนื ้อในของ องค์กรต่างๆ ของแต่ละสังคมเอง (institutional adaptation) (Bandaragoda D.J., 2006 b p.14) 5. ประเด็นช่ องว่ างความรู้ บทบาทของ IWRM ขึ ้นอยูกบระดับของการพัฒนาประเทศ ประเทศที่กาลังพัฒนา, ประเทศที่กาลังเปลียน ่ั ่ ผ่าน และประเทศที่พฒนาแล้ วจะมีแนวทางการปฏิบติการ IWRM ที่แตกต่างกันออกไป ั ั ประเทศกาลังพัฒนาจะมองการจัดการน ้าอย่างยังยืน ในฐานะที่จะเป็ นองค์ประกอบสาคัญของการจัดการ ่ ปั ญหาความยากจน ความหิวโหย สุขภาพและความยังยืนทางสิงแวดล้ อม ในขณะที่ประเทศที่กาลังเปลียน ่ ่ ่ ผ่านนัน อาจพิจารณา IWRM ด้ วยมุมมองที่เป็ นเหตุผลมากขึ ้น เช่น เพื่อเพิ่มระดับประสิทธิภาพในการ ้ จัดการทรัพยากร ส่วนประเทศที่พฒนาแล้ ว อาจใช้ IWRM เป็ นเหมือนบันไดขันต้ น เพื่อที่จะเริ่ มต้ นและ ั ้ พัฒนาแนวทางของตนเอง เช่น กรณีของ EU ที่พฒนา Water framework Directive เพื่อใช้ เป็ นกรอบการ ั ทางานเรื่ องทรัพยากรในประเทศสมาชิก (GWP-TAC 2000) 17